• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ef262b59fd5ba5268beb5f1979bb8f7d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nหลักการใช้ ฤ ฤา ฦ ฦา <br />\n1. การใช้ ฤ (รึ) ใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต มีหลักการอ่านดังนี้<br />\n1. อ่านออกเสียง &quot;ริ&quot; เมื่อผสมกับ พยัญชนะ ก ต ท ป ศ ส เช่น กฤษฎีกา กฤษณา ตฤณมัย ทฤษฎี ปฤษฎางค์ ปฤจฉา ศฤงคาร ฤทธิ วิกฤติกาล รังสฤษภ์ อังกฤษ อมฤต <br />\n2. อ่านออกเสียง &quot;รึ&quot; เมื่อผสมกับพยัญชนะ ด น พ ม ห เช่น คฤหัสถ์ คฤหาสน์ นฤมล พฤษภาคม พฤกษชาิต มฤดก หฤทัย อมฤต หฤหรรษ์ <br />\n3. อ่านออกเสียง &quot;รอ&quot; มีน้อยคำ เช่น ฤกษ์ ฤกเษก<br />\n2. การใช้ ฤา (รือ) มีใช้ในคำไทยบ้างแต่น้อยมาก เช่น ฤาทัย ฤาษี ปัจจุบันพบแต่ในคำประพันธ์ เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์กลอน ส่วนมากใช้ ฤา เป็นรูปคำปฏิเสธ เช่น ฤาใคร่วายวาง ฤาพระจักละน้อง , สองเขือพี่หลับไหล ลืมตื่น ฤาพี่<br />\n3. การใช้ ฦ (ลึ) มีใช้ในภาษาไทยโบราณ เช่น น้ำฦก ฦ ปัจุบันเลิกใช้แล้ว<br />\n4. การใช้ ฦา (ลือ) มีใช้ในภาษาไทยโบราณ เช่น เลื่องฦา เ่ล่าฦา ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว<br />\nคู่มือ-เตรียมสอบบรรจุเข้ารับราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป<br />\nอาจารณ์สุทิศ เชื่อมาก<br />\nการใช้วรรณยุกต์ <br />\n1. การใช้วรรณยุกต์ มักจะมีการใช้วรรณยุกต์ผิดรูป เนื่องจากความไม่เข้าใจเรื่องการผันอักษร กล่าวคือ ไม่รู้ว่าอักษรใดผันได้กี่เสียง มีรูปวรรณยุกต์ได้กี่รูปอะไรบ้าง หลักการผันอักษรมีดังต่อไปนี้คือ <br />\n1. อักษรกลาง (ก จ ฎ ด ต บ ป อ) คำเป็น ใช้วรรณยุกต์ได้ 4 รูป (ผันได้ 5 เสียง) เช่น กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า เกง เก่ง เก้ง เก๊ง เก๋ง <br />\n2. อักษรกลาง คำตายใช้วรรณยุกต์ได้ 3 รูป (ผันได้ 4 เสียง)เช่น กะ ก้ะ ก๊ะ ก๋ะ จะ จ้ะ จ๊ะ จ๋ะ <br />\n3. อักษรสูง คำตาย (ข ซ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห) คำเป็นใช้วรรณยุกต์ได้ 2 รูป (ผันได้ 3 เสียง) เช่น ขา ข่า ข้า เสือ เสื่อ เสื้อ <br />\n4. อักษรสูง คำตาย ใช้วรรณยุกต์ ได้รูปเดียว (ผันได้ 2 เสียง) เช่น ขะ ข้ะ เผียะ เผ้ียะ <br />\n5. อักษรต่ำ (ค ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ) คำเป็นใช้วรรณยุกต์ได้ 2 รูป (ผันได้ 3 เสียง) แต่รูปจัตวามักไม่ค่อยใช้ เช่น คะ ค่ะ ค๋ะ โนต โน้ต โน๋ต<br />\n2. คำที่มักเขียนผิด โดยการใช้วรรณยุกต์ผิดรูป<br />\n• คำถูก โกลก คะ โค้ต เชิ้ต ดันล้อป แท็กซี่ นะ โน๊ต ปรู๊ฟ แฟ้บ เสียงดังเพียะ ไวท้อป อายิโนะโมะโต๊ะ<br />\n• คำผิด โกล๊ก ค๊ะ โค๊ต เชิ๊ต ดันล๊อป แท๊กซี่ น๊ะ โน๊ต ปรู้ฟ แฟ๊บ เสียงดังเพี๋ยะ ไวท๊อป อายิโน๊ะโม๊ะโต๊ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715750760, expire = 1715837160, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ef262b59fd5ba5268beb5f1979bb8f7d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักการใช้ ฤ ฤา ฦ ฦา

หลักการใช้ ฤ ฤา ฦ ฦา
1. การใช้ ฤ (รึ) ใช้กับคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต มีหลักการอ่านดังนี้
1. อ่านออกเสียง "ริ" เมื่อผสมกับ พยัญชนะ ก ต ท ป ศ ส เช่น กฤษฎีกา กฤษณา ตฤณมัย ทฤษฎี ปฤษฎางค์ ปฤจฉา ศฤงคาร ฤทธิ วิกฤติกาล รังสฤษภ์ อังกฤษ อมฤต
2. อ่านออกเสียง "รึ" เมื่อผสมกับพยัญชนะ ด น พ ม ห เช่น คฤหัสถ์ คฤหาสน์ นฤมล พฤษภาคม พฤกษชาิต มฤดก หฤทัย อมฤต หฤหรรษ์
3. อ่านออกเสียง "รอ" มีน้อยคำ เช่น ฤกษ์ ฤกเษก
2. การใช้ ฤา (รือ) มีใช้ในคำไทยบ้างแต่น้อยมาก เช่น ฤาทัย ฤาษี ปัจจุบันพบแต่ในคำประพันธ์ เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์กลอน ส่วนมากใช้ ฤา เป็นรูปคำปฏิเสธ เช่น ฤาใคร่วายวาง ฤาพระจักละน้อง , สองเขือพี่หลับไหล ลืมตื่น ฤาพี่
3. การใช้ ฦ (ลึ) มีใช้ในภาษาไทยโบราณ เช่น น้ำฦก ฦ ปัจุบันเลิกใช้แล้ว
4. การใช้ ฦา (ลือ) มีใช้ในภาษาไทยโบราณ เช่น เลื่องฦา เ่ล่าฦา ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว
คู่มือ-เตรียมสอบบรรจุเข้ารับราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
อาจารณ์สุทิศ เชื่อมาก
การใช้วรรณยุกต์
1. การใช้วรรณยุกต์ มักจะมีการใช้วรรณยุกต์ผิดรูป เนื่องจากความไม่เข้าใจเรื่องการผันอักษร กล่าวคือ ไม่รู้ว่าอักษรใดผันได้กี่เสียง มีรูปวรรณยุกต์ได้กี่รูปอะไรบ้าง หลักการผันอักษรมีดังต่อไปนี้คือ
1. อักษรกลาง (ก จ ฎ ด ต บ ป อ) คำเป็น ใช้วรรณยุกต์ได้ 4 รูป (ผันได้ 5 เสียง) เช่น กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า เกง เก่ง เก้ง เก๊ง เก๋ง
2. อักษรกลาง คำตายใช้วรรณยุกต์ได้ 3 รูป (ผันได้ 4 เสียง)เช่น กะ ก้ะ ก๊ะ ก๋ะ จะ จ้ะ จ๊ะ จ๋ะ
3. อักษรสูง คำตาย (ข ซ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห) คำเป็นใช้วรรณยุกต์ได้ 2 รูป (ผันได้ 3 เสียง) เช่น ขา ข่า ข้า เสือ เสื่อ เสื้อ
4. อักษรสูง คำตาย ใช้วรรณยุกต์ ได้รูปเดียว (ผันได้ 2 เสียง) เช่น ขะ ข้ะ เผียะ เผ้ียะ
5. อักษรต่ำ (ค ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ) คำเป็นใช้วรรณยุกต์ได้ 2 รูป (ผันได้ 3 เสียง) แต่รูปจัตวามักไม่ค่อยใช้ เช่น คะ ค่ะ ค๋ะ โนต โน้ต โน๋ต
2. คำที่มักเขียนผิด โดยการใช้วรรณยุกต์ผิดรูป
• คำถูก โกลก คะ โค้ต เชิ้ต ดันล้อป แท็กซี่ นะ โน๊ต ปรู๊ฟ แฟ้บ เสียงดังเพียะ ไวท้อป อายิโนะโมะโต๊ะ
• คำผิด โกล๊ก ค๊ะ โค๊ต เชิ๊ต ดันล๊อป แท๊กซี่ น๊ะ โน๊ต ปรู้ฟ แฟ๊บ เสียงดังเพี๋ยะ ไวท๊อป อายิโน๊ะโม๊ะโต๊ะ

 

 

สร้างโดย: 
ครูยุวดี เปาอินทร์ นางสาวอรนุช ชำนาญจิต

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 303 คน กำลังออนไลน์