• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f241739a17c3e5401b70bb32574deffa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41204/banner.jpg\" width=\"550\" height=\"155\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p>\n <a href=\"/node/83761\"><img src=\"/files/u41204/f.jpg\" width=\"170\" height=\"90\" /></a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <a href=\"/node/86070\"><img src=\"/files/u41204/d.jpg\" width=\"170\" height=\"90\" /></a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <a href=\"/node/93013\"><img src=\"/files/u41204/e.jpg\" width=\"170\" height=\"90\" /></a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <a href=\"/node/86077\"><img src=\"/files/u41204/i.jpg\" width=\"170\" height=\"90\" /></a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <a href=\"/node/86078\"><img src=\"/files/u41204/b.jpg\" width=\"170\" height=\"90\" /></a>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</td>\n<td>\n<p>\n <span style=\"color: #ffffff\">..............<br />\n </span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">....................................................................................................................................</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #0000ff\"><u><b>พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา</b></u></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #008000\">พลังงานเคมี (Chemical energy)<br />\n เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงอยู่ในโครงสร้างของสาร เช่น อยู่ในรูปของน้ำมันเชื้อเพลิง ไขมัน<br />\n ซึ่งเมื่อเกิดการเผาไหม้จะปล่อยพลังงานเคมีออกมา<br />\n และนำมาใช้ประโยชน์ได้พลังงานเคมีเป็นพลังงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องและสำคัญกับสิ่งมีชีวิตมาก<br />\n </span> \n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n <span style=\"color: #ff00ff\">ในการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละปฏิกิริยานั้น ต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2 ขั้นตอน ดังนี้</span><br />\n <span style=\"color: #ffffff\">.<br />\n .</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #0000ff\">ขั้นที่ 1 เป็นขั้นที่ดูดพลังงานเข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้น</span><br />\n <span style=\"color: #ff0000\">ขั้นที่ 2 เป็นขั้นที่คายพลังงานออกมาเมื่อมีการสร้างพันธะในผลิตภัณฑ์</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">.<br />\n .</span><br />\n <span style=\"color: #800080\"><u><b>1.ปฏิกิริยาดูดความร้อน ( Endothermic reaction) </b></u></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">เ</span><span style=\"color: #993366\">ป็นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะมากกว่าที่คายออกมา<br />\n เพื่อสร้าง พันธะ โดยในปฏิกิริยาดูดความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์ จึงทำให้สิ่งแวดล้อมเย็นลง<br />\n อุณหภูมิลดลง เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู้สึกเย็น ดังภาพ</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <br />\n <img src=\"/files/u41204/chem_r200jpg.jpg\" width=\"244\" height=\"210\" />\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n <u><b><span style=\"color: #9400d3\">แผนภูมิพลังงานของปฏิกิริยาดูดความร้อน</span></b></u>\n </p>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n ( ที่มารูป ::: <a href=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/231/ra_clip_image002_0000.jpg\" title=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/231/ra_clip_image002_0000.jpg\">http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/231/ra_clip_image002_0000...</a> )\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">. <br />\n </span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #003300\"><u><b>2.ปฏิกิริยาคายความร้อน ( Exothermic reaction) </b></u></span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #808000\">เป็นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะน้อยกว่าที่คายออกมา<br />\n เพื่อสร้าง พันธะ โดยในปฏิกิริยาคายความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ <br />\n จึงให้พลังงานความร้อนออกมาสู่สิ่งแวดล้อมทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นเมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู้สึกร้อน ดังภาพ </span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">. <br />\n </span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\"> </span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <img src=\"/files/u41204/chem_r201jpg_.jpg\" width=\"227\" height=\"196\" />\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\"> .</span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n </div>\n<div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #9acd32\"><u><b>แผนภูมิพลังงานของปฏิกิริยาคายความร้อน</b></u></span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #ffffff\"> .</span>\n </div>\n<div align=\"center\">\n ( ที่มารุป ::: <a href=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/231/ra_clip_image004_0000.jpg\" title=\"http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/231/ra_clip_image004_0000.jpg\">http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/231/ra_clip_image004_0000...</a> )\n </div>\n<div align=\"center\">\n </div>\n<div>\n </div>\n<div>\n <span style=\"color: #ffffff\"> .</span>\n </div>\n<div>\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n </div>\n<div>\n <span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n </div>\n<div>\n <span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n </div>\n<div>\n <span style=\"color: #ff6600\"><u><b>แหล่งอ้างอิง</b></u></span>\n </div>\n<div>\n <a href=\"http://writer.dek-d.com/tungting55/story/view.php?id=454835\" title=\"http://writer.dek-d.com/tungting55/story/view.php?id=454835\">http://writer.dek-d.com/tungting55/story/view.php?id=454835</a>\n </div>\n<div>\n <a href=\"http://krusutida.com/atom/new/008/content_8_1.htm\" title=\"http://krusutida.com/atom/new/008/content_8_1.htm\">http://krusutida.com/atom/new/008/content_8_1.htm</a>\n </div>\n<div>\n </div>\n<div>\n </div>\n<div>\n </div>\n<div>\n </div>\n<div align=\"center\">\n <a href=\"/node/87459\"><img src=\"/files/u41204/Menu_b1.jpg\" width=\"277\" height=\"92\" /></a> \n </div>\n</div>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n', created = 1715086650, expire = 1715173050, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f241739a17c3e5401b70bb32574deffa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

::: พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา :::

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

..............

....................................................................................................................................

พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา

พลังงานเคมี (Chemical energy)
เป็นพลังงานศักย์ที่แฝงอยู่ในโครงสร้างของสาร เช่น อยู่ในรูปของน้ำมันเชื้อเพลิง ไขมัน
ซึ่งเมื่อเกิดการเผาไหม้จะปล่อยพลังงานเคมีออกมา
และนำมาใช้ประโยชน์ได้พลังงานเคมีเป็นพลังงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องและสำคัญกับสิ่งมีชีวิตมาก
 

.
ในการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละปฏิกิริยานั้น ต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2 ขั้นตอน ดังนี้
.
.

ขั้นที่ 1 เป็นขั้นที่ดูดพลังงานเข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้น
ขั้นที่ 2 เป็นขั้นที่คายพลังงานออกมาเมื่อมีการสร้างพันธะในผลิตภัณฑ์

.
.

1.ปฏิกิริยาดูดความร้อน ( Endothermic reaction)

ป็นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะมากกว่าที่คายออกมา
เพื่อสร้าง พันธะ โดยในปฏิกิริยาดูดความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์ จึงทำให้สิ่งแวดล้อมเย็นลง
อุณหภูมิลดลง เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู้สึกเย็น ดังภาพ

.


 

แผนภูมิพลังงานของปฏิกิริยาดูดความร้อน

.
.
.
.
.
2.ปฏิกิริยาคายความร้อน ( Exothermic reaction)
เป็นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะน้อยกว่าที่คายออกมา
เพื่อสร้าง พันธะ โดยในปฏิกิริยาคายความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์
จึงให้พลังงานความร้อนออกมาสู่สิ่งแวดล้อมทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นเมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู้สึกร้อน ดังภาพ
.
.
 
 .
.
แผนภูมิพลังงานของปฏิกิริยาคายความร้อน
 .
 .
.
.
.
แหล่งอ้างอิง

 

สร้างโดย: 
คุณครูพรรณนภา กำบัง และ นางสาวธนัยนันท์ ลีหะสุนนท์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพฯ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 1 คน และ ผู้เยี่ยมชม 528 คน กำลังออนไลน์

รายชื่อสมาชิกที่ออนไลน์

  • rs bonnyarit