• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:997f97c3870ae7a03fa4705dad633a9b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img width=\"320\" src=\"/files/u39902/heart_rate_monitor.jpg\" height=\"260\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">• <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">หัวใจคนเรามี </span>4 <span lang=\"TH\">ห้อง แบ่งซ้าย-ขวาโดยผนังของกล้ามเนื้อหัวใจ และแบ่งเป็นห้องบน-ล่างโดยลิ้นหัวใจ </span></span><br />\n<span style=\"color: #3366ff\">• <span lang=\"TH\">โดยทุกๆ วัน หัวใจจะเต้นประมาณ </span>100,000 <span lang=\"TH\">ครั้ง และสูบฉีดเลือดประมาณวันละ </span>2,000 <span lang=\"TH\">แกลลอน </span></span><br />\n<span style=\"color: #3366ff\">• <span lang=\"TH\">วงจรการไหลเวียนของเลือด : จะเริ่มจาก หัวใจห้องขวาบนรับเลือดดำจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น แขน ขา</span> </span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"> <span style=\"color: #3366ff\"><span lang=\"TH\">เลือดส่วนนี้จะไหลผ่านลิ้นหัวใจไตรคัสปิด (</span>Tricuspid) <span lang=\"TH\">ไปยังหัวใจห้องขวาล่าง ซึ่งจะบีบตัวตามมาไล่เลือดที่เป็นเลือดดำออกไปฟอกที่ปอด โดยผ่านหลอดเลือดที่เรียกว่า </span>Pulmonary Artery <span lang=\"TH\">เลือดจะถูกฟอกที่ปอดโดยอาศัยการแลกเปลี่ยน </span>gas <span lang=\"TH\">ผ่านทางหลอดเลือดเล็กๆ ที่ผนังถุงลมของปอด จากนั้นเลือดที่เป็นเลือดแดงจะไหลมารวมกันที่หลอดเลือดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า </span>Pulmonary Vein <span lang=\"TH\">เพื่อไหลกลับเข้าสู่หัวใจอีกครั้งที่ห้องซ้ายบน เลือดจะไหลจากห้องซ้ายบนมาห้องซ้ายล่าง โดยผ่านลิ้นหัวใจไมตรัล (</span>Mitral) <span lang=\"TH\">เมื่อเลือดแดงอยู่ในห้องหัวใจซ้ายล่างแล้วก็พร้อมที่จะถูกฉีดออกไปเลี้ยงร่างกายทางหลอดเลือดแดงใหญ่</span> Aorta <span lang=\"TH\">ผ่านลิ้นหัวใจเอออร์ติด (</span>Aortic) <span lang=\"TH\">เมื่อผ่านส่วนต่างๆ แล้ว เลือดจะกลับสู่หัวใจด้านขวาอีกครั้ง</span></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220\"> </span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">โรคลิ้นหัวใจ</span></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"> <span style=\"color: #3366ff\">ที่เป็นปัญหามากที่สุดคือ ลิ้นหัวใจพิการ รูมาห์ติค ซึ่งเป็นผลจากการติดเชื้อคออักเสบ ลักษณะของการที่เกิด คือ เหนื่อยง่ายเวลาออกกำลัง อ่อนเพลีย ไอเรื้อรังและมักไอเวลากลางคืน ไอแห้ง มีอาการใจสั่น ไอเป็นเลือด เป็นลมไม่รู้สติ เจ็บหน้าอก หลอดเลือดที่คอเต้นแรง ผอมแห้ง มีอาการบวม หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ การตรวจเอ็คโค่ (</span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">Echo) </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">จะช่วยบอกถึง</span><span style=\"color: #3366ff\">รายละเอียดของความผิดปกติของหัวใจได้</span></span></span> <br />\n</span><br />\n<span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">โรคหลอดเลือดหัวใจ</span></strong></span> <span style=\"color: #3366ff\">เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ที่พบได้บ่อยที่สุด เกิดจากการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดหัวใจตีบและตันในที่สุด</span></span> </span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p><span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">โรคกล้ามเนื้อหัวใจ</span></strong></span> </span><span style=\"color: #3366ff\">: <span lang=\"TH\">กล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติไม่ว่าจะบีบ หรือคลายตัว กล้ามเนื้อหัวใจหนากว่าปกติ เป็นต้น ซึ่งโรคที่พบบ่อยคือ โรคกล้ามเนื้อหัวใจเสีย เนื่องจากความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการรักษามานาน กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือกล้ามเนื้อหัวใจตายบางส่วน เนื่องจากหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน เป็นต้น</span> </span></p>\n<p><span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">อาการเจ็บหน้าอกที่เกิดจากโรคหัวใจขาดเลือด</span></strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">1. <span lang=\"TH\">เจ็บแน่นๆ อึดอัดบริเวณกลางหน้าอกอาจจะเป็นด้านซ้ายหรือทั้งสองด้าน และมักจะไม่เป็นด้านขวาด้านเดียว บางรายจะร้าวไปที่แขนซ้ายหรือทั้งสองข้าง หรือจุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน</span> <br />\n2. <span lang=\"TH\">อาการตามข้อ </span>1 <span lang=\"TH\">เกิดขึ้นขณะออกกำลัง เช่น เดินเร็วๆ รีบขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห อาการดังกล่าวจะดีขึ้นเมื่อหยุดออกกำลัง</span> <br />\n3. <span lang=\"TH\">ในบางรายที่อาการรุนแรง อาการแน่นหน้าอกอาจเกิดขึ้นในขณะพัก เช่น นั่ง หรือ นอน หลังอาหาร</span> <br />\n4. <span lang=\"TH\">กรณีที่เกิดหลอดเลือดหัวใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน อาการจะรุนแรงมาก อาจมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น เหงื่อออกมาก เป็นลม อาการเช่นนี้ยังพบได้ในโรคของหลอดเลือดแดงใหญ่ปริหรือฉีก</span></span></span><span style=\"color: #3366ff; font-family: \'Tahoma\'\"> </span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">ขาบวม</span></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">: <span lang=\"TH\">อาการขาบวมเกิดจากการที่ร่างกายมีเกลือ (โซเดียม) และน้ำคั่งอยู่ในร่างกาย โดยอาจเกิดจากโรคไตขับเกลือไม่ได้ โรคหลอดเลือดดำอุดตัน การไหลเวียนไม่สะดวก ขาดอาหาร โปรตีนในเลือดต่ำ โรคตับ ยาและฮอร์โมนบางชนิด โรคหัวใจ หรือในบางรายอาจไม่พบสาเหตุ การบวมในผู้ป่วยโรคหัวใจเกิดจากการที่หัวใจด้านขวาทำงานลดลง เลือดจากขาไม่สามารถไหลเทเข้าหัวใจด้านขวาได้โดยสะดวก จึงมีเลือดค้างที่ขามากขึ้น</span></span> </span></span></span></span></p>\n<p><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">ภาวะหลอดเลือดแดงแข็งตัวผิดปกติ เป็นผลมาจากการสะสมของไขมันและแคลเซียมในผนังของหลอดเลือดแดง ภาวะนี้เป็นความเสื่อมของหลอดเลือดที่เกิดขึ้นทั่วร่างกาย ทำให้หลอดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่น เกิดการตีบตัน ผลที่ตามมาคือ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต เช่น หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ ตัน เกิดอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื้อหัวใจตาย หรือหลอดเลือดเลี้ยงสมองตีบ ทำให้เกิดอัมพาต เป็นต้น</span></span> </p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><span lang=\"TH\">หากคุณมีโอกาสลองคลำหลอดเลือดแดงหรือชีพจรที่ข้อศอกด้านในหรือข้อมือของผู้สูงอายุจะพบว่า เป็นเส้นแข็งไม่ยืดหยุ่นเหมือนวัยหนุ่มสาว ทั้งนี้เนื่องจากว่าหลอดเลือดแดงเหล่านี้เกิดการเสื่อมสภาพตามอายุ มีไขมันและหินปูน</span> (</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">แคลเซียม) เข้าไปสะสมอยู่ตามผนังของหลอดเลือดแดง ทำให้หลอดเลือดเสียความยืดหยุ่นและแข็ง ซึ่งหินปูนนี้ไม่เกี่ยวข้องกับปริมาณแคลเซียมใน</span><span style=\"color: #3366ff\">เลือดหรืออาหารที่เรารับประทาน ความจริงแล้วมีหลายปัจจัยที่ทำให้หลอดเลือดแดงเกิดการเสื่อม เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน บุหรี่ เป็นต้น แต่ </span></span><span style=\"color: #3366ff\">“ <span lang=\"TH\">อายุ </span>” <span lang=\"TH\">ก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญมากและเราไม่อาจเลี่ยงได้ หลอดเลือดแดงที่เสื่อมนี้จะเกิดขึ้นทั่วร่างกาย ทั้งหลอดเลือดที่เลี้ยงสมอง หัวใจ ไต ฯลฯ และแน่นอนเมื่อเกิดการเสื่อมก็จะเกิดการตีบตันของหลอดเลือดเล็กๆ ตามมา เป็นผลให้เลือดเลี้ยงสมองลดลง เกิดเนื้อสมองตายเป็นบางส่วน กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจตาย ไตเสื่อม</span></span> </p>\n<p><span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\">ความดันโลหิตสูง</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"> </span></span></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">: <span lang=\"TH\">สาเหตุของการที่ความดันโลหิตสูงพบบ่อยเมื่อมีอายุมากขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากหลอดเลือดแดงแข็งตัวผิดปกติ บางส่วนเป็นผลจากการที่ไตขาดเลือดไปเลี้ยง การลดความดันโลหิตที่สูงลง ก็จะช่วยลดอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดอัมพาตและลดปัญหาจากโรคหัวใจขาดเลือดด้วย ความดันโลหิตในผู้ใหญ่ไม่ว่าจะอายุเท่าไรก็ตาม ควรจะน้อยกว่า </span>140/90 <span lang=\"TH\">มิลลิเมตรปรอท</span></span> <br />\n</span></span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\'\"><br />\n</span><span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">หัวใจเต้นผิดจังหวะ</span></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">: <span lang=\"TH\">หัวใจเต้นผิดจังหวะที่พบได้บ่อย คือ จากห้องบนหรือที่เรียกว่า </span>atrial fibrillation (AF) </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">ชนิดนี้พบได้ในผู้ป่วยโรคปอด โรคหัวใจขาดเลือด โรคลิ้นหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจบางชนิด โรคความดันโลหิตสูง และพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ในผู้ป่วยที่มีอาการหัวใจเต้นผิดปกติชนิดนี้ อาจเกิดลิ่มเลือดเล็กๆ ขึ้นภายในหัวใจ ลิ่มเลือดเล็กๆ เหล่านี้อาจหลุดลอย</span><span style=\"color: #3366ff\">ไปอุดหลอดเลือดเลี้ยงสมองได้ และเป็นต้นเหตุของการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตขึ้น</span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span><br />\n</span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด</span></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">: <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">อายุ พันธุกรรม การสูบบุหรี่ ไขมัน โคเลสเตอรอล ความดันโลหิตสูง ความเครียด เบาหวาน ถ้าหากมีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้มากเท่าไหร่ โอกาสที่จะเกิดโรคก็มากขึ้นเป็นทวีคูณ</span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"> </span></span></o:p></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">ความเป็นจริงแล้วคำว่า </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span><span> </span><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><strong>โรคหัวใจ</strong></span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"> </span></span></span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"> <span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">มีความหมายกว้างมาก อาการที่เกิดจากโรคหัวใจ หรือสัมพันธ์กับหัวใจนั้น มีไม่มากนัก ดังอาการข้างล่างนี้ แต่อย่างไรก็ตาม อาการดังกล่าว ก็มิได้เกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคหัวใจเท่านั้น ยังมีโรคอื่นๆ ที่ให้อาการคล้ายกัน ดังนั้น การที่แพทย์จะพิจารณาให้การวินิจฉัยนั้น จำเป็นต้องอาศัยประวัติอาการโดยละเอียด ร่วมกับการตรวจร่างกาย บางครั้งต้องอาศัยการตรวจพิเศษต่างๆ เช่น เลือด ปัสสาวะ เอกซเรย์ เป็นต้น เพื่อแยกโรคต่างๆ ที่มีอาการคล้ายกัน</span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"></span></span></span></span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\">เจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น ขาบวม เป็นลม วูบ</span></span></strong></span></p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\">เจ็บหน้าอก</span></span></strong></p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">อวัยวะที่อยู่ในทรวงอก นอกจากหัวใจแล้ว ยังมี เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด เยื่อหุ้มปอด หลอดอาหาร หลอดเลือดแดงใหญ่ กระดูกหน้าอก กระดูกซี่โครง เต้านม กล้ามเนื้อบริเวณหน้าอก เมื่อมีการอักเสบ หรือพยาธิสภาพของอวัยวะเหล่านี้ ก็ทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกได้ทั้งสิ้น แต่ลักษณะอาการอาจแตกต่างกัน</span></span><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">อาการต่อไปนี้เข้าได้กับอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด</span></span></span> </span></span></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">1. </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">เจ็บแน่นๆ อึดอัด บริเวณกลางหน้าอก</span> <span style=\"color: #3366ff\">อาจจะเป็นด้านซ้าย หรือ ทั้งสองด้าน (มักจะไม่เป็นด้านขวาด้านเดียว) บางรายจะร้าวไป ที่แขนซ้าย หรือ ทั้งสองข้าง</span> <span style=\"color: #3366ff\">หรือ จุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน</span></span></span><br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">2. <span lang=\"TH\">อาการตามข้อ </span>1 </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">เกิดขึ้นขณะออกกำลัง เช่น</span> <span style=\"color: #3366ff\">เดินเร็วๆ รีบ หรือ ขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห อาการดังกล่าวจะดีขึ้น เมื่อหยุดออกกำลัง</span></span></span><br />\n</span></span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">3. </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">ในบางรายที่อาการรุนแรง อาการแน่นหน้าอกอาจเกิด</span><span style=\"color: #3366ff\">ขึ้นในขณะพัก เช่น นั่ง หรือ นอน หรือ หลังอาหาร</span></span></span><br />\n</span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">4. <span lang=\"TH\">กรณีที่เกิดหลอดเลือดหัวใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน อาการจะรุนแรงมาก อาจมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น เหงื่อออกมาก เป็นลม (อาการเช่นนี้ยังพบได้ ในโรคของหลอดเลือดแดงใหญ่ปริ ฉีก)</span></span></span><br />\n</span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 14pt; color: #000000; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">อาการต่อไปนี้ไม่เหมือนอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด</span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">1. </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">เจ็บแหลมๆ คล้ายเข็มแทง เจ็บแปล๊บๆ เจ็บจุดเดียว กดเจ็บบริเวณหน้าอก</span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">2. </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">อาการเจ็บเกิดขึ้นในขณะพัก มีอาการนานเป็นชั่วโมง หรือเป็นวัน</span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">3. </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">อาการมากขึ้นเมื่อเปลี่ยนท่า หรือ ขยับตัว หรือ หายใจเข้าลึกๆ</span></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">4. </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">อาการเจ็บร้าวขึ้นศีรษะ ปลายมือ ปลายเท้า</span></span></span></span></span></span></span></span><br />\n</span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">อาการตามข้อ </span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><span style=\"color: #3366ff\">1,2 <span lang=\"TH\">และ </span>3 <span lang=\"TH\">อาจเกิดจากกระดูก กล้ามเนื้อหน้าอก เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ</span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p><span lang=\"TH\">อย่างไรก็ตาม การวินิจฉัยโรคหัวใจขาดเลือด นอกจากอาการเจ็บหน้าอกแล้ว ต้องอาศัยประวัติอื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ดังนั้น ในผู้ป่วยบางรายที่อาการไม่เหมือนนัก แต่มีปัจจัยเสี่ยงหลายข้อ ก็ควรได้รับการตรวจพิเศษเพิ่มเติมด้วย</span><br />\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\">หอบ เหนื่อยง่าย</span></span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span lang=\"TH\">อาการหอบ เหนื่อยง่าย เวลาออกแรง เช่น เดิน วิ่ง ทำงาน มีสาเหตุมากมาย เช่น โลหิตจาง (ซีด) โรคอ้วน ความดันโลหิตสูง โรคปอด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ ภาวะหัวใจล้มเหลว (</span>heart failure)</span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"> แม้แต่ความวิตกกังวล หรือ โรคแพนิค ก็ทำให้เหนื่อยได้เช่นกัน อาการเหนื่อยง่ายจากโรคหัวใจ และ ภาวะหัวใจล้มเหลวนั้น จะเหนื่อย หอบ หายใจเร็ว โดยเป็นเวลาออกแรง แต่ในรายที่เป็นรุนแรง จะเหนื่อยในขณะพัก บางรายจะเหนื่อยมากจนนอนราบไม่ได้ (นอนแล้วจะเหนื่อย ไอ) ต้องนอนศีรษะสูงหรือ นั่งหลับ <br />\nคำว่าเหนื่อย หอบ ในความหมายของแพทย์หมายถึง อัตราการหายใจมากกว่าปกติ แต่ในความหมายของผู้ป่วย อาจรวมไปถึง อาการเหนื่อยเพลีย หมดแรง เหนื่อยใจ<br />\nอาการเหนื่อยแบบหมดแรง มือเท้าเย็นชา พูดก็เหนื่อย (โดยอัตราการหายใจปกติ) เหล่านี้มักจะไม่ใช่อาการเหนื่อยจากโรคหัวใจ</span> </span></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n<b><span style=\"font-size: 18pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">ใจสั่น</span></span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><br />\n<span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">ใจสั่นในความหมายแพทย์ หมายถึง การที่หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ผิดจังหวะ หรือ เต้นไม่สม่ำเสมอ เต้นๆ หยุดๆ อาการดังกล่าวอาจพบได้ในคนปกติ โรคหัวใจ และโรคอื่นๆ ที่มีผลต่อหัวใจ เช่น ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคปอด แพทย์จะซักประวัติละเอียด ถึงลักษณะของ อาการใจสั่น เพื่อให้แน่ใจว่า เกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือไม่ บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยรู้สึก ใจสั่น โดยหัวใจเต้นปกติ <br />\n</span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">การตรวจวินิจฉัยกลุ่มอาการใจสั่น เป็นเรื่องที่ทำได้ไม่ง่ายนัก เนื่องจากผู้ป่วยมักมีอาการชั่วขณะ เมื่อมาพบแพทย์อาการดังกล่าว ก็หายไปแล้ว แพทย์จึงไม่สามารถให้การวินิจฉัยได้ว่า เกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือไม่ ดังนั้น ท่านควรศึกษาวิธีจับชีพจรตัวเอง เมื่อเกิดอาการ ว่าหัวใจเต้นกี่ครั้งในเวลา 1 นาที และสม่ำเสมอหรือไม่ ข้อมูลเหล่านี้ จะช่วยให้แพทย์ให้การวินิจฉัยได้รวดเร็วขึ้น</span> </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><br />\n</span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">ขาบวม</span></span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span lang=\"TH\">อาการขาบวม เกิดจากการที่ร่างกายมีเกลือ (โซเดียม) และน้ำคั่งอยู่ในร่างกาย โดยอาจเกิดจากโรคไต (ขับเกลือไม่ได้) โรคหลอดเลือดดำอุดตัน (การไหลเวียนไม่สะดวก) ขาดอาหาร โปรตีนในเลือดต่ำ โรคตับ ยาและฮอร์โมนบางชนิด โรคหัวใจ หรือ ในบางราย ไม่พบสาเหตุ (</span>idiopathic edema)<span lang=\"TH\"> การบวมในผู้ป่วยโรคหัวใจ เกิดจากการที่หัวใจด้านขวาทำงานลดลง เลือดจากขาไม่สามารถ ไหลเทเข้าหัวใจด้านขวาได้โดยสะดวก จึงมีเลือดค้างอยู่ที่ขามากขึ้น โรคเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบเรื้อรัง ก็ให้อาการเช่นนี้ได้เช่นกัน ดังนั้นเมื่อมีอาการขาบวม แพทย์จำเป็นต้องตรวจหลายระบบ เพื่อหาสาเหตุ จึงให้การรักษาได้ถูกต้อง</span><br />\n</span><br />\n</span></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">เป็นลม วูบ</span></span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span lang=\"TH\">คำว่า &quot;วูบ&quot; นี้ เป็นปัญหาในการซักประวัติอย่างมาก เนื่องจากในภาษาไทยคำนี้มีความหมายต่างๆ กัน แต่ในความหมายของแพทย์แล้ว จะตรงกับภาษาอังกฤษว่า </span>syncope<span lang=\"TH\"> หมายถึง การหมดสติ หรือ เกือบหมดสติ ชั่วขณะ โดยอาจรู้สึกหน้ามืด จะเป็นลม ตาลาย มองไม่เห็นภาพชัดเจน โดยอาการเป็นอยู่ชั่วขณะ ไม่รวมถึงอาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน โคลงเครง วูบวาบตามตัว หายใจไม่ออก อาการดังกล่าวอาจเกิดจาก ความผิดปกติของสมอง เช่น ลมชัก (แม้จะไม่ชักให้เห็น) เลือดออกในสมอง ความผิดปกติของหัวใจ เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดร้ายแรง หรือหยุดเต้นชั่วขณะ หรือ ความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมหัวใจ นอกจากนั้นแล้ว &quot;วูบ&quot; ยังอาจพบได้ในคนปกติที่ขาดน้ำ เสียเลือด ท้องเสีย ไม่สบาย ขาดการออกกำลังกาย ยาลดความดันโลหิต อีกด้วย </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Tahoma\'\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"> </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><br />\n</span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"></span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'DSN Ribbon\'\"><br />\n</span></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1715968849, expire = 1716055249, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:997f97c3870ae7a03fa4705dad633a9b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคหัวใจ

 

หัวใจคนเรามี 4 ห้อง แบ่งซ้าย-ขวาโดยผนังของกล้ามเนื้อหัวใจ และแบ่งเป็นห้องบน-ล่างโดยลิ้นหัวใจ
โดยทุกๆ วัน หัวใจจะเต้นประมาณ 100,000 ครั้ง และสูบฉีดเลือดประมาณวันละ 2,000 แกลลอน
วงจรการไหลเวียนของเลือด : จะเริ่มจาก หัวใจห้องขวาบนรับเลือดดำจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น แขน ขา
    เลือดส่วนนี้จะไหลผ่านลิ้นหัวใจไตรคัสปิด (Tricuspid) ไปยังหัวใจห้องขวาล่าง ซึ่งจะบีบตัวตามมาไล่เลือดที่เป็นเลือดดำออกไปฟอกที่ปอด โดยผ่านหลอดเลือดที่เรียกว่า Pulmonary Artery เลือดจะถูกฟอกที่ปอดโดยอาศัยการแลกเปลี่ยน gas ผ่านทางหลอดเลือดเล็กๆ ที่ผนังถุงลมของปอด จากนั้นเลือดที่เป็นเลือดแดงจะไหลมารวมกันที่หลอดเลือดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า Pulmonary Vein เพื่อไหลกลับเข้าสู่หัวใจอีกครั้งที่ห้องซ้ายบน เลือดจะไหลจากห้องซ้ายบนมาห้องซ้ายล่าง โดยผ่านลิ้นหัวใจไมตรัล (Mitral) เมื่อเลือดแดงอยู่ในห้องหัวใจซ้ายล่างแล้วก็พร้อมที่จะถูกฉีดออกไปเลี้ยงร่างกายทางหลอดเลือดแดงใหญ่ Aorta ผ่านลิ้นหัวใจเอออร์ติด (Aortic) เมื่อผ่านส่วนต่างๆ แล้ว เลือดจะกลับสู่หัวใจด้านขวาอีกครั้ง 


โรคลิ้นหัวใจ ที่เป็นปัญหามากที่สุดคือ ลิ้นหัวใจพิการ รูมาห์ติค ซึ่งเป็นผลจากการติดเชื้อคออักเสบ ลักษณะของการที่เกิด คือ เหนื่อยง่ายเวลาออกกำลัง อ่อนเพลีย ไอเรื้อรังและมักไอเวลากลางคืน ไอแห้ง มีอาการใจสั่น ไอเป็นเลือด เป็นลมไม่รู้สติ เจ็บหน้าอก หลอดเลือดที่คอเต้นแรง ผอมแห้ง มีอาการบวม หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ การตรวจเอ็คโค่ (Echo) จะช่วยบอกถึงรายละเอียดของความผิดปกติของหัวใจได้

โรคหลอดเลือดหัวใจ เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่ที่พบได้บ่อยที่สุด เกิดจากการสะสมของไขมันที่ผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดหัวใจตีบและตันในที่สุด

โรคกล้ามเนื้อหัวใจ : กล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติไม่ว่าจะบีบ หรือคลายตัว กล้ามเนื้อหัวใจหนากว่าปกติ เป็นต้น ซึ่งโรคที่พบบ่อยคือ โรคกล้ามเนื้อหัวใจเสีย เนื่องจากความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการรักษามานาน กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือกล้ามเนื้อหัวใจตายบางส่วน เนื่องจากหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน เป็นต้น

อาการเจ็บหน้าอกที่เกิดจากโรคหัวใจขาดเลือด

 

1. เจ็บแน่นๆ อึดอัดบริเวณกลางหน้าอกอาจจะเป็นด้านซ้ายหรือทั้งสองด้าน และมักจะไม่เป็นด้านขวาด้านเดียว บางรายจะร้าวไปที่แขนซ้ายหรือทั้งสองข้าง หรือจุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน
2. อาการตามข้อ 1 เกิดขึ้นขณะออกกำลัง เช่น เดินเร็วๆ รีบขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห อาการดังกล่าวจะดีขึ้นเมื่อหยุดออกกำลัง
3. ในบางรายที่อาการรุนแรง อาการแน่นหน้าอกอาจเกิดขึ้นในขณะพัก เช่น นั่ง หรือ นอน หลังอาหาร
4. กรณีที่เกิดหลอดเลือดหัวใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน อาการจะรุนแรงมาก อาจมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น เหงื่อออกมาก เป็นลม อาการเช่นนี้ยังพบได้ในโรคของหลอดเลือดแดงใหญ่ปริหรือฉีก

ขาบวม : อาการขาบวมเกิดจากการที่ร่างกายมีเกลือ (โซเดียม) และน้ำคั่งอยู่ในร่างกาย โดยอาจเกิดจากโรคไตขับเกลือไม่ได้ โรคหลอดเลือดดำอุดตัน การไหลเวียนไม่สะดวก ขาดอาหาร โปรตีนในเลือดต่ำ โรคตับ ยาและฮอร์โมนบางชนิด โรคหัวใจ หรือในบางรายอาจไม่พบสาเหตุ การบวมในผู้ป่วยโรคหัวใจเกิดจากการที่หัวใจด้านขวาทำงานลดลง เลือดจากขาไม่สามารถไหลเทเข้าหัวใจด้านขวาได้โดยสะดวก จึงมีเลือดค้างที่ขามากขึ้น

ภาวะหลอดเลือดแดงแข็งตัวผิดปกติ เป็นผลมาจากการสะสมของไขมันและแคลเซียมในผนังของหลอดเลือดแดง ภาวะนี้เป็นความเสื่อมของหลอดเลือดที่เกิดขึ้นทั่วร่างกาย ทำให้หลอดเลือดแดงเสียความยืดหยุ่น เกิดการตีบตัน ผลที่ตามมาคือ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต เช่น หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ ตัน เกิดอาการเจ็บหน้าอก กล้ามเนื้อหัวใจตาย หรือหลอดเลือดเลี้ยงสมองตีบ ทำให้เกิดอัมพาต เป็นต้น

หากคุณมีโอกาสลองคลำหลอดเลือดแดงหรือชีพจรที่ข้อศอกด้านในหรือข้อมือของผู้สูงอายุจะพบว่า เป็นเส้นแข็งไม่ยืดหยุ่นเหมือนวัยหนุ่มสาว ทั้งนี้เนื่องจากว่าหลอดเลือดแดงเหล่านี้เกิดการเสื่อมสภาพตามอายุ มีไขมันและหินปูน (แคลเซียม) เข้าไปสะสมอยู่ตามผนังของหลอดเลือดแดง ทำให้หลอดเลือดเสียความยืดหยุ่นและแข็ง ซึ่งหินปูนนี้ไม่เกี่ยวข้องกับปริมาณแคลเซียมในเลือดหรืออาหารที่เรารับประทาน ความจริงแล้วมีหลายปัจจัยที่ทำให้หลอดเลือดแดงเกิดการเสื่อม เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน บุหรี่ เป็นต้น แต่ อายุ ก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญมากและเราไม่อาจเลี่ยงได้ หลอดเลือดแดงที่เสื่อมนี้จะเกิดขึ้นทั่วร่างกาย ทั้งหลอดเลือดที่เลี้ยงสมอง หัวใจ ไต ฯลฯ และแน่นอนเมื่อเกิดการเสื่อมก็จะเกิดการตีบตันของหลอดเลือดเล็กๆ ตามมา เป็นผลให้เลือดเลี้ยงสมองลดลง เกิดเนื้อสมองตายเป็นบางส่วน กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจตาย ไตเสื่อม

ความดันโลหิตสูง : สาเหตุของการที่ความดันโลหิตสูงพบบ่อยเมื่อมีอายุมากขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากหลอดเลือดแดงแข็งตัวผิดปกติ บางส่วนเป็นผลจากการที่ไตขาดเลือดไปเลี้ยง การลดความดันโลหิตที่สูงลง ก็จะช่วยลดอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดอัมพาตและลดปัญหาจากโรคหัวใจขาดเลือดด้วย ความดันโลหิตในผู้ใหญ่ไม่ว่าจะอายุเท่าไรก็ตาม ควรจะน้อยกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท

หัวใจเต้นผิดจังหวะ : หัวใจเต้นผิดจังหวะที่พบได้บ่อย คือ จากห้องบนหรือที่เรียกว่า atrial fibrillation (AF) ชนิดนี้พบได้ในผู้ป่วยโรคปอด โรคหัวใจขาดเลือด โรคลิ้นหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจบางชนิด โรคความดันโลหิตสูง และพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ในผู้ป่วยที่มีอาการหัวใจเต้นผิดปกติชนิดนี้ อาจเกิดลิ่มเลือดเล็กๆ ขึ้นภายในหัวใจ ลิ่มเลือดเล็กๆ เหล่านี้อาจหลุดลอยไปอุดหลอดเลือดเลี้ยงสมองได้ และเป็นต้นเหตุของการเกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตขึ้น


ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด : อายุ พันธุกรรม การสูบบุหรี่ ไขมัน โคเลสเตอรอล ความดันโลหิตสูง ความเครียด เบาหวาน ถ้าหากมีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้มากเท่าไหร่ โอกาสที่จะเกิดโรคก็มากขึ้นเป็นทวีคูณ
 ความเป็นจริงแล้วคำว่า  โรคหัวใจ  มีความหมายกว้างมาก อาการที่เกิดจากโรคหัวใจ หรือสัมพันธ์กับหัวใจนั้น มีไม่มากนัก ดังอาการข้างล่างนี้ แต่อย่างไรก็ตาม อาการดังกล่าว ก็มิได้เกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคหัวใจเท่านั้น ยังมีโรคอื่นๆ ที่ให้อาการคล้ายกัน ดังนั้น การที่แพทย์จะพิจารณาให้การวินิจฉัยนั้น จำเป็นต้องอาศัยประวัติอาการโดยละเอียด ร่วมกับการตรวจร่างกาย บางครั้งต้องอาศัยการตรวจพิเศษต่างๆ เช่น เลือด ปัสสาวะ เอกซเรย์ เป็นต้น เพื่อแยกโรคต่างๆ ที่มีอาการคล้ายกัน

เจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น ขาบวม เป็นลม วูบ

เจ็บหน้าอก

อวัยวะที่อยู่ในทรวงอก นอกจากหัวใจแล้ว ยังมี เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด เยื่อหุ้มปอด หลอดอาหาร หลอดเลือดแดงใหญ่ กระดูกหน้าอก กระดูกซี่โครง เต้านม กล้ามเนื้อบริเวณหน้าอก เมื่อมีการอักเสบ หรือพยาธิสภาพของอวัยวะเหล่านี้ ก็ทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกได้ทั้งสิ้น แต่ลักษณะอาการอาจแตกต่างกัน

อาการต่อไปนี้เข้าได้กับอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด

 

1. เจ็บแน่นๆ อึดอัด บริเวณกลางหน้าอก อาจจะเป็นด้านซ้าย หรือ ทั้งสองด้าน (มักจะไม่เป็นด้านขวาด้านเดียว) บางรายจะร้าวไป ที่แขนซ้าย หรือ ทั้งสองข้าง หรือ จุกแน่นที่คอ บางรายเจ็บบริเวณกรามคล้ายเจ็บฟัน
2. อาการตามข้อ 1 เกิดขึ้นขณะออกกำลัง เช่น เดินเร็วๆ รีบ หรือ ขึ้นบันได วิ่ง โกรธโมโห อาการดังกล่าวจะดีขึ้น เมื่อหยุดออกกำลัง
3. ในบางรายที่อาการรุนแรง อาการแน่นหน้าอกอาจเกิดขึ้นในขณะพัก เช่น นั่ง หรือ นอน หรือ หลังอาหาร
4. กรณีที่เกิดหลอดเลือดหัวใจอุดตัน กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน อาการจะรุนแรงมาก อาจมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น เหงื่อออกมาก เป็นลม (อาการเช่นนี้ยังพบได้ ในโรคของหลอดเลือดแดงใหญ่ปริ ฉีก)


อาการต่อไปนี้ไม่เหมือนอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด

1. เจ็บแหลมๆ คล้ายเข็มแทง เจ็บแปล๊บๆ เจ็บจุดเดียว กดเจ็บบริเวณหน้าอก
2. อาการเจ็บเกิดขึ้นในขณะพัก มีอาการนานเป็นชั่วโมง หรือเป็นวัน
3. อาการมากขึ้นเมื่อเปลี่ยนท่า หรือ ขยับตัว หรือ หายใจเข้าลึกๆ
4. อาการเจ็บร้าวขึ้นศีรษะ ปลายมือ ปลายเท้า


อาการตามข้อ 1,2 และ 3 อาจเกิดจากกระดูก กล้ามเนื้อหน้าอก เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ

อย่างไรก็ตาม การวินิจฉัยโรคหัวใจขาดเลือด นอกจากอาการเจ็บหน้าอกแล้ว ต้องอาศัยประวัติอื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ดังนั้น ในผู้ป่วยบางรายที่อาการไม่เหมือนนัก แต่มีปัจจัยเสี่ยงหลายข้อ ก็ควรได้รับการตรวจพิเศษเพิ่มเติมด้วย

หอบ เหนื่อยง่าย
อาการหอบ เหนื่อยง่าย เวลาออกแรง เช่น เดิน วิ่ง ทำงาน มีสาเหตุมากมาย เช่น โลหิตจาง (ซีด) โรคอ้วน ความดันโลหิตสูง โรคปอด ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคหัวใจ ภาวะหัวใจล้มเหลว (heart failure) แม้แต่ความวิตกกังวล หรือ โรคแพนิค ก็ทำให้เหนื่อยได้เช่นกัน อาการเหนื่อยง่ายจากโรคหัวใจ และ ภาวะหัวใจล้มเหลวนั้น จะเหนื่อย หอบ หายใจเร็ว โดยเป็นเวลาออกแรง แต่ในรายที่เป็นรุนแรง จะเหนื่อยในขณะพัก บางรายจะเหนื่อยมากจนนอนราบไม่ได้ (นอนแล้วจะเหนื่อย ไอ) ต้องนอนศีรษะสูงหรือ นั่งหลับ
คำว่าเหนื่อย หอบ ในความหมายของแพทย์หมายถึง อัตราการหายใจมากกว่าปกติ แต่ในความหมายของผู้ป่วย อาจรวมไปถึง อาการเหนื่อยเพลีย หมดแรง เหนื่อยใจ
อาการเหนื่อยแบบหมดแรง มือเท้าเย็นชา พูดก็เหนื่อย (โดยอัตราการหายใจปกติ) เหล่านี้มักจะไม่ใช่อาการเหนื่อยจากโรคหัวใจ


ใจสั่น
ใจสั่นในความหมายแพทย์ หมายถึง การที่หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ผิดจังหวะ หรือ เต้นไม่สม่ำเสมอ เต้นๆ หยุดๆ อาการดังกล่าวอาจพบได้ในคนปกติ โรคหัวใจ และโรคอื่นๆ ที่มีผลต่อหัวใจ เช่น ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ โรคปอด แพทย์จะซักประวัติละเอียด ถึงลักษณะของ อาการใจสั่น เพื่อให้แน่ใจว่า เกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือไม่ บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยรู้สึก ใจสั่น โดยหัวใจเต้นปกติ
การตรวจวินิจฉัยกลุ่มอาการใจสั่น เป็นเรื่องที่ทำได้ไม่ง่ายนัก เนื่องจากผู้ป่วยมักมีอาการชั่วขณะ เมื่อมาพบแพทย์อาการดังกล่าว ก็หายไปแล้ว แพทย์จึงไม่สามารถให้การวินิจฉัยได้ว่า เกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือไม่ ดังนั้น ท่านควรศึกษาวิธีจับชีพจรตัวเอง เมื่อเกิดอาการ ว่าหัวใจเต้นกี่ครั้งในเวลา 1 นาที และสม่ำเสมอหรือไม่ ข้อมูลเหล่านี้ จะช่วยให้แพทย์ให้การวินิจฉัยได้รวดเร็วขึ้น


ขาบวม
อาการขาบวม เกิดจากการที่ร่างกายมีเกลือ (โซเดียม) และน้ำคั่งอยู่ในร่างกาย โดยอาจเกิดจากโรคไต (ขับเกลือไม่ได้) โรคหลอดเลือดดำอุดตัน (การไหลเวียนไม่สะดวก) ขาดอาหาร โปรตีนในเลือดต่ำ โรคตับ ยาและฮอร์โมนบางชนิด โรคหัวใจ หรือ ในบางราย ไม่พบสาเหตุ (idiopathic edema) การบวมในผู้ป่วยโรคหัวใจ เกิดจากการที่หัวใจด้านขวาทำงานลดลง เลือดจากขาไม่สามารถ ไหลเทเข้าหัวใจด้านขวาได้โดยสะดวก จึงมีเลือดค้างอยู่ที่ขามากขึ้น โรคเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบเรื้อรัง ก็ให้อาการเช่นนี้ได้เช่นกัน ดังนั้นเมื่อมีอาการขาบวม แพทย์จำเป็นต้องตรวจหลายระบบ เพื่อหาสาเหตุ จึงให้การรักษาได้ถูกต้อง

เป็นลม วูบ
คำว่า "วูบ" นี้ เป็นปัญหาในการซักประวัติอย่างมาก เนื่องจากในภาษาไทยคำนี้มีความหมายต่างๆ กัน แต่ในความหมายของแพทย์แล้ว จะตรงกับภาษาอังกฤษว่า syncope หมายถึง การหมดสติ หรือ เกือบหมดสติ ชั่วขณะ โดยอาจรู้สึกหน้ามืด จะเป็นลม ตาลาย มองไม่เห็นภาพชัดเจน โดยอาการเป็นอยู่ชั่วขณะ ไม่รวมถึงอาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน โคลงเครง วูบวาบตามตัว หายใจไม่ออก อาการดังกล่าวอาจเกิดจาก ความผิดปกติของสมอง เช่น ลมชัก (แม้จะไม่ชักให้เห็น) เลือดออกในสมอง ความผิดปกติของหัวใจ เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดร้ายแรง หรือหยุดเต้นชั่วขณะ หรือ ความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมหัวใจ นอกจากนั้นแล้ว "วูบ" ยังอาจพบได้ในคนปกติที่ขาดน้ำ เสียเลือด ท้องเสีย ไม่สบาย ขาดการออกกำลังกาย ยาลดความดันโลหิต อีกด้วย
 

 


สร้างโดย: 
VanDa

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 326 คน กำลังออนไลน์