• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1aa8b4af0c94db725c97fe550174a707' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>สาเหตุของสงคราม</p>\n<p> 1. ลัทธิชาตินิยม ภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ระหว่าง ค.ศ. 1870-1871 ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอแรน ให้แก่เยอรมันทำให้รัฐเยอรมันสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ขณะเดียวกันก็ทำให้การปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศสต้องสิ้นสุดลง รวมทั้งยังทำให้อิตาลีรวมชาติได้สำเร็จ ทำให้เกิดลัทธิชาตินิยมทั้งในฝรั่งเศส เยอรมันและอิตาลีและแต่ละประเทศต่างก็พยายามที่จะสร้างแสงยานุภาพให้แก่ชาติของตนเพื่อให้ชาติของตนเป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ </p>\n<p>2. การแช่งการแสวงหาอาณานิคม การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ทำให้หลายประเทศต้องออกแสวงหาอาณานิคม เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบที่จะนำมาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการแสวงหาอาณานิคมเจริญถึงที่สุดในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีหลายชาติที่กลายเป็นประเทศจักรวรรดินิยมทั้งในทวีปเอเชียและทวีปอเมริกาโดยการยึดครองของชาวยุโรป อาจเกิดจากเหตุผลทางธุรกิจแต่การแข่งขันทางการเมืองเพื่อกีดกันชาติคู่แข่งทำให้การมีอาณานิคมเป็นเครื่องวัดความยิ่งใหญ่ของประเทศ </p>\n<p>3. มหาอำนาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซีย ได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไป และอิตาลีได้มาสมทบ กลุ่มนี้จึงประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ส่วนฝรั่งเศสกับรัสเซียได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย จึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี(Triple Entente) ซึ่งประกอบด้วยฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ </p>\n<p>4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่านนั้นประกอบด้วยชุมชนที่มีความแตกต่างกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ กรีก และเติร์ก และที่สำคัญคือประเทศใหญ่ ๆ ที่มีพรหมแดนใกล้ชิดกับดินแดนในคาบสมุทรบอลข่าน คือ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัสเซีย และอิตาลี ต่างพยายามรักษาอำนาจอิทธิพลของตนไว้ กล่าวคือ<br />\n - ออสเตรีย-ฮังการี ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี ซึ่งต้องการรักษาคาบสมุทรบอลข่านเป็นตลาดการค้าและเขตอิทธิพลทางการเมือง<br />\n - อิตาลี ไม่ต้องการให้ออสเตรีย-ฮังการี ขยายเขตอิทธิพลให้กว้างออกไปอีก<br />\n - รัสเซีย พยายามหาทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยผ่านดินแดนนี้<br />\n - อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะมหาอำนาจไม่ต้องการให้ทั้งรัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ขยายอิทธิพลไปมากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานั้น</p>\n<p> 1. ลัทธิชาตินิยม ภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ระหว่าง ค.ศ. 1870-1871 ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอแรน ให้แก่เยอรมันทำให้รัฐเยอรมันสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ขณะเดียวกันก็ทำให้การปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศสต้องสิ้นสุดลง รวมทั้งยังทำให้อิตาลีรวมชาติได้สำเร็จ ทำให้เกิดลัทธิชาตินิยมทั้งในฝรั่งเศส เยอรมันและอิตาลีและแต่ละประเทศต่างก็พยายามที่จะสร้างแสงยานุภาพให้แก่ชาติของตนเพื่อให้ชาติของตนเป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ </p>\n<p>2. การแช่งการแสวงหาอาณานิคม การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ทำให้หลายประเทศต้องออกแสวงหาอาณานิคม เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบที่จะนำมาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการแสวงหาอาณานิคมเจริญถึงที่สุดในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีหลายชาติที่กลายเป็นประเทศจักรวรรดินิยมทั้งในทวีปเอเชียและทวีปอเมริกาโดยการยึดครองของชาวยุโรป อาจเกิดจากเหตุผลทางธุรกิจแต่การแข่งขันทางการเมืองเพื่อกีดกันชาติคู่แข่งทำให้การมีอาณานิคมเป็นเครื่องวัดความยิ่งใหญ่ของประเทศ </p>\n<p>3. มหาอำนาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซีย ได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไป และอิตาลีได้มาสมทบ กลุ่มนี้จึงประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ส่วนฝรั่งเศสกับรัสเซียได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย จึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี(Triple Entente) ซึ่งประกอบด้วยฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ </p>\n<p>4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่านนั้นประกอบด้วยชุมชนที่มีความแตกต่างกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ กรีก และเติร์ก และที่สำคัญคือประเทศใหญ่ ๆ ที่มีพรหมแดนใกล้ชิดกับดินแดนในคาบสมุทรบอลข่าน คือ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัสเซีย และอิตาลี ต่างพยายามรักษาอำนาจอิทธิพลของตนไว้ กล่าวคือ<br />\n - ออสเตรีย-ฮังการี ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี ซึ่งต้องการรักษาคาบสมุทรบอลข่านเป็นตลาดการค้าและเขตอิทธิพลทางการเมือง<br />\n - อิตาลี ไม่ต้องการให้ออสเตรีย-ฮังการี ขยายเขตอิทธิพลให้กว้างออกไปอีก<br />\n - รัสเซีย พยายามหาทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยผ่านดินแดนนี้<br />\n - อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะมหาอำนาจไม่ต้องการให้ทั้งรัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ขยายอิทธิพลไปมากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานั้น</p>\n<p> 1. ลัทธิชาตินิยม ภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ระหว่าง ค.ศ. 1870-1871 ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอแรน ให้แก่เยอรมันทำให้รัฐเยอรมันสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ขณะเดียวกันก็ทำให้การปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศสต้องสิ้นสุดลง รวมทั้งยังทำให้อิตาลีรวมชาติได้สำเร็จ ทำให้เกิดลัทธิชาตินิยมทั้งในฝรั่งเศส เยอรมันและอิตาลีและแต่ละประเทศต่างก็พยายามที่จะสร้างแสงยานุภาพให้แก่ชาติของตนเพื่อให้ชาติของตนเป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ </p>\n<p>2. การแช่งการแสวงหาอาณานิคม การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ทำให้หลายประเทศต้องออกแสวงหาอาณานิคม เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบที่จะนำมาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการแสวงหาอาณานิคมเจริญถึงที่สุดในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีหลายชาติที่กลายเป็นประเทศจักรวรรดินิยมทั้งในทวีปเอเชียและทวีปอเมริกาโดยการยึดครองของชาวยุโรป อาจเกิดจากเหตุผลทางธุรกิจแต่การแข่งขันทางการเมืองเพื่อกีดกันชาติคู่แข่งทำให้การมีอาณานิคมเป็นเครื่องวัดความยิ่งใหญ่ของประเทศ </p>\n<p>3. มหาอำนาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซีย ได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไป และอิตาลีได้มาสมทบ กลุ่มนี้จึงประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ส่วนฝรั่งเศสกับรัสเซียได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย จึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี(Triple Entente) ซึ่งประกอบด้วยฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ </p>\n<p>4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่านนั้นประกอบด้วยชุมชนที่มีความแตกต่างกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ กรีก และเติร์ก และที่สำคัญคือประเทศใหญ่ ๆ ที่มีพรหมแดนใกล้ชิดกับดินแดนในคาบสมุทรบอลข่าน คือ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัสเซีย และอิตาลี ต่างพยายามรักษาอำนาจอิทธิพลของตนไว้ กล่าวคือ<br />\n - ออสเตรีย-ฮังการี ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี ซึ่งต้องการรักษาคาบสมุทรบอลข่านเป็นตลาดการค้าและเขตอิทธิพลทางการเมือง<br />\n - อิตาลี ไม่ต้องการให้ออสเตรีย-ฮังการี ขยายเขตอิทธิพลให้กว้างออกไปอีก<br />\n - รัสเซีย พยายามหาทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยผ่านดินแดนนี้<br />\n - อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะมหาอำนาจไม่ต้องการให้ทั้งรัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ขยายอิทธิพลไปมากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานั้น</p>\n', created = 1720835659, expire = 1720922059, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1aa8b4af0c94db725c97fe550174a707' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สาเหตุ

สาเหตุของสงคราม

1. ลัทธิชาตินิยม ภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ระหว่าง ค.ศ. 1870-1871 ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอแรน ให้แก่เยอรมันทำให้รัฐเยอรมันสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ขณะเดียวกันก็ทำให้การปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศสต้องสิ้นสุดลง รวมทั้งยังทำให้อิตาลีรวมชาติได้สำเร็จ ทำให้เกิดลัทธิชาตินิยมทั้งในฝรั่งเศส เยอรมันและอิตาลีและแต่ละประเทศต่างก็พยายามที่จะสร้างแสงยานุภาพให้แก่ชาติของตนเพื่อให้ชาติของตนเป็นชาติที่ยิ่งใหญ่

2. การแช่งการแสวงหาอาณานิคม การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ทำให้หลายประเทศต้องออกแสวงหาอาณานิคม เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบที่จะนำมาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการแสวงหาอาณานิคมเจริญถึงที่สุดในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีหลายชาติที่กลายเป็นประเทศจักรวรรดินิยมทั้งในทวีปเอเชียและทวีปอเมริกาโดยการยึดครองของชาวยุโรป อาจเกิดจากเหตุผลทางธุรกิจแต่การแข่งขันทางการเมืองเพื่อกีดกันชาติคู่แข่งทำให้การมีอาณานิคมเป็นเครื่องวัดความยิ่งใหญ่ของประเทศ

3. มหาอำนาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซีย ได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไป และอิตาลีได้มาสมทบ กลุ่มนี้จึงประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ส่วนฝรั่งเศสกับรัสเซียได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย จึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี(Triple Entente) ซึ่งประกอบด้วยฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ

4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่านนั้นประกอบด้วยชุมชนที่มีความแตกต่างกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ กรีก และเติร์ก และที่สำคัญคือประเทศใหญ่ ๆ ที่มีพรหมแดนใกล้ชิดกับดินแดนในคาบสมุทรบอลข่าน คือ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัสเซีย และอิตาลี ต่างพยายามรักษาอำนาจอิทธิพลของตนไว้ กล่าวคือ
- ออสเตรีย-ฮังการี ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี ซึ่งต้องการรักษาคาบสมุทรบอลข่านเป็นตลาดการค้าและเขตอิทธิพลทางการเมือง
- อิตาลี ไม่ต้องการให้ออสเตรีย-ฮังการี ขยายเขตอิทธิพลให้กว้างออกไปอีก
- รัสเซีย พยายามหาทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยผ่านดินแดนนี้
- อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะมหาอำนาจไม่ต้องการให้ทั้งรัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ขยายอิทธิพลไปมากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานั้น

1. ลัทธิชาตินิยม ภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ระหว่าง ค.ศ. 1870-1871 ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอแรน ให้แก่เยอรมันทำให้รัฐเยอรมันสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ขณะเดียวกันก็ทำให้การปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศสต้องสิ้นสุดลง รวมทั้งยังทำให้อิตาลีรวมชาติได้สำเร็จ ทำให้เกิดลัทธิชาตินิยมทั้งในฝรั่งเศส เยอรมันและอิตาลีและแต่ละประเทศต่างก็พยายามที่จะสร้างแสงยานุภาพให้แก่ชาติของตนเพื่อให้ชาติของตนเป็นชาติที่ยิ่งใหญ่

2. การแช่งการแสวงหาอาณานิคม การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ทำให้หลายประเทศต้องออกแสวงหาอาณานิคม เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบที่จะนำมาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการแสวงหาอาณานิคมเจริญถึงที่สุดในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีหลายชาติที่กลายเป็นประเทศจักรวรรดินิยมทั้งในทวีปเอเชียและทวีปอเมริกาโดยการยึดครองของชาวยุโรป อาจเกิดจากเหตุผลทางธุรกิจแต่การแข่งขันทางการเมืองเพื่อกีดกันชาติคู่แข่งทำให้การมีอาณานิคมเป็นเครื่องวัดความยิ่งใหญ่ของประเทศ

3. มหาอำนาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซีย ได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไป และอิตาลีได้มาสมทบ กลุ่มนี้จึงประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ส่วนฝรั่งเศสกับรัสเซียได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย จึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี(Triple Entente) ซึ่งประกอบด้วยฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ

4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่านนั้นประกอบด้วยชุมชนที่มีความแตกต่างกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ กรีก และเติร์ก และที่สำคัญคือประเทศใหญ่ ๆ ที่มีพรหมแดนใกล้ชิดกับดินแดนในคาบสมุทรบอลข่าน คือ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัสเซีย และอิตาลี ต่างพยายามรักษาอำนาจอิทธิพลของตนไว้ กล่าวคือ
- ออสเตรีย-ฮังการี ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี ซึ่งต้องการรักษาคาบสมุทรบอลข่านเป็นตลาดการค้าและเขตอิทธิพลทางการเมือง
- อิตาลี ไม่ต้องการให้ออสเตรีย-ฮังการี ขยายเขตอิทธิพลให้กว้างออกไปอีก
- รัสเซีย พยายามหาทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยผ่านดินแดนนี้
- อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะมหาอำนาจไม่ต้องการให้ทั้งรัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ขยายอิทธิพลไปมากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานั้น

1. ลัทธิชาตินิยม ภายหลังสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ระหว่าง ค.ศ. 1870-1871 ฝรั่งเศสซึ่งเป็นฝ่ายแพ้สงครามต้องยอมเสียแคว้นอัลซาซ-ลอแรน ให้แก่เยอรมันทำให้รัฐเยอรมันสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิเยอรมัน ขณะเดียวกันก็ทำให้การปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศสต้องสิ้นสุดลง รวมทั้งยังทำให้อิตาลีรวมชาติได้สำเร็จ ทำให้เกิดลัทธิชาตินิยมทั้งในฝรั่งเศส เยอรมันและอิตาลีและแต่ละประเทศต่างก็พยายามที่จะสร้างแสงยานุภาพให้แก่ชาติของตนเพื่อให้ชาติของตนเป็นชาติที่ยิ่งใหญ่

2. การแช่งการแสวงหาอาณานิคม การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ทำให้หลายประเทศต้องออกแสวงหาอาณานิคม เพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบที่จะนำมาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งการแสวงหาอาณานิคมเจริญถึงที่สุดในตอนต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีหลายชาติที่กลายเป็นประเทศจักรวรรดินิยมทั้งในทวีปเอเชียและทวีปอเมริกาโดยการยึดครองของชาวยุโรป อาจเกิดจากเหตุผลทางธุรกิจแต่การแข่งขันทางการเมืองเพื่อกีดกันชาติคู่แข่งทำให้การมีอาณานิคมเป็นเครื่องวัดความยิ่งใหญ่ของประเทศ

3. มหาอำนาจแตกแยกเป็น 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และรัสเซีย ได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี (Triple Alliances) ภายหลังรัสเซียได้ถอนตัวไป และอิตาลีได้มาสมทบ กลุ่มนี้จึงประกอบด้วยเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ส่วนฝรั่งเศสกับรัสเซียได้ทำสนธิสัญญาพันธไมตรีฝรั่งเศส-รัสเซีย ต่อมาอังกฤษได้ร่วมเป็นพันธมิตรกับรัสเซีย จึงเกิดเป็นกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี(Triple Entente) ซึ่งประกอบด้วยฝรั่งเศส รัสเซีย และอังกฤษ

4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่านนั้นประกอบด้วยชุมชนที่มีความแตกต่างกันทางด้านภาษาและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่เป็นชาวสลาฟ กรีก และเติร์ก และที่สำคัญคือประเทศใหญ่ ๆ ที่มีพรหมแดนใกล้ชิดกับดินแดนในคาบสมุทรบอลข่าน คือ จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัสเซีย และอิตาลี ต่างพยายามรักษาอำนาจอิทธิพลของตนไว้ กล่าวคือ
- ออสเตรีย-ฮังการี ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนี ซึ่งต้องการรักษาคาบสมุทรบอลข่านเป็นตลาดการค้าและเขตอิทธิพลทางการเมือง
- อิตาลี ไม่ต้องการให้ออสเตรีย-ฮังการี ขยายเขตอิทธิพลให้กว้างออกไปอีก
- รัสเซีย พยายามหาทางออกสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน โดยผ่านดินแดนนี้
- อังกฤษและฝรั่งเศส ในฐานะมหาอำนาจไม่ต้องการให้ทั้งรัสเซียและออสเตรีย-ฮังการี ขยายอิทธิพลไปมากกว่าที่เป็นอยู่ในเวลานั้น

สร้างโดย: 
Kooll

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 359 คน กำลังออนไลน์