• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e1e3d793f0917d56af61a7a5b4138b27' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"widows: 2; text-transform: none; text-indent: 0px; border-collapse: separate; font: medium Tahoma; white-space: normal; orphans: 2; letter-spacing: normal; color: #000000; word-spacing: 0px; -webkit-border-horizontal-spacing: 0px; -webkit-border-vertical-spacing: 0px; -webkit-text-decorations-in-effect: none; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; color: #2b3220; font-size: 12px\"></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; font-family: Calibri, sans-serif; font-size: 11pt\">\n<span class=\"style36\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\"></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; font-family: Calibri, sans-serif; font-size: 11pt\">\n<span class=\"style36\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\"></span></span><span class=\"style36\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"160\" width=\"411\" src=\"/files/u40601/b2.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p><span class=\"style36\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\"></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: 11.05pt; margin: 0in 0in 10pt\">\n<span style=\"color: black\"><a href=\"/node/81851\"><strong><img height=\"260\" width=\"443\" src=\"/files/u40601/121________________________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 169px; height: 79px\" /></strong></a><span style=\"color: #2b3220; font-size: x-small\">           </span><a href=\"/node/83859\"><span style=\"color: #2b3220; font-size: x-small\"><img height=\"259\" width=\"442\" src=\"/files/u40601/121____________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 187px; height: 78px\" /></span></a><span style=\"color: #2b3220; font-size: x-small\">          </span><a href=\"/node/83860\"><strong><span style=\"color: #2b3220; font-size: x-small\"><img height=\"260\" width=\"443\" src=\"/files/u40601/121_________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 174px; height: 81px\" /></span></strong></a><span style=\"color: #2b3220\"><strong><span style=\"font-size: x-small\"> </span></strong></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: 11.05pt; margin: 0in 0in 10pt\">\n<span style=\"color: black\"><span style=\"color: #2b3220\"><span style=\"font-size: x-small\">               <a href=\"/node/85985\"><img height=\"257\" width=\"440\" src=\"/files/u40601/1122.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 170px; height: 62px\" /></a>                   <a href=\"/node/85986\"><strong><img height=\"257\" width=\"440\" src=\"/files/u40601/1133.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 169px; height: 66px\" /></strong></a></span> </span></span>\n</p>\n<p><span class=\"style36\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 21px; font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 14pt\">มะเร็งต่อมลูกหมาก</span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 12pt\">  <span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">ปัจจุบันความก้าวหน้าทางการแพทย์เพื่อการเฝ้าระวัง<br />\nการตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัย การรักษาและการติดตามการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ได้พัฒนาและเจริญรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว<br />\nทำให้อายุขัยของประชากรยืนยาวขึ้น</span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"> <o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">ต่อมลูกหมาก<br />\nเป็นอวัยวะหนึ่งของระบบสืบพันธุ์เพศชายต่อลงมาจากกระเพาะปัสสาวะ<br />\nและล้อมรอบท่อปัสสาวะส่วนต้น<br />\nมีหน้าที่สำคัญในการผลิตน้ำเมือกและน้ำหล่อเลี้ยงตัวอสุจิ<br />\nเป็นส่วนหนึ่งของน้ำกามที่หลั่งออกมาตามปกติ แต่หากสภาพเซลล์ภายในของต่อมลูกหมาก<br />\nมีการแบ่งตัวมากขึ้นอย่างผิดปกติ เป็นสัญญาณว่าโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก<br />\nกำลังก่อตัวขึ้นโดยที่เราไม่อาจรับรู้ได้</span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">แม้ จะยังไม่มีใครทราบว่าสาเหตุแท้จริงของโรคเกิดขึ้นได้อย่างไร<br />\nแต่เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับอายุ และภาวะความไม่สมดุล ของระดับฮอร์โมนเพศชายในเลือด<br />\nเมื่ออายุมากขึ้น โดยฮอร์โมนเพศชายมักจะมีระดับลดลงในชายสูงอายุ<br />\nอีกทั้งการศึกษาพบว่า อาหารที่มีไขมันสูงอาจมีส่วนก่อให้เกิดมะเร็งต่อมลูกหมากได้ รวมถึงการถ่ายทอดทางพันธุกรรมอีกด้วย<br />\n</span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">ปัจจุบัน ยังไม่มีวิธีป้องกันการเกิดมะเร็งได้อย่างสมบูรณ์<br />\nโดยเฉพาะโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก แต่เราสามารถระวังติดตาม คอยตรวจอย่างสม่ำเสมอได้</span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">อีกวิธีการที่มักใช้ร่วมกันคือ<br />\nการเจาะเลือดเพื่อหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมากในเลือด นำมาวัดค่า ที่เรียกว่า<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">PSA (Prostate-specific antigen)<span class=\"Apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">ถ้าระดับ<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>PSA<br />\n<span lang=\"TH\">ใน เลือดมีค่ายิ่งสูง จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก<br />\nนอกจากนี้ ยังมีการตรวจอัลตราซาวนด์ของต่อมลูกหมากผ่านทางทวารหนัก<br />\nโดยการใช้เครื่องมือสอดเข้าทางทวารหนัก และการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมาก<br />\nที่แพทย์จะเป็นผู้วินิจฉัยรูปแบบการตรวจ</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">สำหรับผู้ชายที่มีอายุตั้งแต่<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">50<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>ปีขึ้นไป แม้จะไม่มีอาการผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ<br />\nก็ควรไปรับการตรวจต่อมลูกหมาก จากแพทย์ระบบทางเดินปัสสาวะ อย่างน้อยปีละครั้ง<br />\nทั้งนี้ อุบัติการณ์ของโรคจะพบมากขึ้น เมื่อผู้ป่วยมีอายุมากขึ้นเรื่อยๆ<br />\nโดยเฉพาะพบในชายไทยมีอายุตั้งแต่<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>40<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>ปีขึ้นไป</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">อาการของโรคแบ่งออกเป็น<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">4<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>ระยะ</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">เริ่มแรก<br />\nมะเร็งมีขนาดเล็กอยู่ในต่อมลูกหมาก มักไม่ก่อให้เกิดอาการใดๆ<br />\nการตรวจทางทวารหนักมักไม่ค่อยพบ</span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">ระยะที่<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">2<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>มะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้นแต่ยังอยู่ในต่อมลูกหมาก<br />\nมีการกดเบียดท่อปัสสาวะส่วนต้น ทำให้เกิดการอุดตันของท่อทางเดินปัสสาวะ ระยะนี้ผู้ป่วยจะมีอาการปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ<br />\nสามารถคลำพบโดยการตรวจทางทวารหนัก</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">ระยะที่<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">3<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>มะเร็งขยายตัว<br />\nจนอุดกั้นท่อปัสสาวะและกระจายออกนอกต่อม อาการปัสสาวะลำบากมากขึ้นต้องเบ่ง<br />\nปัสสาวะไม่ออก อาจมีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและอาจมีปัสสาวะเป็นเลือด<br />\nนอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจมีอาการเจ็บปวด เมื่อมีการหลั่งน้ำอสุจิ<br />\nคลำพบโดยตรวจทางทวารหนัก</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; font-family: Calibri, sans-serif; font-size: 11pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">ระยะที่<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">4<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>โดยในช่วง<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>2-3<span lang=\"TH\"><br />\nปีหลังจากผ่านระยะต่างๆ เข้าสู่ที่เรียกว่า<br />\n&quot;โรคมะเร็งต่อมลูกหมากเข้ากระดูก&quot; มะเร็งจะแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลือง<br />\nกระทั่งเข้าสู่กระดูกและอวัยวะใกล้เคียง ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการปวดกระดูกสันหลัง<br />\nกระดูกเชิงกราน กระดูกข้อสะโพก กระดูกซี่โครง หัวไหล่<br />\nขั้นนี้ผู้ป่วยอาจมีอาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักลด แขน ขา บวม<br />\nและบางรายอาจจะเดินไม่ได้ เป็นอัมพาตเนื่องจากมีกระดูกสันหลังหักไปกดทับไขสันหลัง<br />\nได้รับความเจ็บปวดทรมานมาก</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; font-family: Calibri, sans-serif; font-size: 11pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">การรักษา มะเร็งต่อมลูกหมากในระยะเริ่มแรก<br />\nที่มะเร็งยังไม่แพร่กระจายออกไปนอกต่อมลูกหมาก</span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">สามารถรักษาให้หายขาดได้ ในหลายวิธีการ<br />\n</span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">การผ่าตัดเอาต่อมลูกหมากออก โดยผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง<br />\nหรือใช้การผ่าตัดแบบส่องกล้อง ซึ่งมีข้อดีคือ เจ็บแผลน้อย เนื่องจากเป็นแผลเจาะรู<br />\nเสียเลือดน้อย ฟื้นตัวไว การตัดเลาะต่อมลูกหมากทำได้โดยละเอียดแม่นยำ<br />\nเนื่องจากภาพที่ขยายจากการส่องกล้อง เสียค่าใช้จ่ายประมาณ<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">20,000<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>บาท แต่ข้อเสียของการผ่าตัดคือ<br />\nหลังผ่าตัดผู้ป่วยอาจมีอาการการควบคุมปัสสาวะสูญเสียไปชั่วคราว<br />\nหรือภาวะสูญเสียความสามารถในการแข็งตัวของอวัยวะเพศ</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">การฉายรังสี เข้า ไปยังตำแหน่งที่เกิดมะเร็ง<br />\nหรือใช้การฝังแร่เข้าไปที่บริเวณต่อมลูกหมาก วิธีนี้มีโอกาสสูญเสียความสามารถในการแข็งตัวของอวัยวะเพศ<br />\nน้อยกว่าการผ่าตัดเอาต่อมลูกหมากออก แต่อาจทำให้เกิดอาการอุจจาระบ่อย มีการระคายเคืองที่ทวารหนักและปัสสาวะลำบาก</span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">ส่วน<br />\nระยะแพร่กระจายออกนอกต่อมลูกหมากแล้ว โดยที่ยังไม่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ<br />\nที่ไกลออกไป การรักษาระยะนี้จำเป็นต้องใช้วิธีการรักษามากกว่า<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">1<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>อย่าง เช่น การผ่าตัด การฉายแสง หรือการให้ยา<br />\nขึ้นกับดุลยพินิจของแพทย์</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">ขณะ<br />\nที่การรักษามะเร็งต่อมลูกหมากระยะลุกลาม มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลือง กระดูก<br />\nอวัยวะส่วนอื่นๆ ของร่างกาย การรักษาที่นิยมคือการตัดลูกอัณฑะออกทั้งสองข้าง<br />\nบางรายอาจให้ยาต้านแอนโดรเจนทุก<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">1-3<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>เดือนร่วมด้วย<br />\nซึ่งยาเหล่านี้จะช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้<br />\nรวมถึงการให้ยาช่วยลดการทำลายของกระดูก ลดภาวะการเกิดกระดูกหัก<br />\nการทำเคมีบำบัดหรือเคโมร่วม</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">อย่าง ไรก็ตาม การรักษาในขั้นนี้<br />\nไม่ช่วยให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากเข้ากระดูก เป็นเพียงแต่บรรเทาอาการปวดกระดูก<br />\nและประทังชีวิตผู้ป่วยให้สามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้ บางรายมีชีวิตอยู่ถึง<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">5<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>ปี ก่อนเสียชีวิต ขึ้นกับโรคและสุขภาพผู้ป่วย</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">&quot;<span lang=\"TH\">หากอาการมะเร็งต่อมลูกหมากลามไปกระดูกถึงร้อยละ<br />\n</span>80-90<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>แล้ว ในระยะที่เรียกว่า<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span>3-4<span lang=\"TH\"><br />\nผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูงมาก&quot; ผศ.น.พ.สิทธิพร กล่าว</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">การดูแลป้องกันตัวจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากนั้น<br />\nยังไม่มีวิธีการใดที่พิสูจน์ได้<span class=\"Apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma, sans-serif; font-size: 10pt\">100<span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-converted-space\"> </span>เปอร์เซ็นต์ในการหลีกหนีจากโรคภัยดังกล่าว<br />\nแต่ในหลักการคือพยายามใช้ชีวิตโดยไม่เครียด<br />\nเชื่อว่าความเครียดอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคนี้ รวมถึงพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง<br />\nโดยเฉพาะจากเนื้อสัตว์ต้องระวังเป็นพิเศษ<br />\nและในครอบครัวที่พบว่าญาติพี่น้องมีอาการของโรค ในระยะยาวควรมาพบแพทย์<br />\nเพื่อเข้ารับการตรวจต่อมลูกหมากอย่างสม่ำเสมอ</span><o:p></o:p></span><o:p> </o:p></p>\n', created = 1719380739, expire = 1719467139, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e1e3d793f0917d56af61a7a5b4138b27' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มะเร็งต่อมลูกหมาก

                      

                                   

มะเร็งต่อมลูกหมาก   ปัจจุบันความก้าวหน้าทางการแพทย์เพื่อการเฝ้าระวัง
การตรวจวิเคราะห์และวินิจฉัย การรักษาและการติดตามการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ได้พัฒนาและเจริญรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว
ทำให้อายุขัยของประชากรยืนยาวขึ้น
 ต่อมลูกหมาก
เป็นอวัยวะหนึ่งของระบบสืบพันธุ์เพศชายต่อลงมาจากกระเพาะปัสสาวะ
และล้อมรอบท่อปัสสาวะส่วนต้น
มีหน้าที่สำคัญในการผลิตน้ำเมือกและน้ำหล่อเลี้ยงตัวอสุจิ
เป็นส่วนหนึ่งของน้ำกามที่หลั่งออกมาตามปกติ แต่หากสภาพเซลล์ภายในของต่อมลูกหมาก
มีการแบ่งตัวมากขึ้นอย่างผิดปกติ เป็นสัญญาณว่าโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
กำลังก่อตัวขึ้นโดยที่เราไม่อาจรับรู้ได้
แม้ จะยังไม่มีใครทราบว่าสาเหตุแท้จริงของโรคเกิดขึ้นได้อย่างไร
แต่เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับอายุ และภาวะความไม่สมดุล ของระดับฮอร์โมนเพศชายในเลือด
เมื่ออายุมากขึ้น โดยฮอร์โมนเพศชายมักจะมีระดับลดลงในชายสูงอายุ
อีกทั้งการศึกษาพบว่า อาหารที่มีไขมันสูงอาจมีส่วนก่อให้เกิดมะเร็งต่อมลูกหมากได้ รวมถึงการถ่ายทอดทางพันธุกรรมอีกด้วย
ปัจจุบัน ยังไม่มีวิธีป้องกันการเกิดมะเร็งได้อย่างสมบูรณ์
โดยเฉพาะโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก แต่เราสามารถระวังติดตาม คอยตรวจอย่างสม่ำเสมอได้
อีกวิธีการที่มักใช้ร่วมกันคือ
การเจาะเลือดเพื่อหาสารบ่งชี้มะเร็งต่อมลูกหมากในเลือด นำมาวัดค่า ที่เรียกว่า 
PSA (Prostate-specific antigen) ถ้าระดับ PSA
ใน เลือดมีค่ายิ่งสูง จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก
นอกจากนี้ ยังมีการตรวจอัลตราซาวนด์ของต่อมลูกหมากผ่านทางทวารหนัก
โดยการใช้เครื่องมือสอดเข้าทางทวารหนัก และการตรวจชิ้นเนื้อต่อมลูกหมาก
ที่แพทย์จะเป็นผู้วินิจฉัยรูปแบบการตรวจ
สำหรับผู้ชายที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป แม้จะไม่มีอาการผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ
ก็ควรไปรับการตรวจต่อมลูกหมาก จากแพทย์ระบบทางเดินปัสสาวะ อย่างน้อยปีละครั้ง
ทั้งนี้ อุบัติการณ์ของโรคจะพบมากขึ้น เมื่อผู้ป่วยมีอายุมากขึ้นเรื่อยๆ
โดยเฉพาะพบในชายไทยมีอายุตั้งแต่ 
40 ปีขึ้นไป
อาการของโรคแบ่งออกเป็น 4 ระยะเริ่มแรก
มะเร็งมีขนาดเล็กอยู่ในต่อมลูกหมาก มักไม่ก่อให้เกิดอาการใดๆ
การตรวจทางทวารหนักมักไม่ค่อยพบ
ระยะที่ 2 มะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้นแต่ยังอยู่ในต่อมลูกหมาก
มีการกดเบียดท่อปัสสาวะส่วนต้น ทำให้เกิดการอุดตันของท่อทางเดินปัสสาวะ ระยะนี้ผู้ป่วยจะมีอาการปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ
สามารถคลำพบโดยการตรวจทางทวารหนัก
ระยะที่ 3 มะเร็งขยายตัว
จนอุดกั้นท่อปัสสาวะและกระจายออกนอกต่อม อาการปัสสาวะลำบากมากขึ้นต้องเบ่ง
ปัสสาวะไม่ออก อาจมีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและอาจมีปัสสาวะเป็นเลือด
นอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจมีอาการเจ็บปวด เมื่อมีการหลั่งน้ำอสุจิ
คลำพบโดยตรวจทางทวารหนัก

ระยะที่ 4 โดยในช่วง 2-3
ปีหลังจากผ่านระยะต่างๆ เข้าสู่ที่เรียกว่า
"โรคมะเร็งต่อมลูกหมากเข้ากระดูก" มะเร็งจะแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลือง
กระทั่งเข้าสู่กระดูกและอวัยวะใกล้เคียง ซึ่งอาจทำให้เกิดอาการปวดกระดูกสันหลัง
กระดูกเชิงกราน กระดูกข้อสะโพก กระดูกซี่โครง หัวไหล่
ขั้นนี้ผู้ป่วยอาจมีอาการเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักลด แขน ขา บวม
และบางรายอาจจะเดินไม่ได้ เป็นอัมพาตเนื่องจากมีกระดูกสันหลังหักไปกดทับไขสันหลัง
ได้รับความเจ็บปวดทรมานมาก

การรักษา มะเร็งต่อมลูกหมากในระยะเริ่มแรก
ที่มะเร็งยังไม่แพร่กระจายออกไปนอกต่อมลูกหมาก

สามารถรักษาให้หายขาดได้ ในหลายวิธีการ
การผ่าตัดเอาต่อมลูกหมากออก โดยผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง
หรือใช้การผ่าตัดแบบส่องกล้อง ซึ่งมีข้อดีคือ เจ็บแผลน้อย เนื่องจากเป็นแผลเจาะรู
เสียเลือดน้อย ฟื้นตัวไว การตัดเลาะต่อมลูกหมากทำได้โดยละเอียดแม่นยำ
เนื่องจากภาพที่ขยายจากการส่องกล้อง เสียค่าใช้จ่ายประมาณ 
20,000 บาท แต่ข้อเสียของการผ่าตัดคือ
หลังผ่าตัดผู้ป่วยอาจมีอาการการควบคุมปัสสาวะสูญเสียไปชั่วคราว
หรือภาวะสูญเสียความสามารถในการแข็งตัวของอวัยวะเพศ
การฉายรังสี เข้า ไปยังตำแหน่งที่เกิดมะเร็ง
หรือใช้การฝังแร่เข้าไปที่บริเวณต่อมลูกหมาก วิธีนี้มีโอกาสสูญเสียความสามารถในการแข็งตัวของอวัยวะเพศ
น้อยกว่าการผ่าตัดเอาต่อมลูกหมากออก แต่อาจทำให้เกิดอาการอุจจาระบ่อย มีการระคายเคืองที่ทวารหนักและปัสสาวะลำบาก
ส่วน
ระยะแพร่กระจายออกนอกต่อมลูกหมากแล้ว โดยที่ยังไม่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ
ที่ไกลออกไป การรักษาระยะนี้จำเป็นต้องใช้วิธีการรักษามากกว่า 
1 อย่าง เช่น การผ่าตัด การฉายแสง หรือการให้ยา
ขึ้นกับดุลยพินิจของแพทย์
ขณะ
ที่การรักษามะเร็งต่อมลูกหมากระยะลุกลาม มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลือง กระดูก
อวัยวะส่วนอื่นๆ ของร่างกาย การรักษาที่นิยมคือการตัดลูกอัณฑะออกทั้งสองข้าง
บางรายอาจให้ยาต้านแอนโดรเจนทุก 
1-3 เดือนร่วมด้วย
ซึ่งยาเหล่านี้จะช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้
รวมถึงการให้ยาช่วยลดการทำลายของกระดูก ลดภาวะการเกิดกระดูกหัก
การทำเคมีบำบัดหรือเคโมร่วม
อย่าง ไรก็ตาม การรักษาในขั้นนี้
ไม่ช่วยให้ผู้ป่วยหายขาดจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากเข้ากระดูก เป็นเพียงแต่บรรเทาอาการปวดกระดูก
และประทังชีวิตผู้ป่วยให้สามารถมีชีวิตอยู่ต่อไปได้ บางรายมีชีวิตอยู่ถึง 
5 ปี ก่อนเสียชีวิต ขึ้นกับโรคและสุขภาพผู้ป่วย"หากอาการมะเร็งต่อมลูกหมากลามไปกระดูกถึงร้อยละ
80-90 แล้ว ในระยะที่เรียกว่า 3-4
ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูงมาก" ผศ.น.พ.สิทธิพร กล่าว
การดูแลป้องกันตัวจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากนั้น
ยังไม่มีวิธีการใดที่พิสูจน์ได้ 
100 เปอร์เซ็นต์ในการหลีกหนีจากโรคภัยดังกล่าว
แต่ในหลักการคือพยายามใช้ชีวิตโดยไม่เครียด
เชื่อว่าความเครียดอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคนี้ รวมถึงพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
โดยเฉพาะจากเนื้อสัตว์ต้องระวังเป็นพิเศษ
และในครอบครัวที่พบว่าญาติพี่น้องมีอาการของโรค ในระยะยาวควรมาพบแพทย์
เพื่อเข้ารับการตรวจต่อมลูกหมากอย่างสม่ำเสมอ
 

สร้างโดย: 
ครูกัลยารัตน์ และ อภิญญา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 584 คน กำลังออนไลน์