• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a1f153c0f1db443043f1ec8600a5374b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #800080\">หลักการใช้ สระ อำ อัม อำม และอรรม <br />\nโดยมีหลักการออกเสียงและสังเกต ดังนี้ <br />\n๑. คำไทยและคำที่มาจากภาษาตะวันออก  ยกเว้นคำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต พยางค์ที่ออกเสียง อำ เช่น <br />\nขำ นำ ยำ กำเนิด <br />\n๒. คำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต <br />\n- ใช้ อัม เมื่อตามด้วย ปะ ( ป ผ พ ภ ม ) <br />\n- ใช้อาม เมื่อแผลงมาจากสระอะ มี ม ตาม <br />\n- ใช้ – รรม เมื่อแผลงจาก – รม ในภาษาสันสกฤต </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">หลัการใช้ไม้ไต่คู้  มีหลักสังเกต ดังนี้ <br />\n-  ใช้ในคำว่า ก็ <br />\n-  ใช้ในภาษาที่มีสระประสม เอะ แอะ เอาะ เมื่อมีตัวสะกด <br />\nหลักการใช้สระ อำ อัม อำม <br />\n1 สระอำ มีวิธีใช้ดังนี้<br />\n1. ใช้กับคำไทยแท้ที่ออกเสียง &quot;อำ&quot; โดยทั่วไป เช่น จำ คำ นำ อำ ดำ ขำ รำ กำ งำ ฯลฯ <br />\n2. ใช้คับคำที่แผลงมาจากบาลีสันกฤตและเขมร เช่น เกิด เป็น กำเนิด, คูณ เป็น คำนวณ, ตรวจ เป็น ตำรวจ, ระวิ เป็น รำไพ, ปราบ เป็น บำราบ, เจียร เป็น จำเนียร, ชาญ เป็น ชำนาญ, อมาตย์ เป็น อำมาตย์, ตรัส เป็น ดำรัส, อมฤต เป็น อำมฤต , อมหิต เป็น อำมหิต ฯลฯ <br />\n3. ใช้เขียนภาษาอื่นๆ นอกจากภาษาบาลี-สันสกฤต และ เขมร หรือภาษาตระกูลยุโรปที่ออกเสียง &quot;อำ&quot; เช่น กำปั่น กำแหง กำยาน กำมะหยี่ ตำมะหงง สำเภา อำพัน รำมะนา ไหหลำ กำมะลอ สำปั้น ฯลฯ<br />\n2. สระ อัม มีวิธีใช้ดังนี้<br />\n1. ใช้เขียนคำที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ซึ่งออกเสียง อะ มีตัว &quot;ม&quot; สะกด เช่น คัมภีร์ มาจาก คมฺภิร, อัมพร มาจาก อมฺพร, สัมผัส มาจาก สมฺผสส, สัมพันธ์ มาจาก สมฺพนฺธ, อัมพาต เป็น อมุพาต ฯลฯ <br />\n2. ใช้กับคำที่เกิดจากคำนฤคหิต สนธิกับพยัญชนะ ในวรรค ป (ป ผ พ ภ ม) เช่น สํ + ปทา เป็น สัมปทา, สํ+ภาร เป็น สัมภาระ, สํ+ภาษณ เป็น สัมภาษณ์, สํ+มนา เป็น สัมมนา ฯลฯ<br />\n3. สระ อำม มีวิธีการใช้ดังนี้<br />\n• ใช้เขียนคำแผลงจากภาษาบาลี สันสกฤต ซึ่งมีเสียงสระ &quot;อะ&quot; และมี ม ตาม คือจากคำ &quot;อม&quot; แผลง อะ เป็น อำ จึงกลายเป็น &quot;อำม&quot; เช่น กมลาสน เป็น กำมลาสน์, อมร เป็น อำมร, อมาตย์ เป็น อำมาตย์, อมรินทร์ เป็น อำมรินทร์, อมหิต เป็น อำมหิต, อมฤต เป็น อำมฤต ฯลฯ<br />\nคู่มือ-เตรียมสอบบรรจุเข้ารับราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป<br />\nอาจารณ์สุทิศ เชื่อมาก <br />\nหลักการใช้ รร (รอหัน) <br />\nรร มีหลักการใช้ดังนี้ คือ<br />\n1. ใช้กับคำที่แผลงมาจาก ร (รอ เรผะ ในภาษาสันสกฤต) เช่น กรฺม - กรรม, ขรฺค - ขรรค์, ธรฺม - ธรรม, ปฺรวต - บรรพต, ภรฺตา - ภรรดา, บารฺค - มรรคา, สรฺจ - สรรพ, สวรฺค - สวรรค์ <br />\n2. ใช้กับคำไทยที่แผลงมาจากคำอื่นๆ<br />\n• แผลงมาจาก &quot;กระ&quot; เช่น กระเจียก - กรรเจียก, กระเช้า - กรรเช้า/กระเชียง - กรรเชียง/กระโชก - กรรโชก, กระแซง - กรรแซง, กระพุ่ม - กรรพุ่ม <br />\n• แผลงมาจาก ค ควบ ล หรือ &quot;คละ&quot; เช่น คลอง - ครรลอง, ไคล - ครรไล <br />\n• แผลงมาจาก ประ เช่น ประกวด - บันกวด, ประจุ - บรรจุ, ประจง - บรรจง, ประจบ - บรรจบ, ประจวบ - บรรจวบ, ประเจิด - บรรเจิด, ประดา - บรรดา, ประทัด - บรรทัด, ประทุก - บรรทุก, ประลัย - บรรลัย, ประลุ - บรรลุ, ประสาน - บรรสาน <br />\n• แผลงมาจาก บริ ปริ เช่น ปริยาย - บรรยาย, บริษัท - บรรษัท, ปริหาร - บรรหาร <br />\n• แผลงมาจากคำพยางค์หน้าที่ออกเสียง &quot;อะ&quot; เช่น จะลุง - จรรลุง, ปราย - บรรยาย, เผอิญ - พรรเอิญ, สรเสริญ - สรรเสริญ <br />\nคู่มือ-เตรียมสอบบรรจุเข้ารับราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป<br />\nอาจารณ์สุทิศ เชื่อมาก<br />\nหลักการใช้ บรร - บัน <br />\nการใช้ &quot;บัน&quot; และ &quot;บรร&quot; มักใช้ผิดและสับสน มีหลักสังเกตอยู่ว่า คำใดเป็นคำแผลง ก็ให้ใช้ &quot;บรร&quot; แต่ถ้าไม่ใช่เป็นคำแผลงให้ใช้ &quot;บัน&quot; เช่น<br />\n• คำที่ใช้ &quot;บรร&quot; บรรจบ บรรจวบ บรรจุ บรรเจิด บรรณาการ บรรณาคม บรรณาธิการ บรรทุก บรรเทา บรรพบุรุษ บรรพชา บรรพชิต บรรพต บรรยง (ทำให้งาน, ทำให้ดี บรรยงค์(ที่นั่ง) บรรยเวกษก์ บรรยาย บรรลัย บรรลุ บรรเลง บรรษัท บรรหาร <br />\n• คำที่ใช้ &quot;บัน&quot; บันกวด บันจวบ บันจอย บันดาล บันดล บันโดย บันได บันทึก บันทึง บันเทิง บันลือ บันเหิน หรือ บันดาลลงบันได บันทึกให้ดูจงดี รื่นเริงบันเทิงมี เสียงบันลือสนั่นดัง <br />\n3. การเขียนคำที่ออกเสียง อำ  <br />\nคำในภาษาไทยที่ออกเสียง อำ มีวิธีเขียน 2 แบบ ใช้ อำ  และใช้ อัม ซึ่งกำหนดไว้ดังนี้<br />\n3.1. การเขียนโดยใช้ อำ<br />\n3.1.1 คำไทยที่ออกกเสียง อำ ใช้ อำ เช่น<br />\nกำ      ขำ     คำ      ค้ำ<br />\nคว่ำ      จำ      ชำ      ดำ<br />\nต่ำ      ทำ     ย่ำ      รำ<br />\nร่ำ      ลำ      ล้ำ      ลำนำ<br />\n3.1.2 คำแผลงที่พยางค์หน้าออกเสียง อำ ใช้ อำ เช่น<br />\nขจร      แผลงเป็น     กำจก<br />\nจ่าย      แผลงเป็น        จำหน่าย <br />\nช่วย       แผลงเป็น        ชำร่วย<br />\nตรวจ      แผลงเป็น        ตำรวจ<br />\nตฤษณา      แผลงเป็น        คำฤษณา<br />\nเถกิง       แผลงเป็น        ดำเกิง<br />\nปราศ      แผลงเป็น        บำราศ<br />\nรวิ      แผลงเป็น        รำไพ<br />\nสราญ      แผลงเป็น        สำราญ<br />\nเสียง      แผลงเป็น        สำเนียง<br />\n3.1.3 คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  ยกเว้นภาษาอังกฤษ เช่น<br />\nกำปั่น               กำมะถัน      กำมะหยี่<br />\nกำยาน               กำลูน           ฉนำ<br />\nตำมะหงง               บำเหน็จ      บำเพ็ญ<br />\nสำปะหลัง               สำปันนี      ไหหลำ<br />\nระกำ               อำเภอ<br />\n3.1.4  คำภาษาบาลีสันสกฤตซึ่งออกเสียง อะ ที่พยางค์หน้า  และมี ม ตาม เมื่อเปลี่ยนเสียง อะ เป็นอำ ใช้ อำ<br />\nเช่น<br />\nกมลาศน์         แผลงเป็น              กำมลาศน์<br />\nอมาตย์             แผลงเป็น        อำมาตย์<br />\nอมรินทร์             แผลงเป็น        อำมรินทร์<br />\nอมร             แผลงเป็น        อำมร<br />\nอมฤต             แผลงเป็น        อำมฤต<br />\nอมหิต             แผลงเป็น        อำมหิต<br />\n3.2. การเขียนโดยใช้รูป -ม <br />\n3.2.1 คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตซึ่งคำเดิมออกเสียง อะ และมี ม สะกด หรือพยัยชนะวรรค ปะ ตามหลัง<br />\nคำเดิม        คำในภาษาไทย<br />\nกมพล          กัมพล<br />\nกมปนาท          กัมปนาท<br />\nคมภีร          คัมภีร์<br />\nปกีรณม          ปกีรณัม<br />\nสมผสส          สัมผัส<br />\nสมพรธ          สัมพันธ์<br />\nสมภาษณ        สัมภาษณ์<br />\nสมฤทธิ          สัมฤทธิ์<br />\nสมปทาน          สัมปทาน<br />\nอมพวน          อัมพวัน<br />\nอุปถมภ          อุปถัมภ์<br />\n3.2.2 คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคำที่มาจากภาษาตะวันตก ได้แก่ ภาษาอังกฤษ  ฝรั่งเศส โปรตุเกส  ที่ถ่ายเสียงมาจาก –am เช่น<br />\nกรัม         กัมมันตรังสี<br />\nคอลัมน์          ทรัมเป็ต<br />\nปั๊ม          นัมเบอร์<br />\nดัมมี่          มัมมี่<br />\nสลัม          สัมบูรณ์<br />\nสัมมนา          อัสสัม<br />\nนอกจากนี้มีภาษาเขมร เช่น กัมพุช  กัมพูชา  เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n                                                                                                              <a href=\"/node/86281\"><img height=\"109\" width=\"159\" src=\"/files/u40670/hnhn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 136px; height: 81px\" /></a><br />\n<span style=\"color: #800080\">  </span>\n</p>\n', created = 1714403134, expire = 1714489534, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a1f153c0f1db443043f1ec8600a5374b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักการใช้ สระ อำ อัม อำม และอรรม

หลักการใช้ สระ อำ อัม อำม และอรรม
โดยมีหลักการออกเสียงและสังเกต ดังนี้
๑. คำไทยและคำที่มาจากภาษาตะวันออก  ยกเว้นคำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต พยางค์ที่ออกเสียง อำ เช่น
ขำ นำ ยำ กำเนิด
๒. คำที่มาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต
- ใช้ อัม เมื่อตามด้วย ปะ ( ป ผ พ ภ ม )
- ใช้อาม เมื่อแผลงมาจากสระอะ มี ม ตาม
- ใช้ – รรม เมื่อแผลงจาก – รม ในภาษาสันสกฤต

หลัการใช้ไม้ไต่คู้  มีหลักสังเกต ดังนี้
-  ใช้ในคำว่า ก็
-  ใช้ในภาษาที่มีสระประสม เอะ แอะ เอาะ เมื่อมีตัวสะกด
หลักการใช้สระ อำ อัม อำม
1 สระอำ มีวิธีใช้ดังนี้
1. ใช้กับคำไทยแท้ที่ออกเสียง "อำ" โดยทั่วไป เช่น จำ คำ นำ อำ ดำ ขำ รำ กำ งำ ฯลฯ
2. ใช้คับคำที่แผลงมาจากบาลีสันกฤตและเขมร เช่น เกิด เป็น กำเนิด, คูณ เป็น คำนวณ, ตรวจ เป็น ตำรวจ, ระวิ เป็น รำไพ, ปราบ เป็น บำราบ, เจียร เป็น จำเนียร, ชาญ เป็น ชำนาญ, อมาตย์ เป็น อำมาตย์, ตรัส เป็น ดำรัส, อมฤต เป็น อำมฤต , อมหิต เป็น อำมหิต ฯลฯ
3. ใช้เขียนภาษาอื่นๆ นอกจากภาษาบาลี-สันสกฤต และ เขมร หรือภาษาตระกูลยุโรปที่ออกเสียง "อำ" เช่น กำปั่น กำแหง กำยาน กำมะหยี่ ตำมะหงง สำเภา อำพัน รำมะนา ไหหลำ กำมะลอ สำปั้น ฯลฯ
2. สระ อัม มีวิธีใช้ดังนี้
1. ใช้เขียนคำที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ซึ่งออกเสียง อะ มีตัว "ม" สะกด เช่น คัมภีร์ มาจาก คมฺภิร, อัมพร มาจาก อมฺพร, สัมผัส มาจาก สมฺผสส, สัมพันธ์ มาจาก สมฺพนฺธ, อัมพาต เป็น อมุพาต ฯลฯ
2. ใช้กับคำที่เกิดจากคำนฤคหิต สนธิกับพยัญชนะ ในวรรค ป (ป ผ พ ภ ม) เช่น สํ + ปทา เป็น สัมปทา, สํ+ภาร เป็น สัมภาระ, สํ+ภาษณ เป็น สัมภาษณ์, สํ+มนา เป็น สัมมนา ฯลฯ
3. สระ อำม มีวิธีการใช้ดังนี้
• ใช้เขียนคำแผลงจากภาษาบาลี สันสกฤต ซึ่งมีเสียงสระ "อะ" และมี ม ตาม คือจากคำ "อม" แผลง อะ เป็น อำ จึงกลายเป็น "อำม" เช่น กมลาสน เป็น กำมลาสน์, อมร เป็น อำมร, อมาตย์ เป็น อำมาตย์, อมรินทร์ เป็น อำมรินทร์, อมหิต เป็น อำมหิต, อมฤต เป็น อำมฤต ฯลฯ
คู่มือ-เตรียมสอบบรรจุเข้ารับราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
อาจารณ์สุทิศ เชื่อมาก
หลักการใช้ รร (รอหัน)
รร มีหลักการใช้ดังนี้ คือ
1. ใช้กับคำที่แผลงมาจาก ร (รอ เรผะ ในภาษาสันสกฤต) เช่น กรฺม - กรรม, ขรฺค - ขรรค์, ธรฺม - ธรรม, ปฺรวต - บรรพต, ภรฺตา - ภรรดา, บารฺค - มรรคา, สรฺจ - สรรพ, สวรฺค - สวรรค์
2. ใช้กับคำไทยที่แผลงมาจากคำอื่นๆ
• แผลงมาจาก "กระ" เช่น กระเจียก - กรรเจียก, กระเช้า - กรรเช้า/กระเชียง - กรรเชียง/กระโชก - กรรโชก, กระแซง - กรรแซง, กระพุ่ม - กรรพุ่ม
• แผลงมาจาก ค ควบ ล หรือ "คละ" เช่น คลอง - ครรลอง, ไคล - ครรไล
• แผลงมาจาก ประ เช่น ประกวด - บันกวด, ประจุ - บรรจุ, ประจง - บรรจง, ประจบ - บรรจบ, ประจวบ - บรรจวบ, ประเจิด - บรรเจิด, ประดา - บรรดา, ประทัด - บรรทัด, ประทุก - บรรทุก, ประลัย - บรรลัย, ประลุ - บรรลุ, ประสาน - บรรสาน
• แผลงมาจาก บริ ปริ เช่น ปริยาย - บรรยาย, บริษัท - บรรษัท, ปริหาร - บรรหาร
• แผลงมาจากคำพยางค์หน้าที่ออกเสียง "อะ" เช่น จะลุง - จรรลุง, ปราย - บรรยาย, เผอิญ - พรรเอิญ, สรเสริญ - สรรเสริญ
คู่มือ-เตรียมสอบบรรจุเข้ารับราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
อาจารณ์สุทิศ เชื่อมาก
หลักการใช้ บรร - บัน
การใช้ "บัน" และ "บรร" มักใช้ผิดและสับสน มีหลักสังเกตอยู่ว่า คำใดเป็นคำแผลง ก็ให้ใช้ "บรร" แต่ถ้าไม่ใช่เป็นคำแผลงให้ใช้ "บัน" เช่น
• คำที่ใช้ "บรร" บรรจบ บรรจวบ บรรจุ บรรเจิด บรรณาการ บรรณาคม บรรณาธิการ บรรทุก บรรเทา บรรพบุรุษ บรรพชา บรรพชิต บรรพต บรรยง (ทำให้งาน, ทำให้ดี บรรยงค์(ที่นั่ง) บรรยเวกษก์ บรรยาย บรรลัย บรรลุ บรรเลง บรรษัท บรรหาร
• คำที่ใช้ "บัน" บันกวด บันจวบ บันจอย บันดาล บันดล บันโดย บันได บันทึก บันทึง บันเทิง บันลือ บันเหิน หรือ บันดาลลงบันได บันทึกให้ดูจงดี รื่นเริงบันเทิงมี เสียงบันลือสนั่นดัง
3. การเขียนคำที่ออกเสียง อำ 
คำในภาษาไทยที่ออกเสียง อำ มีวิธีเขียน 2 แบบ ใช้ อำ  และใช้ อัม ซึ่งกำหนดไว้ดังนี้
3.1. การเขียนโดยใช้ อำ
3.1.1 คำไทยที่ออกกเสียง อำ ใช้ อำ เช่น
กำ      ขำ     คำ      ค้ำ
คว่ำ      จำ      ชำ      ดำ
ต่ำ      ทำ     ย่ำ      รำ
ร่ำ      ลำ      ล้ำ      ลำนำ
3.1.2 คำแผลงที่พยางค์หน้าออกเสียง อำ ใช้ อำ เช่น
ขจร      แผลงเป็น     กำจก
จ่าย      แผลงเป็น        จำหน่าย
ช่วย       แผลงเป็น        ชำร่วย
ตรวจ      แผลงเป็น        ตำรวจ
ตฤษณา      แผลงเป็น        คำฤษณา
เถกิง       แผลงเป็น        ดำเกิง
ปราศ      แผลงเป็น        บำราศ
รวิ      แผลงเป็น        รำไพ
สราญ      แผลงเป็น        สำราญ
เสียง      แผลงเป็น        สำเนียง
3.1.3 คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  ยกเว้นภาษาอังกฤษ เช่น
กำปั่น               กำมะถัน      กำมะหยี่
กำยาน               กำลูน           ฉนำ
ตำมะหงง               บำเหน็จ      บำเพ็ญ
สำปะหลัง               สำปันนี      ไหหลำ
ระกำ               อำเภอ
3.1.4  คำภาษาบาลีสันสกฤตซึ่งออกเสียง อะ ที่พยางค์หน้า  และมี ม ตาม เมื่อเปลี่ยนเสียง อะ เป็นอำ ใช้ อำ
เช่น
กมลาศน์         แผลงเป็น              กำมลาศน์
อมาตย์             แผลงเป็น        อำมาตย์
อมรินทร์             แผลงเป็น        อำมรินทร์
อมร             แผลงเป็น        อำมร
อมฤต             แผลงเป็น        อำมฤต
อมหิต             แผลงเป็น        อำมหิต
3.2. การเขียนโดยใช้รูป -ม
3.2.1 คำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตซึ่งคำเดิมออกเสียง อะ และมี ม สะกด หรือพยัยชนะวรรค ปะ ตามหลัง
คำเดิม        คำในภาษาไทย
กมพล          กัมพล
กมปนาท          กัมปนาท
คมภีร          คัมภีร์
ปกีรณม          ปกีรณัม
สมผสส          สัมผัส
สมพรธ          สัมพันธ์
สมภาษณ        สัมภาษณ์
สมฤทธิ          สัมฤทธิ์
สมปทาน          สัมปทาน
อมพวน          อัมพวัน
อุปถมภ          อุปถัมภ์
3.2.2 คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคำที่มาจากภาษาตะวันตก ได้แก่ ภาษาอังกฤษ  ฝรั่งเศส โปรตุเกส  ที่ถ่ายเสียงมาจาก –am เช่น
กรัม         กัมมันตรังสี
คอลัมน์          ทรัมเป็ต
ปั๊ม          นัมเบอร์
ดัมมี่          มัมมี่
สลัม          สัมบูรณ์
สัมมนา          อัสสัม
นอกจากนี้มีภาษาเขมร เช่น กัมพุช  กัมพูชา  เป็นต้น

                                                                                                             
 

สร้างโดย: 
ครูยุวดี เปาอินทร์ นางสาวอรนุช ชำนาญจิต

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 440 คน กำลังออนไลน์