• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ไม่พบหน้าที่เรียก | Page not found', 'node/207', '', '18.224.61.19', 0, 'c031a6d5e2caf82314d1fadcc618021e', 110, 1716235911) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b87bbc49ed3f805e4187c673dadf4168' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: -1in; z-index: -5; left: 0px; margin-left: -81pt; width: 612pt; position: absolute; height: 846pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1026\"><v:imagedata o:title=\"20iw8\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\lab117\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image001.gif\"></v:imagedata><o:lock cropping=\"t\" v:ext=\"edit\"></o:lock></v:shape><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วิจัยในชั้นเรียน</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                 </span>บทที่ </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">1</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บทนำ</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เรื่อง <span>   </span><span> </span>การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการฟัง และ การพูดภาษาอังกฤษ<span>       </span></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                             </span>ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2<o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความสำคัญและความเป็นมา</span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></u></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>             </span>จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2542<span>   </span><span lang=\"TH\">และที่แก้ไขเพิ่มเติม<span>  </span></span>( <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>2 )<span>   </span><span lang=\"TH\">พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>.<span>   </span>2545 <span lang=\"TH\">พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาขั้นบังคับ<span>  </span>หมวด<span>  </span></span>4<span>  </span><span lang=\"TH\">แนวการจัดการศึกษา<span>  </span>มาตรา </span>24 (5) <span lang=\"TH\">กล่าวว่า<span>  </span>ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม<span>  </span>สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวก<span>   </span>เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้<span>      </span>รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้<span>  </span>ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ<span>   </span>มาตรา </span>30 <span lang=\"TH\">กล่าวว่า<span>  </span>ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ<span>      </span>รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาเป็นผู้จัด เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ<span>   </span>ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความคาดหวังว่า<span>  </span>เมื่อผู้เรียนเรียนภาษาต่างประเทศอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษา<span>   </span>ผู้เรียนจะมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ<span>   </span>สามารถใช้ภาษาต่างประเทศสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ<span>  </span>หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>.2551<span>  </span><span lang=\"TH\">ได้กำหนดให้สาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศเป็นสาระการเรียนรู้ที่เสริมสร้างพื้นฐานความเป็นมนุษย์<span>        </span>สร้างศักยภาพในการคิดและการทำงานอย่างสร้างสรรค์<span>  </span>เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การเรียนภาษาต่างประเทศจะช่วยให้ผู้เรียนมีวิสัยทัศน์กว้างไกลและเกิดความมั่นใจในการสื่อสารกับชาวต่างประเทศ<span>  </span>รวมทั้งเกิดเจตคติที่ดีต่อภาษาวัฒนธรรมต่างประเทศ<span>  </span>โดยความภาคภูมิใจในภาษาและวัฒนธรรมไทย<span>  </span></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>   </span><span>         </span>ภาษา<span>  </span>เป็น เครื่องมือสื่อสารของคนในสังคมเดียวกันหรือต่างสังคม<span>  </span>และภาษาเป็นสื่อทำให้โครงสร้างทางสังคมมีความประณีตและสมบูรณ์<span>  </span>ภาษาจึงเป็นหัวใจสำคัญของการสื่อสาร<span>  </span>โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางที่ใช้ติดต่อสื่อสารทั่วไปและขอบข่ายของการใช้ภาษาดังกล่าวก็คลอบคลุมทั้งโลกเป็นภาษาแห่งโอกาส<span>  </span>กล่าวคือ<span>  </span>หนึ่งในคุณสมบัติของผู้ทำงานในแต่ละสาขาอาชีพในปัจจุบันล้วนกำหนดว่าจะต้องฟัง<span>  </span>พูด<span>  </span>อ่าน<span>  </span>และเขียนภาษาอังกฤษได้ดี (กฤษณา<span>  </span>สิกขมาน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">.<span>  </span>2544 : 68<span lang=\"TH\">) ในชีวิตประจำวันทักษะการฟังเป็นทักษะที่สำคัญ<span>  </span>เพราะเป็นทักษะที่ใช้มากกว่าทักษะอื่น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>(สุมิตรา<span>  </span>อังวัฒนกุล</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">. 2539:73<span lang=\"TH\">)<span>  </span>ทักษะการฟังในระดับเริ่มต้น<span>  </span>เน้นการฟังเสียง<span>  </span>พยางค์<span>  </span>คำศัพท์<span>  </span>วลี<span>  </span>แล้วสามารถออกเสียงได้ถูกต้อง<span>  </span>(กุศยา<span>  </span>แสงเดช</span>.<span>  </span>2548 :132<span lang=\"TH\">) ในบรรดา<span>  </span></span>4<span>  </span><span lang=\"TH\">ทักษะทักษะการฟังเป็นทักษะแรกของการสื่อสารถ้าฟังไม่รู้เรื่องก็จะไม่สามารถพูดโต้ตอบได้<span>   </span>(ธูปทอง<span>  </span>กว้างสวาสดิ์</span>. <span lang=\"TH\">ม</span>.<span lang=\"TH\">ป</span>.<span lang=\"TH\">ป</span>. :27<span lang=\"TH\">)<span>  </span>ส่งผลให้ทักษะการพูดเป็นทักษะที่สำคัญในการถ่ายทอดความคิด<span>  </span>ความเข้าใจและความรู้สึกที่ผู้ฟังได้รับรู้และเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้พูด<span>  </span>ฉะนั้นการพัฒนาทักษะการพูดจึงต้องใช้เวลานานในการฝึก<span>  </span>(กองวิจัยทางการศึกษา</span>.<span>  </span>2542<span>  </span>:<span>  </span>18-20<span lang=\"TH\">)<span>  </span>การพูดเป็นทักษะด้านการแสดงออก<span>  </span>(</span>Productive<span>  </span>Skill<span lang=\"TH\">)<span>  </span>ในการพูดผู้พูดต้องมีความสามารถทางภาษาทุกด้าน<span>  </span>เพื่อทำให้ผู้ฟังเข้าใจต้องถ่ายทอดความคิด<span>  </span>ความรู้สึกของตนเองออกมาเป็นคำพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ<span>  </span>ต้องแสดงสถานภาพผู้พูดแสดงออกให้ถูกต้อง<span>  </span>(พรสวรรค์<span>  </span>สีป้อ</span>.<span>  </span>2540 : 162<span lang=\"TH\">)<span>  </span></span><span>  </span><o:p></o:p></span></span><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: -168.45pt; z-index: -3; margin-left: -1in; width: 603pt; position: absolute; height: 846pt\" id=\"_x0000_s1028\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:title=\"222er2\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\lab117\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image002.gif\"></v:imagedata><o:lock cropping=\"t\" v:ext=\"edit\"></o:lock></span></v:shape><v:shape wrapcoords=\"-83 0 -83 21490 21600 21490 21600 0 -83 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: -168.45pt; z-index: -4; margin-left: -126pt; width: 10in; position: absolute; height: 846pt\" id=\"_x0000_s1027\"><v:imagedata o:title=\"bg2[1]\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\lab117\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image003.jpg\"><span style=\"color: #000000\"></span></v:imagedata></v:shape><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                   </span>ผู้วิจัยได้ทำการสอนวิชาภาษาอังกฤษ<span>  </span>ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2<span>  </span><span lang=\"TH\">โรงเรียนเซนต์ไมเกิ้ล<span>  </span>เขตสาธร<span>   </span>ในภาคเรียนที่</span><span>  </span>1<span>  </span><span lang=\"TH\">ปีการศึกษา </span>2553<span>  </span><span lang=\"TH\">พบว่า<span>  </span>นักเรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะการฟังและการพูด<span>  </span>เพราะครูเริ่มต้นการสอนโดยเน้นการอ่านและการเขียน<span>  </span>แต่โดยธรรมชาติของการเรียนภาษาอังกฤษต้องเริ่มต้นที่การฟังและการพูดก่อน<span>  </span>นักเรียนจึงมีปัญหาในด้านการฟัง<span>  </span>นักเรียนฟังผู้สอนออกเสียงคำศัพท์<span>  </span>วลี<span>  </span>และประโยคสนทนาจากสิ่งที่ฟังไม่ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาในด้านการฟังและการพูด<span>    </span>จึงทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางด้านการเรียนวิชาภาษาอังกฤษต่ำ</span><span>   </span><span lang=\"TH\">และนักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ<span>  </span>ไม่ชอบภาษาอังกฤษ<span>      </span>ไม่กล้าแสดงออก ไม่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม<span>  </span>ส่งผลให้การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                   </span><span>             </span>จากปัญหาดังกล่าวผู้ศึกษาค้นคว้ามีความสนใจที่จะนำวิธีการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการฟังและการพูด <span>  </span>โดยมีกิจกรรมให้นักเรียนฟังคำศัพท์และประโยคสนทนา <span> </span>ฟังเรื่องราวที่เล่า<span>    </span>พูดคำศัพท์<span>  </span>พูดประโยคสนทนา <span>   </span>เพื่อพัฒนาทักษะการฟังและทักษะการพูด<span>  </span>และส่งเสริมให้นักเรียนกล้าแสดงออก<span>  </span>ในการเข้าร่วมกิจกรรม<span>  </span>และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษส่งผลให้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วัตถุประสงค์ของการวิจัย</span></u></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ การฟัง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>          </span><span>      </span><span>             </span><span>                   </span>ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2<span lang=\"TH\">/</span>2<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span><b><u><span lang=\"TH\">ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ</span></u></b><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                   </span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                      </span><span lang=\"TH\">ผลการวิจัยในครั้งนี้<span>  </span>จะช่วยให้ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษและผู้ที่เกี่ยวช้องกับการเรียนการสอนทุกวิชาใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดต่อไป<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ขอบเขตของการวิจัย</span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></u></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                   </span>-<u><span lang=\"TH\">ประชากร</span></u></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">โรงเรียนเซนต์ไมเกิ้ล<span>  </span>ภาคเรียนที่ </span>2<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปีการศึกษา<span>  </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2553<span>  </span><span lang=\"TH\">จำนวน<span>  </span></span>2<span>  </span><span lang=\"TH\">ห้องเรียน<span>   </span></span>51<span>  </span><span lang=\"TH\">คน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                   </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">-<b><u><span lang=\"TH\">กลุ่มตัวอย่าง</span></u></b><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                      </span>-นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2<span lang=\"TH\">/</span>2 <span lang=\"TH\">โรงเรียนเซนต์ไมเกิ้ล <span>  </span>ภาคเรียนที่ </span>2<span>   </span><span lang=\"TH\">ปีการศึกษา<span>  </span></span>2553<span>  </span><span lang=\"TH\">จำนวน<span>  </span></span>21 <span lang=\"TH\">คน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ซึ่งได้จากการสุ่มเจาะจงทั้งห้องเรียนจำนวน<span>  </span></span>1 <span lang=\"TH\">ห้องเรียน</span><o:p></o:p></span></span><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: -81pt; z-index: -1; margin-left: -90pt; width: 621pt; position: absolute; height: 12in\" id=\"_x0000_s1030\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:title=\"jjrr3\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\lab117\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image005.gif\"></v:imagedata><o:lock cropping=\"t\" v:ext=\"edit\"></o:lock></span></v:shape><v:shape wrapcoords=\"-174 0 -174 21409 21600 21409 21600 0 -174 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: -1in; z-index: -2; margin-left: -1in; width: 603pt; position: absolute; height: 846pt\" id=\"_x0000_s1029\"><v:imagedata o:title=\"010-1[1]\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\lab117\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\05\\clip_image006.jpg\"><span style=\"color: #000000\"></span></v:imagedata></v:shape><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">-<b><u><span lang=\"TH\">ตัวแปรที่ศึกษา</span></u></b><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                </span><b><span> </span><u>ตัวแปรต้น<span>  </span></u></b></span><b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></u></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                </span>-</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แบบฝึกทักษะ การฟังและการพูด<span>  </span><span> </span>ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2<span lang=\"TH\">/</span>2<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                        </span><u>ตัวแปรตาม</u></span></b><b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>  </span></span></u></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                                </span>-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ<span>  </span>การฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2<span lang=\"TH\">/</span>2<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                   </span><u>สมมติฐานการวิจัย</u></span></b><b><u><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></u></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                                </span>-</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษด้านการฟังและการพูด<span>   </span>สูงกว่าก่อนการใช้แบบฝึกทักษะร้อยละ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> 60<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                         </span><u>นิยามศัพท์</u></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                                                                </span><u><span>   </span><o:p></o:p></u></span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">ทักษะการฟัง<span>  </span>หมายถึง<span>  </span>ความสามารถในการฟังเพื่อความเข้าใจของนักเรียน โดยสามารถฟังคำ<span>  </span>วลี<span>  </span>และประโยคภาษาอังกฤษ<span>   </span>แล้วสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ฟังได้โดยการบอกประโยคที่ไดฟังและแสดงท่าทางจากสิ่งที่ฟังได้</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2.<span>  </span><span lang=\"TH\">ทักษะการพูด<span>   </span>หมายถึง<span>  </span>ความสามารถในการพูด<span>  </span>ผู้พูดต้องใช้ความสามารถทางภาษา</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พูดคำ<span>  </span>วลี<span>  </span>และประโยคภาษาอังกฤษ<span>  </span>โดยการนำประโยคสั้นๆมาพูดซ้ำและนักเรียนพูดเลียนแบบประโยคโดยใช้คำศัพท์ที่เรียนมาแล้วพร้อมแสดงท่าทางและรูปภาพประกอบ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>             </span>3.<span>  </span><span lang=\"TH\">พูดเลียนประโยค<span>  </span>หมายถึง การพูดตามประโยคที่ได้ฟัง<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>             </span>4.<span>  </span><span lang=\"TH\">ประสิทธิ์ภาพของแบบฝึกทักษะหมายถึง ความสามารถในการทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนและแบบทดสอบ<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"> <span>                                          </span><span>                                                     </span><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></p>\n', created = 1716235931, expire = 1716322331, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b87bbc49ed3f805e4187c673dadf4168' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน                                 บทที่ 1บทนำเรื่อง     การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการฟัง และ การพูดภาษาอังกฤษ                                    ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ความสำคัญและความเป็นมา             จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.. 2542   และที่แก้ไขเพิ่มเติม  ( ฉบับที่ 2 )   ..   2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาขั้นบังคับ  หมวด  4  แนวการจัดการศึกษา  มาตรา 24 (5) กล่าวว่า  ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม  สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวก   เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้      รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้  ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ   มาตรา 30 กล่าวว่า  ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ      รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาเป็นผู้จัด เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ   ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความคาดหวังว่า  เมื่อผู้เรียนเรียนภาษาต่างประเทศอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษา   ผู้เรียนจะมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ   สามารถใช้ภาษาต่างประเทศสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ  หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ..2551  ได้กำหนดให้สาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศเป็นสาระการเรียนรู้ที่เสริมสร้างพื้นฐานความเป็นมนุษย์        สร้างศักยภาพในการคิดและการทำงานอย่างสร้างสรรค์  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การเรียนภาษาต่างประเทศจะช่วยให้ผู้เรียนมีวิสัยทัศน์กว้างไกลและเกิดความมั่นใจในการสื่อสารกับชาวต่างประเทศ  รวมทั้งเกิดเจตคติที่ดีต่อภาษาวัฒนธรรมต่างประเทศ  โดยความภาคภูมิใจในภาษาและวัฒนธรรมไทย              ภาษา  เป็น เครื่องมือสื่อสารของคนในสังคมเดียวกันหรือต่างสังคม  และภาษาเป็นสื่อทำให้โครงสร้างทางสังคมมีความประณีตและสมบูรณ์  ภาษาจึงเป็นหัวใจสำคัญของการสื่อสาร  โดยเฉพาะภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางที่ใช้ติดต่อสื่อสารทั่วไปและขอบข่ายของการใช้ภาษาดังกล่าวก็คลอบคลุมทั้งโลกเป็นภาษาแห่งโอกาส  กล่าวคือ  หนึ่งในคุณสมบัติของผู้ทำงานในแต่ละสาขาอาชีพในปัจจุบันล้วนกำหนดว่าจะต้องฟัง  พูด  อ่าน  และเขียนภาษาอังกฤษได้ดี (กฤษณา  สิกขมาน.  2544 : 68) ในชีวิตประจำวันทักษะการฟังเป็นทักษะที่สำคัญ  เพราะเป็นทักษะที่ใช้มากกว่าทักษะอื่น (สุมิตรา  อังวัฒนกุล. 2539:73)  ทักษะการฟังในระดับเริ่มต้น  เน้นการฟังเสียง  พยางค์  คำศัพท์  วลี  แล้วสามารถออกเสียงได้ถูกต้อง  (กุศยา  แสงเดช.  2548 :132) ในบรรดา  4  ทักษะทักษะการฟังเป็นทักษะแรกของการสื่อสารถ้าฟังไม่รู้เรื่องก็จะไม่สามารถพูดโต้ตอบได้   (ธูปทอง  กว้างสวาสดิ์. ... :27)  ส่งผลให้ทักษะการพูดเป็นทักษะที่สำคัญในการถ่ายทอดความคิด  ความเข้าใจและความรู้สึกที่ผู้ฟังได้รับรู้และเข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้พูด  ฉะนั้นการพัฒนาทักษะการพูดจึงต้องใช้เวลานานในการฝึก  (กองวิจัยทางการศึกษา.  2542  :  18-20)  การพูดเป็นทักษะด้านการแสดงออก  (Productive  Skill)  ในการพูดผู้พูดต้องมีความสามารถทางภาษาทุกด้าน  เพื่อทำให้ผู้ฟังเข้าใจต้องถ่ายทอดความคิด  ความรู้สึกของตนเองออกมาเป็นคำพูดให้ผู้อื่นเข้าใจ  ต้องแสดงสถานภาพผู้พูดแสดงออกให้ถูกต้อง  (พรสวรรค์  สีป้อ.  2540 : 162)                       ผู้วิจัยได้ทำการสอนวิชาภาษาอังกฤษ  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  โรงเรียนเซนต์ไมเกิ้ล  เขตสาธร   ในภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา 2553  พบว่า  นักเรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะการฟังและการพูด  เพราะครูเริ่มต้นการสอนโดยเน้นการอ่านและการเขียน  แต่โดยธรรมชาติของการเรียนภาษาอังกฤษต้องเริ่มต้นที่การฟังและการพูดก่อน  นักเรียนจึงมีปัญหาในด้านการฟัง  นักเรียนฟังผู้สอนออกเสียงคำศัพท์  วลี  และประโยคสนทนาจากสิ่งที่ฟังไม่ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาในด้านการฟังและการพูด    จึงทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางด้านการเรียนวิชาภาษาอังกฤษต่ำ   และนักเรียนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ  ไม่ชอบภาษาอังกฤษ      ไม่กล้าแสดงออก ไม่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม  ส่งผลให้การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร                                 จากปัญหาดังกล่าวผู้ศึกษาค้นคว้ามีความสนใจที่จะนำวิธีการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะการฟังและการพูด   โดยมีกิจกรรมให้นักเรียนฟังคำศัพท์และประโยคสนทนา  ฟังเรื่องราวที่เล่า    พูดคำศัพท์  พูดประโยคสนทนา    เพื่อพัฒนาทักษะการฟังและทักษะการพูด  และส่งเสริมให้นักเรียนกล้าแสดงออก  ในการเข้าร่วมกิจกรรม  และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษส่งผลให้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย  เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ การฟัง                                                 ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ                                                         ผลการวิจัยในครั้งนี้  จะช่วยให้ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษและผู้ที่เกี่ยวช้องกับการเรียนการสอนทุกวิชาใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดต่อไปขอบเขตของการวิจัย                   -ประชากร  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเซนต์ไมเกิ้ล  ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา  2553  จำนวน  2  ห้องเรียน   51  คน                   -กลุ่มตัวอย่าง                                      -นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนเซนต์ไมเกิ้ล   ภาคเรียนที่ 2   ปีการศึกษา  2553  จำนวน  21 คน  ซึ่งได้จากการสุ่มเจาะจงทั้งห้องเรียนจำนวน  1 ห้องเรียน-ตัวแปรที่ศึกษา                                 ตัวแปรต้น                                  -แบบฝึกทักษะ การฟังและการพูด   ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2                        ตัวแปรตาม                                  -ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ  การฟังและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2                   สมมติฐานการวิจัย                                -นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษด้านการฟังและการพูด   สูงกว่าก่อนการใช้แบบฝึกทักษะร้อยละ 60                         นิยามศัพท์                                                                   1. ทักษะการฟัง  หมายถึง  ความสามารถในการฟังเพื่อความเข้าใจของนักเรียน โดยสามารถฟังคำ  วลี  และประโยคภาษาอังกฤษ   แล้วสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ฟังได้โดยการบอกประโยคที่ไดฟังและแสดงท่าทางจากสิ่งที่ฟังได้2.  ทักษะการพูด   หมายถึง  ความสามารถในการพูด  ผู้พูดต้องใช้ความสามารถทางภาษาพูดคำ  วลี  และประโยคภาษาอังกฤษ  โดยการนำประโยคสั้นๆมาพูดซ้ำและนักเรียนพูดเลียนแบบประโยคโดยใช้คำศัพท์ที่เรียนมาแล้วพร้อมแสดงท่าทางและรูปภาพประกอบ             3.  พูดเลียนประโยค  หมายถึง การพูดตามประโยคที่ได้ฟัง             4.  ประสิทธิ์ภาพของแบบฝึกทักษะหมายถึง ความสามารถในการทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนและแบบทดสอบ                                                                                                     

สร้างโดย: 
นายวีระชัย จาวาลา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 348 คน กำลังออนไลน์