• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:743f0f4803afa78700e06ffe53df74f4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table border=\"0\" width=\"723\" style=\"background-image: url(\'/files/u42518/091000010_0050.jpg\'); width: 723px; height: 1942px\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>  \n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><strong><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">วิเคราะห์ตัวละคร</span></span></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"> <br />\n <strong><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">วัสสการพราหมณ์กับกษัตริย์ลิจฉวี</span></strong></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">               วัสสการพราหมณ์เป็นตัวละครที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในการดำเนินเรื่อง</span> <span lang=\"TH\">เป็นผู้ออกอุบายวางแผนและดำเนินการ</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         ยุยง</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">จนเหล่ากษัตริย์แตกความสามัคคีทำให้อชาตศัตรูเข้าครอบครองแคว้นวัชชีได้สำเร็จ</span><span lang=\"TH\">วัสสการพราหมณ์เป็นพราหมณ์</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         อาวุโสผู้มีความสามารถสติปัญญาดี</span> <span lang=\"TH\"> รอบรู้ศิลป์วิทยาการและมีวาทศิลป์เป็นที่ไว้วางใจจากฝ่ายศัตรูและสามารถโน้มน้าว</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         เปลี่ยนความคิดของฝ่ายตรงข้ามให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้สำเร็จ บางทรรศนะอาจเห็นว่าวัสสการพราหมณ์เป็นคนที่ขาด</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         คุณธรรมใช้อุบายล่อลวงผู้อื่นเพื่อประโยชน์ฝ่ายตน</span> <span lang=\"TH\">แต่อีกมุมหนึ่งวัสสการพราหมณ์มีคุณสมบัติที่น่ายกย่องกล่าวคือมี</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         ความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรูและบ้านเมืองเป็นอย่างมากยอมเสียสละความสุขส่วนตน</span><span lang=\"TH\">ยอมลำบากเจ็บตัวยอมเสี่ยง</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         ไปอยู่ในหมู่ศัตรูต้องใช้ความอดทดสูงและรู้จักรักษาความลับได้ดีเพื่อให้อุบายสำเร็จ</span><span lang=\"TH\">ส่วนเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีขาดวิจารญาณ</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         (ญาณพิจารณ์ตรอง) จนในที่สุดทำให้แตกความสามัคคีจนเป็นเหตุให้แคว้นวัชชีตกเป็นของแคว้นมคธ</span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วัสสการพราหมณ์คือ ตัวละครใน </span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\">“<span lang=\"TH\">สามัคคีเภทคำฉันท์</span>”<span lang=\"TH\"> อันเป็นบทประพันธ์ของ ชิต บุรทัต กวีเอกในแผ่นดินรัชกาลที่ ๖</span></span></strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span></p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                ชิต บุรทัต เชี่ยวชาญในเชิงฉันท์อย่างไร คงจะเห็นกันได้จากการร่ำพรรณนาถึงความงดงามของกรุงราชคฤห์</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">          อันเป็นนครหลวงของพระเจ้าอาชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธเอาไว้ว่าดังนี้ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\">“<span lang=\"TH\">ช่อฟ้าตระการกละจะหยันจะเยาะยั่วทิฆัมพร </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">          บราลีพิลาศุภจรูญ นพศูลประภัศร หางหงส์ผจงพิจิตระงอน ดุจะกวักนภาลัย</span>”...<span lang=\"TH\"> อันนับได้ว่างามนักวัสสการพราหมณ์ </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">          ในคำฉันท์เรื่องนี้เป็นครูอาจารย์ผู้สอนศิลปะวิทยาอยู่ในแคว้นมคธ แต่ที่ลึกซึ้งยิ่งกว่านั้นก็คือ เป็นนักการเมืองเจ้าเล่ห์ </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">          เป็น </span>“<span lang=\"TH\">บ่างช่างยุ</span>”<span lang=\"TH\"> หรือว่า นักยุแยงตะแคงรั่วมือระดับปรมาจารย์ วัสสการพราหมณ์เข้าไปเป็น </span>“<span lang=\"TH\">ไส้ศึก</span>”<span lang=\"TH\">อยู่ในแว่นแคว้น</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">          วัชชีซึ่งปกครองโดยเหล่าบรรดากษัตริย์ ลิจฉวี และใช้ระยะเวลายุแหย่อยู่ไม่นานนักเหล่าบรรดาผู้นำดังที่ว่านั้นก็ถึง</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">          กาลแตกแยกก่อนหน้านี้วัสสการพราหมณ์ได้ยอมเจ็บตัวเล่นละครตบตายอมให้เจ้านายตนเฆี่ยนตีและโกนหัวขับไล่</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">          ให้ออกจากเมืองไป ดังที่ผู้ประพันธ์ได้บรรยายเอาไว้ว่า </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                      ยลเนื้อก็เนื้อเต้น                 พิศะเส้นก็สั่นรัว  </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                    ทั้งร่างและทั้งตัว                   ก็ระริกระริวไป   </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                      และหลังก็หลั่งโล                หิตโอ้เลอะลามไป     </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                    พ่งผาดอนาถใจ                    ตละล้วนระรอยหวาย </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">และนี่ก็คือฝีมือในการแต่งฉันท์ที่เป็นหนึ่งของชิต บุรทัต สามัคคีเภทคำฉันท์</span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">ไม่เพียงแต่งดงามด้วยภาษากวีเท่านั้น</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         แต่เนื้อหา</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">สาระนับว่า ยังเหมาะเป็นยิ่งด้วยสำหรับสังคมไทยยามนี้ เหตุก็เพราะความไม่สมานฉันท์ ไม่สามัคคีกัน </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         โดยแท้ ที่นำมาซึ่งความวิบัติล่มจมของบ้านเมือง ฟังว่าเหล่าบรรดากษัตริย์ลิจฉวีอันเป็นผู้ปกครองแคว้นวัชชีทั้งปวง</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">นั้น</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         ได้เคยมีการปกครองใน ระบบรัฐสภาที่เข้มแข็งเป็นอย่างยิ่ง ก่อนที่วัสสการพราหมณ์จะเข้ามาทำให้สภาเกิดแตกแยก </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         และเกิดหวั่นระแวงแคลงใจกันขึ้น ดังที่ผู้ประพันธ์ว่</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">า</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                                  </span>“<span lang=\"TH\">สามัคคีธัมมะทำลาย  มิตระภิทนะกระจายสรรพะเสื่อมหายน์ก็</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">เป็น</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">ไป</span>”</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         สมดังชื่อเรื่องว่า สามัคคีเภท สรุปแล้ว ทั้งสภาและบ้านเมืองประชาชนของแคว้นวัชชีก็ไม่มีอะไรเหลือ ด้วยฝีมือ</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">         การยุแหย่ ของวัสสการพราหมณ์แต่ผู้เดียวโดย</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">แท้</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></o:p> <o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></o:p> <o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></o:p> <o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: large\">   </span></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: large\"> </span></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: large\"> </span></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\">                                            <span style=\"font-size: large\"><a href=\"/node/86149\">กลับหน้าหลัก</a></span></span></span></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: large\"> </span></span></span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: large\">                                                  </span></span></o:p></p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1718562242, expire = 1718648642, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:743f0f4803afa78700e06ffe53df74f4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สามัคคีเภทคำฉันท์หน้า5

 

 วิเคราะห์ตัวละคร 
วัสสการพราหมณ์กับกษัตริย์ลิจฉวี

               วัสสการพราหมณ์เป็นตัวละครที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในการดำเนินเรื่อง เป็นผู้ออกอุบายวางแผนและดำเนินการ

         ยุยงจนเหล่ากษัตริย์แตกความสามัคคีทำให้อชาตศัตรูเข้าครอบครองแคว้นวัชชีได้สำเร็จวัสสการพราหมณ์เป็นพราหมณ์

         อาวุโสผู้มีความสามารถสติปัญญาดี  รอบรู้ศิลป์วิทยาการและมีวาทศิลป์เป็นที่ไว้วางใจจากฝ่ายศัตรูและสามารถโน้มน้าว

         เปลี่ยนความคิดของฝ่ายตรงข้ามให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้สำเร็จ บางทรรศนะอาจเห็นว่าวัสสการพราหมณ์เป็นคนที่ขาด

         คุณธรรมใช้อุบายล่อลวงผู้อื่นเพื่อประโยชน์ฝ่ายตน แต่อีกมุมหนึ่งวัสสการพราหมณ์มีคุณสมบัติที่น่ายกย่องกล่าวคือมี

         ความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรูและบ้านเมืองเป็นอย่างมากยอมเสียสละความสุขส่วนตนยอมลำบากเจ็บตัวยอมเสี่ยง

         ไปอยู่ในหมู่ศัตรูต้องใช้ความอดทดสูงและรู้จักรักษาความลับได้ดีเพื่อให้อุบายสำเร็จส่วนเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีขาดวิจารญาณ

         (ญาณพิจารณ์ตรอง) จนในที่สุดทำให้แตกความสามัคคีจนเป็นเหตุให้แคว้นวัชชีตกเป็นของแคว้นมคธ

วัสสการพราหมณ์คือ ตัวละครใน สามัคคีเภทคำฉันท์ อันเป็นบทประพันธ์ของ ชิต บุรทัต กวีเอกในแผ่นดินรัชกาลที่ ๖

                ชิต บุรทัต เชี่ยวชาญในเชิงฉันท์อย่างไร คงจะเห็นกันได้จากการร่ำพรรณนาถึงความงดงามของกรุงราชคฤห์

          อันเป็นนครหลวงของพระเจ้าอาชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธเอาไว้ว่าดังนี้ ช่อฟ้าตระการกละจะหยันจะเยาะยั่วทิฆัมพร

          บราลีพิลาศุภจรูญ นพศูลประภัศร หางหงส์ผจงพิจิตระงอน ดุจะกวักนภาลัย”... อันนับได้ว่างามนักวัสสการพราหมณ์

          ในคำฉันท์เรื่องนี้เป็นครูอาจารย์ผู้สอนศิลปะวิทยาอยู่ในแคว้นมคธ แต่ที่ลึกซึ้งยิ่งกว่านั้นก็คือ เป็นนักการเมืองเจ้าเล่ห์

          เป็น บ่างช่างยุ หรือว่า นักยุแยงตะแคงรั่วมือระดับปรมาจารย์ วัสสการพราหมณ์เข้าไปเป็น ไส้ศึกอยู่ในแว่นแคว้น

          วัชชีซึ่งปกครองโดยเหล่าบรรดากษัตริย์ ลิจฉวี และใช้ระยะเวลายุแหย่อยู่ไม่นานนักเหล่าบรรดาผู้นำดังที่ว่านั้นก็ถึง

          กาลแตกแยกก่อนหน้านี้วัสสการพราหมณ์ได้ยอมเจ็บตัวเล่นละครตบตายอมให้เจ้านายตนเฆี่ยนตีและโกนหัวขับไล่

          ให้ออกจากเมืองไป ดังที่ผู้ประพันธ์ได้บรรยายเอาไว้ว่า

                      ยลเนื้อก็เนื้อเต้น                 พิศะเส้นก็สั่นรัว 

                    ทั้งร่างและทั้งตัว                   ก็ระริกระริวไป  

                      และหลังก็หลั่งโล                หิตโอ้เลอะลามไป     

                    พ่งผาดอนาถใจ                    ตละล้วนระรอยหวาย 

         และนี่ก็คือฝีมือในการแต่งฉันท์ที่เป็นหนึ่งของชิต บุรทัต สามัคคีเภทคำฉันท์ไม่เพียงแต่งดงามด้วยภาษากวีเท่านั้น

         แต่เนื้อหาสาระนับว่า ยังเหมาะเป็นยิ่งด้วยสำหรับสังคมไทยยามนี้ เหตุก็เพราะความไม่สมานฉันท์ ไม่สามัคคีกัน

         โดยแท้ ที่นำมาซึ่งความวิบัติล่มจมของบ้านเมือง ฟังว่าเหล่าบรรดากษัตริย์ลิจฉวีอันเป็นผู้ปกครองแคว้นวัชชีทั้งปวงนั้น

         ได้เคยมีการปกครองใน ระบบรัฐสภาที่เข้มแข็งเป็นอย่างยิ่ง ก่อนที่วัสสการพราหมณ์จะเข้ามาทำให้สภาเกิดแตกแยก

         และเกิดหวั่นระแวงแคลงใจกันขึ้น ดังที่ผู้ประพันธ์ว่

                                  สามัคคีธัมมะทำลาย  มิตระภิทนะกระจายสรรพะเสื่อมหายน์ก็เป็นไป

         สมดังชื่อเรื่องว่า สามัคคีเภท สรุปแล้ว ทั้งสภาและบ้านเมืองประชาชนของแคว้นวัชชีก็ไม่มีอะไรเหลือ ด้วยฝีมือ

         การยุแหย่ ของวัสสการพราหมณ์แต่ผู้เดียวโดยแท้

                                                      กลับหน้าหลัก                                                  

สร้างโดย: 
คุณครู สุวรันต์ บัวก้านทอง และ นาย สวัสดิพัฒน์ สมบรณ์ธีระ ร.ร เซนต์ไมเกิ้ล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 524 คน กำลังออนไลน์