• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ลักษณะผู้ที่มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี', 'node/44384', '', '18.217.190.58', 0, '6c27ba6f3054c0e068001f4b08ec26ea', 136, 1716104658) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f99854202e0f0364a0a9ac91c1557f97' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img height=\"210\" width=\"709\" src=\"/files/u40691/1_copy.jpg\" /> \n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/81902\" title=\"หน้าหลักประเพณีของไทย\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/01.jpg\" /></a><a href=\"/node/87512\" title=\"ประเพณีไทยของภาคกลาง\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/03.jpg\" /></a><a href=\"/node/87515\" title=\"ประเพณีไทยของภาคเหนือ\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/02.jpg\" /></a><a href=\"/node/87517\" title=\"ประเพณีไทยของภาคใต้\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/04.jpg\" /></a><a href=\"/node/87518\" title=\"ประเพณีไทยของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\"><img height=\"75\" width=\"150\" src=\"/files/u40691/05.jpg\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #339966\">                        <span style=\"color: #00ff00\"> <span style=\"color: #ff00ff\">      ประเพณีเทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธร</span>     </span>                      </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"600\" width=\"435\" src=\"/files/u40691/001.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 333px; height: 495px\" />\n</p>\n<p>\n        งานเทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธร จัดขึ้นปีละ ๓ ครั้ง โดยกำหนดวันทางจันทรคติตามลำดับ คือ<br />\n๑. งานเทศกาลกลางเดือน ๕ ตั้งแต่วันขึ้น ๑๔ ค่ำจนถึงวันแรก ๑ ค่ำ เดือน ๕ รวม ๓ วัน<br />\n๒. งานเทศกาลกลางเดือน ๑๒ ระหว่างวันขึ้น ๑๒-๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ รวม ๕ วัน<br />\n๓. งานเทศกาลตรุษจีน ระหว่างวันขึ้น ๑-๕ ค่ำ เดือน ๓ รวม ๓ วัน <br />\n       หลวงพ่อโสธร เป็นพระพุทธรูปที่เชื่อถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ จึงมีประชาชนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเดินทางไปนมัสการอย่างเนืองแน่นทุกวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันเทศกาลสำคัญและงานนักขัตฤกษ์ จะมีผู้มานมัสการจำนวนมากกว่าวันปกติทั่วไป   <br />\n       งานเทศกาลกลางเดือน๕ จัดขึ้นรวม ๓ วัน ๓ คืน นับตั้งแต่วันขึ้น ๑๔ ค่ำ จนถึงวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๕ เทศกาลนี้จัดฉลองสมโภชเนื่องจากเชื่อกันว่าเป็นวันคล้ายวันที่อาราธนาหลวงพ่อขึ้นจากแม่น้ำ แล้วอัญเชิญท่านมาประดิษฐานที่วัดโสธรวรวิหาร งานเทศกาลกลางเดือน ๑๒ เทศกาลนี้ได้จัดสืบต่อกันมานานกว่าร้อยปีแล้ว คือ เริ่มจัดขึ้นในราว พ.ศ. ๒๔๓๔ โดยมีมูลเหตุมาจากในปีนั้นประชาชนในท้องถิ่นประสบทุพภิกขภัย ข้าวยากหมากแพง ฝนแล้ง ทำการเพาะปลูกไม่ได้ผล ทั้งยังเกิดโรคอหิวาต์และฝีดาษระบาดทั่วไป ทำให้ผู้คนและสัตว์เลี้ยงล้มตายเป็นจำนวนมาก เมื่อถึงคราวเข้าตาจนเช่นนี้ชาวบ้านต่างพากันบนบานศาลกล่าวต่อหลวงพ่อให้ช่วยขจัดปัดเป่าทุกข์ภัยเหล่านี้ ด้วยการปิดทองบ้าง ด้วยมหรสพสมโภชบ้าง และด้วยสิ่งอื่น ๆ กล่าวกันว่าความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อเป็นเรื่องมหัศจรรย์ที่บันดาลให้เกิดฝนโปรยปรายลงมา ทำให้แผ่นดินชุ่มชื้น โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ หายเป็นปลิดทิ้ง ชาวบ้านจึงร่วมใจกันจัดงานฉลองสมโภชหลวงพ่อครั้งใหญ่เพื่อแก้บน แต่เดิมงานเทศกาลในเดือนนี้มี ๓ วัน คือ วันขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ได้จัดเพิ่มขึ้นอีก ๒ วัน คือ วันขึ้น ๑๒-๑๓ ค่ำ เดือน ๑๒รวมทั้งสิ้นเป็น ๕ วัน และถือปฏิบัติสืบเนื่องมาจนทุกวันนี้ ในวันขึ้น ๑๔ ค่ำจะมีการแห่หลวงพ่อทางบก วันขึ้น ๑๕ ค่ำ มีการแห่ทางน้ำ และวันแรม ๑ ค่ำ ซึ่งเป็นวันสุดท้ายมีการเวียนเทียนและสรงน้ำพระ งานเทศกาลตรุษจีน จัดตามจันทรคติของจีน คือ ตั้งแต่วันขึ้น ๑ ค่ำ ปีใหม่ (ชิวอิด) ไปจนถึงวันขึ้น ๕ ค่ำ (ชิวโหงว) รวม ๕ วัน ๕ คืน ถ้าเทียบเป็นเดือนไทยก็คือ ราวเดือนยี่หรือเดือนสาม\n</p>\n<p>\n<br />\nขอบคุณเนื้อหาจาก : <a href=\"http://www.prapayneethai.com/th/tradition/center/view.asp?id=06\"><u>http://www.prapayneethai.com/th/tradition/center/view.asp?id=06</u></a>\n</p>\n<p>\n                          <a href=\"/library/studentshow/2549/m6-6/no15-17-47/traditional/sec02p17.html\"><u>http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-6/no15-17-47/traditional/sec02p17.html</u></a>\n</p>\n<p>\nขอบคุณรูปภาพจาก :  <a href=\"http://www.tuphoto.net/webboard/attachment.php?attachmentid=8596&amp;stc=1&amp;d=1193929752\"><u>http://www.tuphoto.net/webboard/attachment.php?attachmentid=8596&amp;stc=1&amp;d=1193929752</u></a>\n</p>\n', created = 1716104678, expire = 1716191078, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f99854202e0f0364a0a9ac91c1557f97' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีเทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธร

 

                               ประเพณีเทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธร                          

        งานเทศกาลนมัสการหลวงพ่อโสธร จัดขึ้นปีละ ๓ ครั้ง โดยกำหนดวันทางจันทรคติตามลำดับ คือ
๑. งานเทศกาลกลางเดือน ๕ ตั้งแต่วันขึ้น ๑๔ ค่ำจนถึงวันแรก ๑ ค่ำ เดือน ๕ รวม ๓ วัน
๒. งานเทศกาลกลางเดือน ๑๒ ระหว่างวันขึ้น ๑๒-๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ รวม ๕ วัน
๓. งานเทศกาลตรุษจีน ระหว่างวันขึ้น ๑-๕ ค่ำ เดือน ๓ รวม ๓ วัน 
       หลวงพ่อโสธร เป็นพระพุทธรูปที่เชื่อถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ จึงมีประชาชนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเดินทางไปนมัสการอย่างเนืองแน่นทุกวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันเทศกาลสำคัญและงานนักขัตฤกษ์ จะมีผู้มานมัสการจำนวนมากกว่าวันปกติทั่วไป  
       งานเทศกาลกลางเดือน๕ จัดขึ้นรวม ๓ วัน ๓ คืน นับตั้งแต่วันขึ้น ๑๔ ค่ำ จนถึงวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๕ เทศกาลนี้จัดฉลองสมโภชเนื่องจากเชื่อกันว่าเป็นวันคล้ายวันที่อาราธนาหลวงพ่อขึ้นจากแม่น้ำ แล้วอัญเชิญท่านมาประดิษฐานที่วัดโสธรวรวิหาร งานเทศกาลกลางเดือน ๑๒ เทศกาลนี้ได้จัดสืบต่อกันมานานกว่าร้อยปีแล้ว คือ เริ่มจัดขึ้นในราว พ.ศ. ๒๔๓๔ โดยมีมูลเหตุมาจากในปีนั้นประชาชนในท้องถิ่นประสบทุพภิกขภัย ข้าวยากหมากแพง ฝนแล้ง ทำการเพาะปลูกไม่ได้ผล ทั้งยังเกิดโรคอหิวาต์และฝีดาษระบาดทั่วไป ทำให้ผู้คนและสัตว์เลี้ยงล้มตายเป็นจำนวนมาก เมื่อถึงคราวเข้าตาจนเช่นนี้ชาวบ้านต่างพากันบนบานศาลกล่าวต่อหลวงพ่อให้ช่วยขจัดปัดเป่าทุกข์ภัยเหล่านี้ ด้วยการปิดทองบ้าง ด้วยมหรสพสมโภชบ้าง และด้วยสิ่งอื่น ๆ กล่าวกันว่าความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อเป็นเรื่องมหัศจรรย์ที่บันดาลให้เกิดฝนโปรยปรายลงมา ทำให้แผ่นดินชุ่มชื้น โรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ หายเป็นปลิดทิ้ง ชาวบ้านจึงร่วมใจกันจัดงานฉลองสมโภชหลวงพ่อครั้งใหญ่เพื่อแก้บน แต่เดิมงานเทศกาลในเดือนนี้มี ๓ วัน คือ วันขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ได้จัดเพิ่มขึ้นอีก ๒ วัน คือ วันขึ้น ๑๒-๑๓ ค่ำ เดือน ๑๒รวมทั้งสิ้นเป็น ๕ วัน และถือปฏิบัติสืบเนื่องมาจนทุกวันนี้ ในวันขึ้น ๑๔ ค่ำจะมีการแห่หลวงพ่อทางบก วันขึ้น ๑๕ ค่ำ มีการแห่ทางน้ำ และวันแรม ๑ ค่ำ ซึ่งเป็นวันสุดท้ายมีการเวียนเทียนและสรงน้ำพระ งานเทศกาลตรุษจีน จัดตามจันทรคติของจีน คือ ตั้งแต่วันขึ้น ๑ ค่ำ ปีใหม่ (ชิวอิด) ไปจนถึงวันขึ้น ๕ ค่ำ (ชิวโหงว) รวม ๕ วัน ๕ คืน ถ้าเทียบเป็นเดือนไทยก็คือ ราวเดือนยี่หรือเดือนสาม


ขอบคุณเนื้อหาจาก : http://www.prapayneethai.com/th/tradition/center/view.asp?id=06

                          http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6-6/no15-17-47/traditional/sec02p17.html

ขอบคุณรูปภาพจาก :  http://www.tuphoto.net/webboard/attachment.php?attachmentid=8596&stc=1&d=1193929752

สร้างโดย: 
คุณครูรัตนา สถิตานนท์และนางสาวนัฐพร ชุณหเจริญเวช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 324 คน กำลังออนไลน์