• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บล็อกของ ssspoonsak', 'blog/9', '', '18.119.130.231', 0, '20a8fc36228f178071f874ec9d94165b', 585, 1716060021) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:57cb2a2ab5b1c36b49837e088432b965' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img height=\"210\" width=\"697\" src=\"/files/u40691/1_copy.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/81902\" title=\"หน้าหลักประเพณีของไทย\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/01.jpg\" /></a><a href=\"/node/87512\" title=\"ประเพณีไทยของภาคกลาง\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/03.jpg\" /></a><a href=\"/node/87515\" title=\"ประเพณีไทยของภาคเหนือ\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/02.jpg\" /></a><a href=\"/node/87517\" title=\"ประเพณีไทยของภาคใต้\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/04.jpg\" /></a><a href=\"/node/87518\" title=\"ประเพณีไทยของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\"><img height=\"75\" width=\"150\" src=\"/files/u40691/05.jpg\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"background-color: #33cccc; color: #ff6600\">                        <span style=\"color: #003300\">     ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ จ.นครปฐม</span>                             </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"180\" width=\"274\" src=\"/files/u40691/003.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 359px; height: 190px\" />\n</p>\n<p>\n       ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ คือ ประเพณีทำบุญทอดผ้าป่าของชาวไทยเชื้อสายลาวครั่ง ประเพณีแห่ธงสงกรานต์จะจัดขึ้นในราวเดือนเมษายนหลังจากวันที่ ๑๓ เมษายน ซึ่งเป็นวันสงกรานต์ผ่านไปแล้วสัก ๑ สัปดาห์ จัดขึ้นตามหมู่บ้านต่าง ๆ เนื่องด้วยชาวบ้านที่นับถือพุทธศาสนาพิจารณาเห็นว่าหลังจากสงกรานต์แล้ว เป็นเวลาว่างจากการทำนา และการทำบุญ ในระยะนั้นเว้นห่าง พระภิกษุอาจมีอาหารไม่อุดมสมบูรณ์ ประกอบกับเป็นฤดูแล้งไม่มีฝนตก เหมาะแก่การที่วัดแต่ละแห่งจะทำการปรับปรุงพัฒนา รื้อ ถอน ซ่อมแซมกุฎิเสนาสนะ และศาสนสถาน โบสถ์ ศาลา ให้มีความสมบูรณ์สวยงามเตรียมไว้ให้บริการแก่ชาวบ้านในการประกอบกิจกรรมทางศาสนา จึงควรที่ชาวบ้านจะได้ทำการสนับสนุนวัดให้ได้มีเครื่องมือเครื่องใช้ และงบประมาณเงินทองไว้ใช้ดำเนินการดังกล่าวได้สะดวกยิ่งขึ้น ชาวบ้านจึงชักชวนกันสละทรัพย์สิ่งของนำไปมอบให้กับวัดใกล้บ้านของตน<br />\n       ประเพณีเริ่มด้วยการบอกบุญ เรี่ยไรไปตามหมู่บ้านด้วยขบวนกลองยาว หรือ ดนตรีพื้นบ้านล่วงหน้าวันงาน ๑-๒ วัน วันแห่ธงไม่ได้กำหนดวันแน่นอน ขึ้นอยู่กับความสะดวกของชาวบ้าน เช่นจะจัดในวันเสาร์ หรืออาทิตย์ เพราะชาวบ้านในหมู่บ้านหยุดงาน และกลับจากโรงงานมาเยี่ยมพ่อแม่<br />\n       ธงสงกรานต์ ชาวบ้านจะทำด้วยไม้ไผ่ทั้งลำ ยาวประมาณ ๑๐ เมตรขึ้นไป ปลายธงมีกิ่งไผ่และที่สำหรับแขวนสิ่งของไว้ สิ่งที่จะนำมาแขวนที่ธงนั้นได้แก่ ผืนธงชาติและสิ่งของเครื่องใช้ที่มีลักษณะเป็นผืนพอจะแขวนได้ เช่น เสื่อ พรม ผ้าม่าน ซึ่งของเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทางวัดจำเป็นต้องมีไว้ใช้ ชาวบ้านจะพับให้มีขนาดพอเหมาะที่จะแขวนกับปลายธงได้เพียง ๑ ชิ้นเท่านั้น ตกแต่งให้สวยงามด้วยดอกไม้สดและดอกไม้แห้ง<br />\n       การแห่ธงชาวบ้านจะแห่ออกจากหมู่บ้าน นำขบวนด้วยเสาธงซึ่งมีคนแบกมาหลายคน ตามด้วยกลองยาวซึ่งเป็นดนตรีพื้นบ้าน และสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จำเป็นแก่การพัฒนาวัด ที่ขาดเสียไม่ได้ คือ พุ่มผ้าป่าที่ประกอบด้วยผ้าไตรสำหรับภิกษุนุ่งห่ม บาตร และตาลปัตร โดยเฉพาะธนบัตรที่ใช้ไม้คีบแล้วเสียบไว้กับต้นกล้วยนั้นถือว่าเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งเหล่านี้เรียกว่า &quot;หางธง&quot; วัดแต่ละวัดจะมีขบวนแห่ธง แห่มายังวัดหลายธง เช่น รอบ ๆ วัด มี ๕ หมู่บ้าน ในวันแห่ธงสงกรานต์จะแห่มาถึง ๕ ธง หรือ ๕ คณะพร้อม ๆ กัน<br />\n       ความสนุกสนานที่ชาวบ้านชื่นชอบคือขบวนแห่ธง ซึ่งแต่ละหมู่บ้านจะคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์แตกต่างกันไป เช่น การแต่งกาย การร่ายรำ การแบกธงที่มีลีลาต่าง ๆ กัน เช่น ให้ชายหนุ่มขึ้นไปที่บนเสาธงแล้วโยนคันเสาธงขึ้นไปให้สูง พร้อมกับคนขี่นั้นให้ตกลงมาแล้วคอยรับ เป็นที่หวาดเสียว แต่ก็ถือว่าแสดงความกล้า และเกิดความสนุกสนาน เมื่อถึงวัดแล้วจะวนรอบโบสถ์ ๓ รอบ แล้วปักลงกับพื้นดิน ตกกลางคืนในงานจะมีมหรสพสมโภช รุ่งเช้าจึงทำพิธีถวายธงบนศาลาวัด เลี้ยงภัตราหารพระ แล้วกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้ผู้มีพระคุณ แล้วมีการสรงน้ำพระเป็นเสร็จพิธี\n</p>\n<p>\nขอบคุณข้อมูลจาก : <a href=\"http://www.prapayneethai.com/th/tradition/center/view.asp?id=019\"><u>http://www.prapayneethai.com/th/tradition/center/view.asp?id=019</u></a>\n</p>\n<p>\n                         <u> </u><a href=\"/node/11207\"><u>http://www.thaigoodview.com/node/11207</u></a>\n</p>\n<p>\nขอบคุณรูปภาพจาก : <a href=\"http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/uthaithani44.jpg\"><u>http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/uthaithani44.jpg</u></a>\n</p>\n', created = 1716060031, expire = 1716146431, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:57cb2a2ab5b1c36b49837e088432b965' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ จ.นครปฐม

                              ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ จ.นครปฐม                            

       ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ คือ ประเพณีทำบุญทอดผ้าป่าของชาวไทยเชื้อสายลาวครั่ง ประเพณีแห่ธงสงกรานต์จะจัดขึ้นในราวเดือนเมษายนหลังจากวันที่ ๑๓ เมษายน ซึ่งเป็นวันสงกรานต์ผ่านไปแล้วสัก ๑ สัปดาห์ จัดขึ้นตามหมู่บ้านต่าง ๆ เนื่องด้วยชาวบ้านที่นับถือพุทธศาสนาพิจารณาเห็นว่าหลังจากสงกรานต์แล้ว เป็นเวลาว่างจากการทำนา และการทำบุญ ในระยะนั้นเว้นห่าง พระภิกษุอาจมีอาหารไม่อุดมสมบูรณ์ ประกอบกับเป็นฤดูแล้งไม่มีฝนตก เหมาะแก่การที่วัดแต่ละแห่งจะทำการปรับปรุงพัฒนา รื้อ ถอน ซ่อมแซมกุฎิเสนาสนะ และศาสนสถาน โบสถ์ ศาลา ให้มีความสมบูรณ์สวยงามเตรียมไว้ให้บริการแก่ชาวบ้านในการประกอบกิจกรรมทางศาสนา จึงควรที่ชาวบ้านจะได้ทำการสนับสนุนวัดให้ได้มีเครื่องมือเครื่องใช้ และงบประมาณเงินทองไว้ใช้ดำเนินการดังกล่าวได้สะดวกยิ่งขึ้น ชาวบ้านจึงชักชวนกันสละทรัพย์สิ่งของนำไปมอบให้กับวัดใกล้บ้านของตน
       ประเพณีเริ่มด้วยการบอกบุญ เรี่ยไรไปตามหมู่บ้านด้วยขบวนกลองยาว หรือ ดนตรีพื้นบ้านล่วงหน้าวันงาน ๑-๒ วัน วันแห่ธงไม่ได้กำหนดวันแน่นอน ขึ้นอยู่กับความสะดวกของชาวบ้าน เช่นจะจัดในวันเสาร์ หรืออาทิตย์ เพราะชาวบ้านในหมู่บ้านหยุดงาน และกลับจากโรงงานมาเยี่ยมพ่อแม่
       ธงสงกรานต์ ชาวบ้านจะทำด้วยไม้ไผ่ทั้งลำ ยาวประมาณ ๑๐ เมตรขึ้นไป ปลายธงมีกิ่งไผ่และที่สำหรับแขวนสิ่งของไว้ สิ่งที่จะนำมาแขวนที่ธงนั้นได้แก่ ผืนธงชาติและสิ่งของเครื่องใช้ที่มีลักษณะเป็นผืนพอจะแขวนได้ เช่น เสื่อ พรม ผ้าม่าน ซึ่งของเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทางวัดจำเป็นต้องมีไว้ใช้ ชาวบ้านจะพับให้มีขนาดพอเหมาะที่จะแขวนกับปลายธงได้เพียง ๑ ชิ้นเท่านั้น ตกแต่งให้สวยงามด้วยดอกไม้สดและดอกไม้แห้ง
       การแห่ธงชาวบ้านจะแห่ออกจากหมู่บ้าน นำขบวนด้วยเสาธงซึ่งมีคนแบกมาหลายคน ตามด้วยกลองยาวซึ่งเป็นดนตรีพื้นบ้าน และสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่จำเป็นแก่การพัฒนาวัด ที่ขาดเสียไม่ได้ คือ พุ่มผ้าป่าที่ประกอบด้วยผ้าไตรสำหรับภิกษุนุ่งห่ม บาตร และตาลปัตร โดยเฉพาะธนบัตรที่ใช้ไม้คีบแล้วเสียบไว้กับต้นกล้วยนั้นถือว่าเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งเหล่านี้เรียกว่า "หางธง" วัดแต่ละวัดจะมีขบวนแห่ธง แห่มายังวัดหลายธง เช่น รอบ ๆ วัด มี ๕ หมู่บ้าน ในวันแห่ธงสงกรานต์จะแห่มาถึง ๕ ธง หรือ ๕ คณะพร้อม ๆ กัน
       ความสนุกสนานที่ชาวบ้านชื่นชอบคือขบวนแห่ธง ซึ่งแต่ละหมู่บ้านจะคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์แตกต่างกันไป เช่น การแต่งกาย การร่ายรำ การแบกธงที่มีลีลาต่าง ๆ กัน เช่น ให้ชายหนุ่มขึ้นไปที่บนเสาธงแล้วโยนคันเสาธงขึ้นไปให้สูง พร้อมกับคนขี่นั้นให้ตกลงมาแล้วคอยรับ เป็นที่หวาดเสียว แต่ก็ถือว่าแสดงความกล้า และเกิดความสนุกสนาน เมื่อถึงวัดแล้วจะวนรอบโบสถ์ ๓ รอบ แล้วปักลงกับพื้นดิน ตกกลางคืนในงานจะมีมหรสพสมโภช รุ่งเช้าจึงทำพิธีถวายธงบนศาลาวัด เลี้ยงภัตราหารพระ แล้วกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้ผู้มีพระคุณ แล้วมีการสรงน้ำพระเป็นเสร็จพิธี

ขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.prapayneethai.com/th/tradition/center/view.asp?id=019

                          http://www.thaigoodview.com/node/11207

ขอบคุณรูปภาพจาก : http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/nation/oldcity/uthaithani44.jpg

สร้างโดย: 
คุณครูรัตนา สถิตานนท์และนางสาวนัฐพร ชุณหเจริญเวช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 223 คน กำลังออนไลน์