• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d15900cdc9896b1cdb7359baa6d88bb9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\">  \n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"205\" width=\"378\" src=\"/files/u40047/ww2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 379px; height: 186px\" />\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n<div>\n2.1 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้<br />\nความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทำให้ในแต่ละวันมีการผลิตข้อมูลขึ้นมาจำนวนมาก ข้อมูลบางส่วนจะถูกนำมาประมวลผลเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ตัวอย่างเช่นข้อมูลจากเว็บไซต์ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละวัน ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้ได้เพียงค้นหาข้อความ รูปภาพ หรือวีดิทัศน์ ที่ตรงกับความสนใจเท่านั้น แต่ไม่สามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาประมวลผลและแสดงความรู้ที่แฝงอยู่ได้อย่างมี ประสิทธิผล\n</div>\n<div>\nข้อมูล (data) คือ สื่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจาการสังเกต การทดลอง<br />\nหรือการสำรวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึกไว้เป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์<br />\nตัวอย่างของข้อมูลต่างๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็นได้เป็นประจำ เช่น เกรดที่รักเรียนได้รับในแต่ละวิชา ราคาของสินค้าชนิดต่างๆ ในห้างสรรพสินค้า<br />\nรูปภาพและข้อความต่างๆ ที่ปรากฏในเว็บไซต์ ดังรูปที่ 2.1 \n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</div>\n<div>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><img height=\"376\" width=\"500\" src=\"/files/u40047/2_1.png\" /> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">รูปที่ 2.1 ตัวอย่างข้อมูลที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน (<a href=\"http://pirun.ku.ac.th/~g4986065/MyJournal/Image/0806255001.PNG\">http://pirun.ku.ac.th/~g4986065/MyJournal/Image/0806255001.PNG</a>) <br />\nสารสนเทศ (information) คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการนำข้อมูลมาประมวลผล เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นประโยชน์ในการนำไปใช้งานมากขึ้น<br />\nเช่น ส่วนสูงนักเรียนหญิงนักเรียนชายแต่ละคนในชั้นเรียนเป็นข้อมูล จะสามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้หลายแบบ เพื่อนำไปใช้ในจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การนำข้อมูลเหล่านี้เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย หรือการหาค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของนักเรียน<br />\nเพื่อให้นักเรียนได้เห็นความแตกต่างของข้อมูลและสารสนเทศอย่างชัดเจนมากขึ้น จึงได้แสดงตัวอย่างของการเปลี่ยนข้อมูลมาเป็นสารสนเทศอย่างง่าย ไว้ในตัวอย่างที่ 2.1<br />\nตัวอย่างที่ 2.1 ถ้าเราต้องการทราบการเปลี่ยนแปลงหรือการเจริญเติบโตของต้นถั่วเพื่อเฟรียบ เทียบส่วนสูงกันว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรดังรูปที่ 2.2 </span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><img height=\"326\" width=\"384\" src=\"/files/u40047/2_2_0.jpg\" style=\"width: 298px; height: 260px\" /></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\">รูปที่ 2.2 แสดงตัวอย่างการเจริญเติบโตของต้นถั่ว( <a href=\"https://fj6tgw.blu.livefilestore.com/.jpg\">https://fj6tgw.blu.livefilestore.com/.jpg</a>) </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\">       </span><span style=\"color: #000000\">จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่าการสร้างสารสนเทศ ซึ่งในที่นี้คือ ส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะสามารถถูกนำไปใช้เพื่อวิเคราะห์และตอบคำถามว่า ส่วนสูงของนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงอย่าไงรตลอด 20 ปีที่ผ่านมา<br />\nซึ่งสารสนเทศเหล่านี้จะถูกนำไปใช้เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจอื่นๆ เช่น การตัดสินใจด้านโภชนาการ หรือการจัดหลักสูตรวิชาพลานามัย เพื่อให้เหมาะสมกับนักเรียนในปัจจุบัน ดังรูปที่ 2.3 </span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"221\" width=\"228\" src=\"/files/u40047/2_3.jpg\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nรูปที่ 2.3 การนำข้อมูลมาประมวลผลเพื่อประกอบการตัดสินใจ (<a href=\"http://www.thaiwbi.com/course/ICT/Techno1.gif\">http://www.thaiwbi.com/course/ICT/Techno1.gif</a>)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nข้อมูลเหล่านี้จะต้องถูกส่งเข้ากระบวนการต่างๆ ตามความเหมาะสม เพื่อเปลี่ยนให้ข้อมูลกลายเป็นสิ่งที่สามารถนำมาใช้เพื่อสนับสนุนการตัดสิน ใจต่างๆ ได้ ตัวอย่างดังรูปที่ 2.3\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n       ความรู้ (knowledge) เป็นคำที่มีความหมายกว้าง และใช้กันโดยทั่วไป ในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไว้ในหลาย แง่มุม แต่ความหมายในแง่มุมหนึ่งที่สอดคล้องกับข้อมูลและสารสนเทศ <br />\nความรู้ คือ สิ่งที่ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนำไป ประยุกต์ใช้ในปัญหาที่ต้องการนำข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไปแก้ไข<br />\nนอกจากนี้ยังมีนิยามของความรู้อีกด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของ ข้อมูลและสารสนเทศคือ ความรู้ที่แฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสื่งที่สามารถสกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบน่าสนใจ เป็นจริงสำหรับข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน<br />\nเป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นกันมาก่อน ซึ่งผลลัพธ์สุดท้ายจาการวิเคราะห์สารสนเทศจะได้เป็นความรู้ที่เป้นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้<br />\nเราเรียกกระบวนการที่สามารถสกัดความรู้จากข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้เป็น อย่างดีในฐานข้อมูลว่า การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล (knowledge discovery in databases) ดังรูปที่ 2.4 ซึ่งตัวอย่างของการค้นพบความรู้นี้ แสดงไว้ในตัวอย่างที่ 2.2\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff99cc\"><img height=\"292\" width=\"320\" src=\"/files/u40047/database.png\" style=\"width: 208px; height: 223px\" /></span> </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\">รูปที่ 2.4 การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล (<a href=\"http://www.numsai.com/picture/machine/database.png\">http://www.numsai.com/picture/machine/database.png</a>) </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\">      ตัวอย่างที่ 2.2  สมมติว่าเราไม่เคยมีความรู้มาก่อนเลยว่าเพราะเหตุใดนักเรียนบางคน จึงสูงกว่านักเรียนคนอื่น เราสามารถนำส่วนสูงของนักเรียนแต่ละคนมาจับคู่กับคุณสมบัติอื่นๆ เช่น ลักษณะนิสับการรับประทานอาหาร (รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เป็นประจำหรือไม่)<br />\nและความถี่ในการออกกำลังกาย ( ทุกวัน สัปดาห์ละ 3 ครั้ง สัปดาห์ละครั้ง เดือนละครั้ง หรือน้อยมาก) <br />\nเมื่อเราใช้กระบวนการค้นพบความรู้ในบานข้อมูลชุดนี้ ความรู้ที่เราอาจจะพบได้จากข้อมูล ได้แก่ รูปแบบความสัมพันธ์บางอย่าง เช่น      <br />\n1. นักเรียนที่ออกกำลังกายทุกวัน และรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจำ จะมีส่วนสูงสูงกว่านักเรียนที่ออกกำลังกายวันเว้นวัน แต่ไม่ได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจำ<br />\n2. นักเรียนที่ออกกำลังกายน้อยมาก และไม่รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจำ จะมีส่วนสูงน้อยที่สุดในห้อง <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82883\"><img height=\"196\" width=\"216\" src=\"/files/u40047/5555_0.gif\" style=\"width: 117px; height: 94px\" /></a>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff99cc\">  </span>\n</p></div>\n', created = 1728204620, expire = 1728291020, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d15900cdc9896b1cdb7359baa6d88bb9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ข้อมูลสารสนเทศ

 

2.1 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทำให้ในแต่ละวันมีการผลิตข้อมูลขึ้นมาจำนวนมาก ข้อมูลบางส่วนจะถูกนำมาประมวลผลเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ ตัวอย่างเช่นข้อมูลจากเว็บไซต์ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละวัน ซึ่งสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้ได้เพียงค้นหาข้อความ รูปภาพ หรือวีดิทัศน์ ที่ตรงกับความสนใจเท่านั้น แต่ไม่สามารถนำข้อมูลเหล่านี้มาประมวลผลและแสดงความรู้ที่แฝงอยู่ได้อย่างมี ประสิทธิผล
ข้อมูล (data) คือ สื่งที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจาการสังเกต การทดลอง
หรือการสำรวจด้วยการแทนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึกไว้เป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์
ตัวอย่างของข้อมูลต่างๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็นได้เป็นประจำ เช่น เกรดที่รักเรียนได้รับในแต่ละวิชา ราคาของสินค้าชนิดต่างๆ ในห้างสรรพสินค้า
รูปภาพและข้อความต่างๆ ที่ปรากฏในเว็บไซต์ ดังรูปที่ 2.1 

 

รูปที่ 2.1 ตัวอย่างข้อมูลที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน (http://pirun.ku.ac.th/~g4986065/MyJournal/Image/0806255001.PNG)
สารสนเทศ (information) คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการนำข้อมูลมาประมวลผล เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นประโยชน์ในการนำไปใช้งานมากขึ้น
เช่น ส่วนสูงนักเรียนหญิงนักเรียนชายแต่ละคนในชั้นเรียนเป็นข้อมูล จะสามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้หลายแบบ เพื่อนำไปใช้ในจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การนำข้อมูลเหล่านี้เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย หรือการหาค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของนักเรียน
เพื่อให้นักเรียนได้เห็นความแตกต่างของข้อมูลและสารสนเทศอย่างชัดเจนมากขึ้น จึงได้แสดงตัวอย่างของการเปลี่ยนข้อมูลมาเป็นสารสนเทศอย่างง่าย ไว้ในตัวอย่างที่ 2.1
ตัวอย่างที่ 2.1 ถ้าเราต้องการทราบการเปลี่ยนแปลงหรือการเจริญเติบโตของต้นถั่วเพื่อเฟรียบ เทียบส่วนสูงกันว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรดังรูปที่ 2.2

รูปที่ 2.2 แสดงตัวอย่างการเจริญเติบโตของต้นถั่ว( https://fj6tgw.blu.livefilestore.com/.jpg)

       จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่าการสร้างสารสนเทศ ซึ่งในที่นี้คือ ส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะสามารถถูกนำไปใช้เพื่อวิเคราะห์และตอบคำถามว่า ส่วนสูงของนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงอย่าไงรตลอด 20 ปีที่ผ่านมา
ซึ่งสารสนเทศเหล่านี้จะถูกนำไปใช้เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจอื่นๆ เช่น การตัดสินใจด้านโภชนาการ หรือการจัดหลักสูตรวิชาพลานามัย เพื่อให้เหมาะสมกับนักเรียนในปัจจุบัน ดังรูปที่ 2.3

รูปที่ 2.3 การนำข้อมูลมาประมวลผลเพื่อประกอบการตัดสินใจ (http://www.thaiwbi.com/course/ICT/Techno1.gif)

ข้อมูลเหล่านี้จะต้องถูกส่งเข้ากระบวนการต่างๆ ตามความเหมาะสม เพื่อเปลี่ยนให้ข้อมูลกลายเป็นสิ่งที่สามารถนำมาใช้เพื่อสนับสนุนการตัดสิน ใจต่างๆ ได้ ตัวอย่างดังรูปที่ 2.3

       ความรู้ (knowledge) เป็นคำที่มีความหมายกว้าง และใช้กันโดยทั่วไป ในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไว้ในหลาย แง่มุม แต่ความหมายในแง่มุมหนึ่งที่สอดคล้องกับข้อมูลและสารสนเทศ
ความรู้ คือ สิ่งที่ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อนำไป ประยุกต์ใช้ในปัญหาที่ต้องการนำข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไปแก้ไข
นอกจากนี้ยังมีนิยามของความรู้อีกด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของ ข้อมูลและสารสนเทศคือ ความรู้ที่แฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสื่งที่สามารถสกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบน่าสนใจ เป็นจริงสำหรับข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน
เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยเห็นกันมาก่อน ซึ่งผลลัพธ์สุดท้ายจาการวิเคราะห์สารสนเทศจะได้เป็นความรู้ที่เป้นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้
เราเรียกกระบวนการที่สามารถสกัดความรู้จากข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้เป็น อย่างดีในฐานข้อมูลว่า การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล (knowledge discovery in databases) ดังรูปที่ 2.4 ซึ่งตัวอย่างของการค้นพบความรู้นี้ แสดงไว้ในตัวอย่างที่ 2.2

 

 

รูปที่ 2.4 การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล (http://www.numsai.com/picture/machine/database.png)

      ตัวอย่างที่ 2.2  สมมติว่าเราไม่เคยมีความรู้มาก่อนเลยว่าเพราะเหตุใดนักเรียนบางคน จึงสูงกว่านักเรียนคนอื่น เราสามารถนำส่วนสูงของนักเรียนแต่ละคนมาจับคู่กับคุณสมบัติอื่นๆ เช่น ลักษณะนิสับการรับประทานอาหาร (รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เป็นประจำหรือไม่)
และความถี่ในการออกกำลังกาย ( ทุกวัน สัปดาห์ละ 3 ครั้ง สัปดาห์ละครั้ง เดือนละครั้ง หรือน้อยมาก)
เมื่อเราใช้กระบวนการค้นพบความรู้ในบานข้อมูลชุดนี้ ความรู้ที่เราอาจจะพบได้จากข้อมูล ได้แก่ รูปแบบความสัมพันธ์บางอย่าง เช่น     
1. นักเรียนที่ออกกำลังกายทุกวัน และรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจำ จะมีส่วนสูงสูงกว่านักเรียนที่ออกกำลังกายวันเว้นวัน แต่ไม่ได้รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจำ
2. นักเรียนที่ออกกำลังกายน้อยมาก และไม่รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจำ จะมีส่วนสูงน้อยที่สุดในห้อง

 

สร้างโดย: 
นาย โยธิน พิภพเรืองรอง และนางสาว ณัฐวรรณ ทรัพย์เกษม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 395 คน กำลังออนไลน์