• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:41e6ee1ffee9ff3c49ec31d5b5ba8510' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span class=\"mw-headline\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/69061\"><img height=\"50\" width=\"122\" src=\"/files/u32212/homeee.gif\" border=\"0\" /></a></span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span class=\"mw-headline\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">เพลงดนตรีไทย</span><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></b></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">แบ่งได้เป็น 4 แบบคือ</span></b>\n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"></span></b><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">1. <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C\" title=\"เพลงหน้าพาทย์\"><span style=\"color: #00b0f0\"><u>เพลงหน้าพาทย์</u></span></a></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"> ได้แก่ เพลงที่บรรเลงประกอบกิริยาเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ </span></p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">ทั้งของ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C\" title=\"มนุษย์\"><span style=\"color: #00b0f0\"><u>มนุษย์</u></span></a> ของ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C\" title=\"สัตว์\"><span style=\"color: #00b0f0\"><u>สัตว์</u></span></a> ของวัตถุต่าง ๆ และอื่น ๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">2. <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เพลงรับร้อง (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #00b0f0\"><u>เพลงรับร้อง</u></span></a></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"> ที่เรียกว่าเพลงรับร้องก็ด้วยบรรเลงรับจากการร้อง คือ เมื่อคนร้องได้ร้องจบไปแล้วแต่ละท่อน </span></p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">ดนตรีก็ต้องบรรเลงรับในท่อนนั้น ๆ โดยมากมักเป็นเพลงอัตรา 3 ชั้นและเพลงเถา เช่น เพลงจระเข้หางยาว 3 ชั้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">เพลงสี่บท 3 ชั้น และเพลงบุหลันเถา เป็นต้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">3. <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เพลงละคร (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #00b0f0\"><u>เพลงละคร</u></span></a></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"> หมายถึงเพลงที่บรรเลงประกอบการแสดง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%99\" title=\"โขน\"><span style=\"color: #00b0f0\"><u>โขน</u></span></a> ละคร และมหรสพต่าง ๆ </span></p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">ซึ่งหมายเฉพาะเพลงที่มีรัองและดนตรีรับเท่า นั้น เพลงละครได้แก่เพลงอัตรา 2 ชั้น เช่น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">เพลงเวสสุกรรม เพลงพญาโศก หรือชั้นเดียว เช่น เพลงนาคราช เพลงตะลุ่มโปง เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">4. <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B9%87%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%94&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เพลงเบ็ดเตล็ด (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #00b0f0\"><u>เพลงเบ็ดเตล็ด</u></span></a></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"> ได้แก่ เพลงเล็ก ๆ สั้น ๆ สำหรับใช้บรรเลงเป็นพิเศษ เช่น บรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่</span> </p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\"></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #00b0f0; font-size: 10pt\">เป็นเพลงลูกบท หรือเพลงภาษา ต่าง ๆ ซึ่งบรรเลงเพื่อสนุกสนาน <o:p></o:p></span></p>\n', created = 1715878096, expire = 1715964496, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:41e6ee1ffee9ff3c49ec31d5b5ba8510' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เพลงดนตรีไทย

เพลงดนตรีไทย แบ่งได้เป็น 4 แบบคือ

1. เพลงหน้าพาทย์ ได้แก่ เพลงที่บรรเลงประกอบกิริยาเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ

ทั้งของมนุษย์ ของสัตว์ ของวัตถุต่าง ๆ และอื่น ๆ

2. เพลงรับร้อง ที่เรียกว่าเพลงรับร้องก็ด้วยบรรเลงรับจากการร้อง คือ เมื่อคนร้องได้ร้องจบไปแล้วแต่ละท่อน

ดนตรีก็ต้องบรรเลงรับในท่อนนั้น ๆ โดยมากมักเป็นเพลงอัตรา 3 ชั้นและเพลงเถา เช่น เพลงจระเข้หางยาว 3 ชั้น

เพลงสี่บท 3 ชั้น และเพลงบุหลันเถา เป็นต้น

3. เพลงละคร หมายถึงเพลงที่บรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร และมหรสพต่าง ๆ

ซึ่งหมายเฉพาะเพลงที่มีรัองและดนตรีรับเท่า นั้น เพลงละครได้แก่เพลงอัตรา 2 ชั้น เช่น

เพลงเวสสุกรรม เพลงพญาโศก หรือชั้นเดียว เช่น เพลงนาคราช เพลงตะลุ่มโปง เป็นต้น

4. เพลงเบ็ดเตล็ด ได้แก่ เพลงเล็ก ๆ สั้น ๆ สำหรับใช้บรรเลงเป็นพิเศษ เช่น บรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่

เป็นเพลงลูกบท หรือเพลงภาษา ต่าง ๆ ซึ่งบรรเลงเพื่อสนุกสนาน

สร้างโดย: 
นายสุทัศน์ ตั้งฮั่น และนางสาวรุจิรา อินทน้ำเงิน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 299 คน กำลังออนไลน์