• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e686f75fb152d01ec3ee013238941ce1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"76\" width=\"220\" src=\"/files/u43694/p2.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\nใน ค.ศ. 1789 ฝรั่งเศสเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส บรรดาชาติต่าง ๆ รวมตัวกันต่อต้านคณะปฏิวัติที่กำลังแผ่อิทธิพลออกมาจากฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1800 ตามสนธิสัญญาลูเนวิลล์ (Luneville) ยกเยอรมนีส่วนตะวันตกของแม่น้ำไรน์ทั้งหมดให้ฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1804 นโปเลียนปราบดาภิเษกตนเองเป็นจักรพรรดิ ทำให้ชาติต่างรวมตัวเป็นสัมพันธมิตรครั้งที่ 3 (Third Coalition) จนพ่ายแพ้นโปเลียนในการรบที่อุล์ม (Ulm) ใน ค.ศ. 1805 ทำสนธิสัญญาเพรสบูร์ก (Pressburg) ล้มล้างจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์กลายเป็นจักรพรรดิออสเตรีย (Austrian Emperor) ขณะที่แคว้นต่าง ๆ ที่เหลือรวมตัวกันเป็น สมาพันธรัฐแห่งไรน์ (Confederation of the Rhine) เป็นรัฐบริวารของนโปเลียน แคว้นต่าง ๆ ก็ได้เลื่อนขั้น เช่น แซกโซนี บาวาเรีย วืตเตมบูร์ก ได้เป็นอาณาจักร สมาพันธรัฐนำโดยสังฆราช (Primate) คือ คาร์ล ธีโอดอร์ ฟอน ดัลเบิร์ก (Karl Theodore von Dalberg)       รัฐต่าง ๆ ในสมาพันธรัฐจะต้องส่งทัพเข้าช่วยฝรั่งเศส โดยที่ฝรั่งเศสจะให้การปกป้องเป็นการตอนแทน\n</p>\n<p align=\"center\">\nปรัสเซียแพ้ฝรั่งเศสที่เยนา (Jena) และเออร์ชตัตด์ (Auerstedt) จนทำสนธิสัญญาทิลซิท (Tilsit) ใน ค.ศ. 1807 ปรัสเซียเสียทางตะวันออกของแม่น้ำเอลเบกลายเป็นแคว้นวอร์ซอว์ (Grand Duchy of Warsaw) และก่อตั้งราชอาณาจักรเวสฟาเลีย (Kingdom of Westphalia) ความพ่ายแพ้ของปรัสเซียทำให้เยอรมนีตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของฝรั่งเศส จนสุดท้ายสมาพันธรัฐประกอบด้วยสี่อาณาจักร (เวสฟาเลีย บาวาเรีย แซกโซนี วืตเตมบูร์ก) ห้าแกรนด์ดัชชี (บาเดน ฮีส เบิร์ก แฟรงก์เฟิร์ต และวืร์ซบูร์ก) สิบสามดัชชี สิบเจ็ดเจ้าชาย และนครรัฐอิสระสามนคร คือฮัมบูร์ก ลือเบค และเบรเมน\n</p>\n<p align=\"center\">\nใน ค.ศ. 1813 นโปเลียนพ่ายแพ้สัมพันธมิตรในการรบที่ไลป์ซิก (Leipzig) อำนาจของฝรั่งเศสจึงจบลง สมาพันธรัฐแห่งไรน์จึงถูกยุบ บรรดาชาติต่าง ๆ ในยุโรป จึงฟื้นฟูระบอบราชาธิปไตยในยุโรป จึงตั้งคองเกรสแห่งเวียนนา (Congress of Vienna) มาประชุมหารือ นำโดยเจ้าชายเมตเตอร์นิค (Metternich) อัครเสนาบดีออสเตรีย\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u>สมาพันธรัฐเยอรมัน</u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nคองเกรสแห่งเวียนนาให้แคว้นต่าง ๆ ในจักรวรรดิโรมันเดิม รวมตัวกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน (German Confederation) มีจักรพรรดิออสเตรียเป็นประมุข มีสภาสมาพันธรัฐ (Federal Assembly) ที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ตเป็นสภาหารือกิจการบ้านเมือง ทางปรัสเซียก็ได้รับการฟื้นฟูดินแดนคืน มีผลทำให้ออสเตรียและปรัสเซียเป็นสองมหาอำนาจที่แผ่อิทธิพลเข้าครอบงำเยอรมนี\n</p>\n<p align=\"center\">\nแม้คองเกรสแห่งเวียนนาจะพยายามบีบให้ยุโรปกลับสู่ระบอบสมบูรณายาสิทธฺราชย์สักเพียงใด แต่ก็สายไปแล้ว เพราะด้วยอิทธิพลของฝรั่งเศสและนโปเลียน ทำให้แนวความคิดเสรีนิยม (Liberalism) ฝังรากลงไปในเยอรมนี ใน ค.ศ. 1817 พวกนักศึกษาหัวก้าวหน้าจัดงานเลี้ยงที่เมืองวาร์ตบูร์กเผาทำลายหนังสือที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์ ใน ค.ศ. 1819 นักศึกษาคนหนึ่งสังหารอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเพราะตำหนิแนวความคิดเสรีนิยมและชาตินิยม (Nationalism) ของนักเรียน ทำให้เจ้าชายเมตเตอร์นิคทรงออกกฤษฎีกาคาร์ลสบาด (Karlsbad Decrees) ให้มีการเซนเซอร์หนังสือและควบคุมมหาวิทยาลัยมิให้แนวความคิดปฏิวัติแพร่ไป รวมทั้งลงโทษพวกเสรีนิยมด้วย แต่พวกเสรีนิยมก็เก็บความเคียดแค้นไว้ เกิดนักเขียนหลายท่านตามกระแสโรแมนติค (Romanticism) ที่มีผลงานปรัชญาต่อต้านระบอบกษัตริย์ เรียกว่า สมัยฟอร์ไมซ์ (Vormärz - สมัยก่อนเดือนมีนาคม)\n</p>\n<p align=\"center\">\nการปฏิวัติอุตสาหกรรมเข้าสู่เยอรมนีในที่สุด สมาพันธรัฐเยอรมัน ยกเว้นออสเตรีย ทำข้อตกลงการค้าเสรีปลอดภาษีกับรัสเซีย รวมกันเป็นเขตเสรีการค้าโชลเฟอเรน (Zollverein)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<u>การปฏิวัติ</u> ปี ค.ศ. 1848ใน ค.ศ. 1848 เกิดการปฏิวัติทั่วยุโรป ในเยอรมนีก็เช่นกัน เรียกว่าการปฏิวัติเดือนมีนาคม (March Revolution) ในแคว้นต่าง ๆ ทั่วเยอรมัน บรรดาเจ้าครองนครต่างเกรงว่าตนจะประสบชะตากรรมเดียวกับกษัตริย์ฝรั่งเศส จึงยอมจำนนแต่โดยดี ขณะปฏิวัติกำลังจะร่างรัฐธรรมนูญที่สภาแฟรงเฟิร์ต และมอบบัลลังก์ให้พระเจ้าเฟรเดอริค วิลเฮมที่ 4 แห่งปรัสเซียไปครอง แต่ทรงปฏิเสธ ทำให้การปฏิวัติล้มเหลวจบลงทันที เจ้าครองแคว้นก็ลุกฮือต่อต้านอีกครั้ง คณะปฏิวัติจึงสลายตัว\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<u><strong>สาธารณรัฐไวมาร์</strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u></u></strong><br />\nสาธารณรัฐไวมาร์ (เยอรมัน: Weimarer Republik ; อังกฤษ: Weimar Republic) เป็นชื่อที่ในปัจจุบันใช้เรียกสาธารณรัฐที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงตั้งแต่ ค.ศ. 1919 ถึง 1933 ประวัติศาสตร์เยอรมนีช่วงนี้นิยมเรียกว่า ช่วงไวมาร์\n</p>\n<p align=\"center\">\nชื่อของสาธารณรัฐนั้นตั้งตามชื่อเมืองไวมาร์ ที่ซึ่งรัฐสภาได้ประชุมกันเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่หลังจากจักรวรรดิเยอรมันถูกล้มล้างลงหลังจากพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง\n</p>\n<p align=\"center\">\nถึงแม้ว่ารูปแบบการปกครองจะเปลี่ยนไป แต่สาธารณรัฐแห่งใหม่นี้ ยังคงเรียกตัวเองว่า &quot;Deutsches Reich&quot; ซึ่งเป็นชื่อเดียวกับในสมัยที่ปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตย ก่อน ค.ศ. 1919\n</p>\n<p align=\"center\">\nคำว่า &quot;สาธารณรัฐไวมาร์&quot; เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์คิดขึ้นมาใช้ และไม่เคยถูกใช้อย่างเป็นทางการในช่วงที่สาธารณรัฐดังกล่าวดำรงอยู่. ในระหว่างยุคนี้ คำว่า Deutsches Reich ส่วนใหญ่แล้วจะถูกแปลเป็น &quot;The German Reich&quot; ในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ โดยที่คำว่า &quot;Reich&quot; จะไม่ถูกแปลเป็น &quot;Empire&quot; อีกต่อไป\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83541\"><img height=\"51\" width=\"120\" src=\"/files/u43694/home.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720838867, expire = 1720925267, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e686f75fb152d01ec3ee013238941ce1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การยึดครองของนโปเลียน

 

 

ใน ค.ศ. 1789 ฝรั่งเศสเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส บรรดาชาติต่าง ๆ รวมตัวกันต่อต้านคณะปฏิวัติที่กำลังแผ่อิทธิพลออกมาจากฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1800 ตามสนธิสัญญาลูเนวิลล์ (Luneville) ยกเยอรมนีส่วนตะวันตกของแม่น้ำไรน์ทั้งหมดให้ฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1804 นโปเลียนปราบดาภิเษกตนเองเป็นจักรพรรดิ ทำให้ชาติต่างรวมตัวเป็นสัมพันธมิตรครั้งที่ 3 (Third Coalition) จนพ่ายแพ้นโปเลียนในการรบที่อุล์ม (Ulm) ใน ค.ศ. 1805 ทำสนธิสัญญาเพรสบูร์ก (Pressburg) ล้มล้างจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์กลายเป็นจักรพรรดิออสเตรีย (Austrian Emperor) ขณะที่แคว้นต่าง ๆ ที่เหลือรวมตัวกันเป็น สมาพันธรัฐแห่งไรน์ (Confederation of the Rhine) เป็นรัฐบริวารของนโปเลียน แคว้นต่าง ๆ ก็ได้เลื่อนขั้น เช่น แซกโซนี บาวาเรีย วืตเตมบูร์ก ได้เป็นอาณาจักร สมาพันธรัฐนำโดยสังฆราช (Primate) คือ คาร์ล ธีโอดอร์ ฟอน ดัลเบิร์ก (Karl Theodore von Dalberg)       รัฐต่าง ๆ ในสมาพันธรัฐจะต้องส่งทัพเข้าช่วยฝรั่งเศส โดยที่ฝรั่งเศสจะให้การปกป้องเป็นการตอนแทน

ปรัสเซียแพ้ฝรั่งเศสที่เยนา (Jena) และเออร์ชตัตด์ (Auerstedt) จนทำสนธิสัญญาทิลซิท (Tilsit) ใน ค.ศ. 1807 ปรัสเซียเสียทางตะวันออกของแม่น้ำเอลเบกลายเป็นแคว้นวอร์ซอว์ (Grand Duchy of Warsaw) และก่อตั้งราชอาณาจักรเวสฟาเลีย (Kingdom of Westphalia) ความพ่ายแพ้ของปรัสเซียทำให้เยอรมนีตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของฝรั่งเศส จนสุดท้ายสมาพันธรัฐประกอบด้วยสี่อาณาจักร (เวสฟาเลีย บาวาเรีย แซกโซนี วืตเตมบูร์ก) ห้าแกรนด์ดัชชี (บาเดน ฮีส เบิร์ก แฟรงก์เฟิร์ต และวืร์ซบูร์ก) สิบสามดัชชี สิบเจ็ดเจ้าชาย และนครรัฐอิสระสามนคร คือฮัมบูร์ก ลือเบค และเบรเมน

ใน ค.ศ. 1813 นโปเลียนพ่ายแพ้สัมพันธมิตรในการรบที่ไลป์ซิก (Leipzig) อำนาจของฝรั่งเศสจึงจบลง สมาพันธรัฐแห่งไรน์จึงถูกยุบ บรรดาชาติต่าง ๆ ในยุโรป จึงฟื้นฟูระบอบราชาธิปไตยในยุโรป จึงตั้งคองเกรสแห่งเวียนนา (Congress of Vienna) มาประชุมหารือ นำโดยเจ้าชายเมตเตอร์นิค (Metternich) อัครเสนาบดีออสเตรีย

 

สมาพันธรัฐเยอรมัน


คองเกรสแห่งเวียนนาให้แคว้นต่าง ๆ ในจักรวรรดิโรมันเดิม รวมตัวกลายเป็นสมาพันธรัฐเยอรมัน (German Confederation) มีจักรพรรดิออสเตรียเป็นประมุข มีสภาสมาพันธรัฐ (Federal Assembly) ที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ตเป็นสภาหารือกิจการบ้านเมือง ทางปรัสเซียก็ได้รับการฟื้นฟูดินแดนคืน มีผลทำให้ออสเตรียและปรัสเซียเป็นสองมหาอำนาจที่แผ่อิทธิพลเข้าครอบงำเยอรมนี

แม้คองเกรสแห่งเวียนนาจะพยายามบีบให้ยุโรปกลับสู่ระบอบสมบูรณายาสิทธฺราชย์สักเพียงใด แต่ก็สายไปแล้ว เพราะด้วยอิทธิพลของฝรั่งเศสและนโปเลียน ทำให้แนวความคิดเสรีนิยม (Liberalism) ฝังรากลงไปในเยอรมนี ใน ค.ศ. 1817 พวกนักศึกษาหัวก้าวหน้าจัดงานเลี้ยงที่เมืองวาร์ตบูร์กเผาทำลายหนังสือที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์ ใน ค.ศ. 1819 นักศึกษาคนหนึ่งสังหารอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเพราะตำหนิแนวความคิดเสรีนิยมและชาตินิยม (Nationalism) ของนักเรียน ทำให้เจ้าชายเมตเตอร์นิคทรงออกกฤษฎีกาคาร์ลสบาด (Karlsbad Decrees) ให้มีการเซนเซอร์หนังสือและควบคุมมหาวิทยาลัยมิให้แนวความคิดปฏิวัติแพร่ไป รวมทั้งลงโทษพวกเสรีนิยมด้วย แต่พวกเสรีนิยมก็เก็บความเคียดแค้นไว้ เกิดนักเขียนหลายท่านตามกระแสโรแมนติค (Romanticism) ที่มีผลงานปรัชญาต่อต้านระบอบกษัตริย์ เรียกว่า สมัยฟอร์ไมซ์ (Vormärz - สมัยก่อนเดือนมีนาคม)

การปฏิวัติอุตสาหกรรมเข้าสู่เยอรมนีในที่สุด สมาพันธรัฐเยอรมัน ยกเว้นออสเตรีย ทำข้อตกลงการค้าเสรีปลอดภาษีกับรัสเซีย รวมกันเป็นเขตเสรีการค้าโชลเฟอเรน (Zollverein)


การปฏิวัติ ปี ค.ศ. 1848ใน ค.ศ. 1848 เกิดการปฏิวัติทั่วยุโรป ในเยอรมนีก็เช่นกัน เรียกว่าการปฏิวัติเดือนมีนาคม (March Revolution) ในแคว้นต่าง ๆ ทั่วเยอรมัน บรรดาเจ้าครองนครต่างเกรงว่าตนจะประสบชะตากรรมเดียวกับกษัตริย์ฝรั่งเศส จึงยอมจำนนแต่โดยดี ขณะปฏิวัติกำลังจะร่างรัฐธรรมนูญที่สภาแฟรงเฟิร์ต และมอบบัลลังก์ให้พระเจ้าเฟรเดอริค วิลเฮมที่ 4 แห่งปรัสเซียไปครอง แต่ทรงปฏิเสธ ทำให้การปฏิวัติล้มเหลวจบลงทันที เจ้าครองแคว้นก็ลุกฮือต่อต้านอีกครั้ง คณะปฏิวัติจึงสลายตัว

 

สาธารณรัฐไวมาร์


สาธารณรัฐไวมาร์ (เยอรมัน: Weimarer Republik ; อังกฤษ: Weimar Republic) เป็นชื่อที่ในปัจจุบันใช้เรียกสาธารณรัฐที่ปกครองประเทศเยอรมนีช่วงตั้งแต่ ค.ศ. 1919 ถึง 1933 ประวัติศาสตร์เยอรมนีช่วงนี้นิยมเรียกว่า ช่วงไวมาร์

ชื่อของสาธารณรัฐนั้นตั้งตามชื่อเมืองไวมาร์ ที่ซึ่งรัฐสภาได้ประชุมกันเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่หลังจากจักรวรรดิเยอรมันถูกล้มล้างลงหลังจากพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ถึงแม้ว่ารูปแบบการปกครองจะเปลี่ยนไป แต่สาธารณรัฐแห่งใหม่นี้ ยังคงเรียกตัวเองว่า "Deutsches Reich" ซึ่งเป็นชื่อเดียวกับในสมัยที่ปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตย ก่อน ค.ศ. 1919

คำว่า "สาธารณรัฐไวมาร์" เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์คิดขึ้นมาใช้ และไม่เคยถูกใช้อย่างเป็นทางการในช่วงที่สาธารณรัฐดังกล่าวดำรงอยู่. ในระหว่างยุคนี้ คำว่า Deutsches Reich ส่วนใหญ่แล้วจะถูกแปลเป็น "The German Reich" ในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ โดยที่คำว่า "Reich" จะไม่ถูกแปลเป็น "Empire" อีกต่อไป

 

 

สร้างโดย: 
นางสาวกัญฐินีภรณ์ ประถมด้วง และ นางสาวสิริลักษณ์ ธิติสิริเวช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 399 คน กำลังออนไลน์