• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ed118b07dd9e6af4c659867a5880688b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #800080\">หลักการเขียนคำที่มี ศ ษ ส จะใช้ตัวใดมีหลัก สังเกต ดังนี้ <br />\n-  คำไทยใช้ ส เป็นพยัญชนะต้น <br />\n-  คำที่มาจากภาษบาลี ใช้แต่ ส เท่านั้น <br />\n-  คำที่มาจากภาสันสกฤต ใช้ทั้ง ศ ษ ส ดังนี้ <br />\n ใช้ ศ นำหน้าพยัญชนะวรรคจะ (จ ฉ ช ฌ ญ ) <br />\nใช้ ษ นำหน้าพยัญชนะวรรคฏะ ( ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ) <br />\nใช้ ส นำหน้าพยัญชนะวรรคตะ ( ด ต ถ ท ธ น) <br />\n-  คำที่มาจากภาอื่น ส่วนมากจะใช้ ส <br />\n      </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">หลักการเขียนคำที่มี น ณ มีหลักสังเกต ดังนี้ <br />\n-  คำไทยใช้ น เช่น นอน กิน วัน <br />\n-  คำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ใช้ทั้ง ฯ และ ณ ตามหลักสังเกต ดังนี้ <br />\nใช้ ณ เป็นตัวสะกดเมื่อมี ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ตามมา <br />\nใช้ น เป็นตัวสะกดเมื่อมี ด ต ถ ท ธ น ตาม <br />\nใช้ ณ ตามหลัง ร ฤ ษ <br />\nการเขียนคำโดยใช้ ศ ษ ส  <br />\nพยัญชนะ ศ ษ ส มีใช้ในภาษาไทยทั้ง สาม รูป แต่ที่ใช้เขียนคำไทยและคำภาษาบาลีมีเพียง 1 รูป คือ ส<br />\nส่วนในสันสกฤตมีทั้ง 3 รูป การเขียนคำให้ถูกต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์ ดังนี้<br />\n6.1. คำไทยทั่วๆ ไปใช้ ส เช่น<br />\n    สอง      สิบล       แสน<br />\n    สด      สับ      สอด <br />\n    เสือ      แสน      เสีย<br />\n    มีคำไทยบางคำที่ใช้ ศ และ ษ เช่น<br />\n    ศอ         เศิก          สึก<br />\n    ศอก      เศร้า      ฝรั่งเศส<br />\n    อังกฤษ      กระดาษ      ฝีดาษ      ดาษดา<br />\n6.2. คำที่มาจากภาษาบาลีใช้ ส ทุกคำ  เนื่องจากในภาษาบาลีไม่มี  ศ ษ เช่น<br />\n    สกนต์      สงสาร      สัณฑ์<br />\n    สติ      สนทนา      สภาพ<br />\n    สมถะ      สมโภช      สมัญญา<br />\n    สมิทธิ      สามี      สังขาร<br />\n    สัมภเวสี      สัมมา      สาโลหิต<br />\nสิงคาร      สินิทธิ์      สิริ<br />\n6.3. ใช้  ศ  ษ  ส  เขียนคำที่มาจากภาษาสันสกฤตซึ่งใช้ในคำทั่วๆไปและคำที่ใช้มีข้อกำหนดเฉพาะ<br />\n    6.3.1 คำทั่วๆไป<br />\n        คำที่ใช้ ศ เช่น<br />\n        กุศล      เชือกบาศก์      ประกาศ<br />\n        ประศาสน์      ศนิ      ศยามล<br />\n        ศัพท์      ศรัทธา      ศฤงคาร<br />\n        ศุภมัสดุ      ศักราช      ศึกษานิเทศก์<br />\n        โศกศัลย์       อากาศ     อาศรม<br />\n    คำที่ใช้ ษ เช่น<br />\n        เกษตร      กษัตริย์      กษาปณ์<br />\n        โฆษก      จักษุ       ชันษา<br />\n        ชีพิตักษัย      นิษาท      บุษบก<br />\n        ปักษี      กักษา      ฤาษี<br />\n    คำที่ใช้ ส<br />\n        มนัส      พาสน์      สรรพ<br />\n        สรรเพชญ      สกนธ์      สังเกต<br />\n        สงกรานต์      สวามี      สัตย์<br />\n        สัทศาสตร์      สัมฤทธิ์      สามานย์<br />\n        สาวิตรี      สุภาษิต      เสน่ห์<br />\n    6.3.2 คำที่มีข้อกำหนดเฉพาะ <br />\n        6.3.2.1. ใช้ ศ นำหน้าพยัญชนะวรรค จะ คือนำหน้า จ ฉ ช ณ ญ เนื่องจาก ศ<br />\n            เป็นเศษวรรคของพยัญชนะนี้คืออนุโลมว่ามีฐานที่เกิดเดียวกัน เช่น<br />\n            ปรัศจิม      พฤศจิกายน<br />\nอัศจรรย์      อัศเจรีย์<br />\n        6.3.2.2. ใช้ ษ นำหน้า พยัญชนะวรรคฎะ   คือนำหน้า ฎ  ฐ  ฑ  ผ  ณ <br />\n            เนื่องจากเป็นเศษวรรคของพยัญชนะวรรคนี้คืออนุโลมว่ามีฐานที่เกิดเดียวกัน  เช่น<br />\n            กฤษณา       กฤษฎีกา       ขนิษฐา<br />\n            เชษฐา      ทฤษฎี       ปฟษฏางค์<br />\n            ประดิษฐ์       ประดิษฐาน      ไปรษณีย์<br />\n            ราษฎร       อุกฤษฎ์      อุษณีย์<br />\n        6.3.2.3. ใช้ ส นำหน้าพยัญชนะวรรคตะ  คือนำหน้า ต  ถ  ท  ธ  น  เนื่องจาก  ส <br />\n            เป็นเศษวรรคของพยัญชนะนี้คืออะนุโลมว่ามีฐานที่เกิดเดียวกัน  เช่น<br />\n            พัสดุ      พิสดาร      ภัสดา<br />\n            พัสตรา      สดมภ์      สดุดี<br />\n            สตรี      สตางค์      สถล<br />\n            สถาน      สถานี      สถาบก<br />\n            สถาบัน      สถาปนิก      สถิติ<br />\n            สนเทศ      สนธยา      อัสดง<br />\n        6.3.2.4. คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  ยกเว้นภาษาบาลีสันสกฤตที่ถ่ายเสียงมาจาก  s  ส่วนใหญ่  ส <br />\n            แต่มีบางคำที่ถ่ายเสี่ยงมาจาก  c  ใช้ ศ ตัวอย่าง<br />\n            ภาษาเขมร  -     เสด็จ      สมเด็จ      สำรวจ<br />\n                                สำเร็จ      สำคัญ      เสวย<br />\n                                  สลา      ผสาน      สำราญ<br />\n            ภาษาอังกฤษ – แก๊ส        คอมมิวนิสต์<br />\n                               ซุโครส      เซลลูโลส<br />\n                                เซลเซียส   โบนัส<br />\n                                สตัฟฟ์    สตู<br />\n                                สปริง    สัมมนา<br />\n                                เสริร์ฟ    แสตมป์<br />\n           คำที่ใช้  ศ  เช่น<br />\n                       ศิวิไลซ์    ไอศกรีม    ออฟฟิศ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">                                                                                                       <a href=\"/node/86281\"><img height=\"109\" width=\"159\" src=\"/files/u40670/hnhn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 130px; height: 78px\" /></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #800080\">  </span>\n</p>\n', created = 1715750221, expire = 1715836621, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ed118b07dd9e6af4c659867a5880688b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักการเขียนคำที่มี ศ ษ ส

หลักการเขียนคำที่มี ศ ษ ส จะใช้ตัวใดมีหลัก สังเกต ดังนี้
-  คำไทยใช้ ส เป็นพยัญชนะต้น
-  คำที่มาจากภาษบาลี ใช้แต่ ส เท่านั้น
-  คำที่มาจากภาสันสกฤต ใช้ทั้ง ศ ษ ส ดังนี้
 ใช้ ศ นำหน้าพยัญชนะวรรคจะ (จ ฉ ช ฌ ญ )
ใช้ ษ นำหน้าพยัญชนะวรรคฏะ ( ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ)
ใช้ ส นำหน้าพยัญชนะวรรคตะ ( ด ต ถ ท ธ น)
-  คำที่มาจากภาอื่น ส่วนมากจะใช้ ส
     

หลักการเขียนคำที่มี น ณ มีหลักสังเกต ดังนี้
-  คำไทยใช้ น เช่น นอน กิน วัน
-  คำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ใช้ทั้ง ฯ และ ณ ตามหลักสังเกต ดังนี้
ใช้ ณ เป็นตัวสะกดเมื่อมี ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ตามมา
ใช้ น เป็นตัวสะกดเมื่อมี ด ต ถ ท ธ น ตาม
ใช้ ณ ตามหลัง ร ฤ ษ
การเขียนคำโดยใช้ ศ ษ ส 
พยัญชนะ ศ ษ ส มีใช้ในภาษาไทยทั้ง สาม รูป แต่ที่ใช้เขียนคำไทยและคำภาษาบาลีมีเพียง 1 รูป คือ ส
ส่วนในสันสกฤตมีทั้ง 3 รูป การเขียนคำให้ถูกต้องพิจารณาตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
6.1. คำไทยทั่วๆ ไปใช้ ส เช่น
    สอง      สิบล       แสน
    สด      สับ      สอด
    เสือ      แสน      เสีย
    มีคำไทยบางคำที่ใช้ ศ และ ษ เช่น
    ศอ         เศิก          สึก
    ศอก      เศร้า      ฝรั่งเศส
    อังกฤษ      กระดาษ      ฝีดาษ      ดาษดา
6.2. คำที่มาจากภาษาบาลีใช้ ส ทุกคำ  เนื่องจากในภาษาบาลีไม่มี  ศ ษ เช่น
    สกนต์      สงสาร      สัณฑ์
    สติ      สนทนา      สภาพ
    สมถะ      สมโภช      สมัญญา
    สมิทธิ      สามี      สังขาร
    สัมภเวสี      สัมมา      สาโลหิต
สิงคาร      สินิทธิ์      สิริ
6.3. ใช้  ศ  ษ  ส  เขียนคำที่มาจากภาษาสันสกฤตซึ่งใช้ในคำทั่วๆไปและคำที่ใช้มีข้อกำหนดเฉพาะ
    6.3.1 คำทั่วๆไป
        คำที่ใช้ ศ เช่น
        กุศล      เชือกบาศก์      ประกาศ
        ประศาสน์      ศนิ      ศยามล
        ศัพท์      ศรัทธา      ศฤงคาร
        ศุภมัสดุ      ศักราช      ศึกษานิเทศก์
        โศกศัลย์       อากาศ     อาศรม
    คำที่ใช้ ษ เช่น
        เกษตร      กษัตริย์      กษาปณ์
        โฆษก      จักษุ       ชันษา
        ชีพิตักษัย      นิษาท      บุษบก
        ปักษี      กักษา      ฤาษี
    คำที่ใช้ ส
        มนัส      พาสน์      สรรพ
        สรรเพชญ      สกนธ์      สังเกต
        สงกรานต์      สวามี      สัตย์
        สัทศาสตร์      สัมฤทธิ์      สามานย์
        สาวิตรี      สุภาษิต      เสน่ห์
    6.3.2 คำที่มีข้อกำหนดเฉพาะ
        6.3.2.1. ใช้ ศ นำหน้าพยัญชนะวรรค จะ คือนำหน้า จ ฉ ช ณ ญ เนื่องจาก ศ
            เป็นเศษวรรคของพยัญชนะนี้คืออนุโลมว่ามีฐานที่เกิดเดียวกัน เช่น
            ปรัศจิม      พฤศจิกายน
อัศจรรย์      อัศเจรีย์
        6.3.2.2. ใช้ ษ นำหน้า พยัญชนะวรรคฎะ   คือนำหน้า ฎ  ฐ  ฑ  ผ  ณ
            เนื่องจากเป็นเศษวรรคของพยัญชนะวรรคนี้คืออนุโลมว่ามีฐานที่เกิดเดียวกัน  เช่น
            กฤษณา       กฤษฎีกา       ขนิษฐา
            เชษฐา      ทฤษฎี       ปฟษฏางค์
            ประดิษฐ์       ประดิษฐาน      ไปรษณีย์
            ราษฎร       อุกฤษฎ์      อุษณีย์
        6.3.2.3. ใช้ ส นำหน้าพยัญชนะวรรคตะ  คือนำหน้า ต  ถ  ท  ธ  น  เนื่องจาก  ส
            เป็นเศษวรรคของพยัญชนะนี้คืออะนุโลมว่ามีฐานที่เกิดเดียวกัน  เช่น
            พัสดุ      พิสดาร      ภัสดา
            พัสตรา      สดมภ์      สดุดี
            สตรี      สตางค์      สถล
            สถาน      สถานี      สถาบก
            สถาบัน      สถาปนิก      สถิติ
            สนเทศ      สนธยา      อัสดง
        6.3.2.4. คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  ยกเว้นภาษาบาลีสันสกฤตที่ถ่ายเสียงมาจาก  s  ส่วนใหญ่  ส
            แต่มีบางคำที่ถ่ายเสี่ยงมาจาก  c  ใช้ ศ ตัวอย่าง
            ภาษาเขมร  -     เสด็จ      สมเด็จ      สำรวจ
                                สำเร็จ      สำคัญ      เสวย
                                  สลา      ผสาน      สำราญ
            ภาษาอังกฤษ – แก๊ส        คอมมิวนิสต์
                               ซุโครส      เซลลูโลส
                                เซลเซียส   โบนัส
                                สตัฟฟ์    สตู
                                สปริง    สัมมนา
                                เสริร์ฟ    แสตมป์
           คำที่ใช้  ศ  เช่น
                       ศิวิไลซ์    ไอศกรีม    ออฟฟิศ

                                                                                                      


 

สร้างโดย: 
ครูยุวดี เปาอินทร์ นางสาวอรนุช ชำนาญจิต

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 328 คน กำลังออนไลน์