• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a7c4e696aa47fe344d207b7a976ded8a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #d97c25\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"123\" width=\"500\" src=\"/files/u31541/t6.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"294\" width=\"415\" src=\"/files/u31541/14.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 349px; height: 230px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.ruendham.com/admin/images/news/DE0000235.jpg\"><u><span style=\"color: #808080\"><span style=\"color: #808080\"><span style=\"color: #999999\">http://www.ruendham.com/admin/images/news/DE0000235.jpg</span></span></span></u></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"40\" width=\"200\" src=\"/files/u31541/1159005971.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #d97c25\"><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #993300\">ว่ากันตามทฤษฎีแล้ว เราสามารถแบ่งวิธีรับมือกับความเครียดได้เป็นสองแบบใหญ่ ๆ</span> <br />\n</span></span></strong><strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"375\" width=\"500\" src=\"/files/u31541/15.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 337px; height: 229px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://tamdee.udomtam.com/home/attachment/200903/31/4_12384760223g8p.jpg\"><u><span style=\"color: #808080\"><span style=\"color: #808080\"><span style=\"color: #999999\">http://tamdee.udomtam.com/home/attachment/200903/31/4_12384760223g8p.jpg</span></span></span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #d97c25\"><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #99ccff\">1. Arousal Management <br />\nหากเรามองความเครียดเสมือนเหรียญสองด้านที่ต้องประกอบไปด้วยกัน-นั่นก็คือตัวเราและสิ่งแวดล้อม-หลายครั้งความเครียดก็เป็นผลมาจากการตอบสนองที่มากเกินพอดีของร่างกาย วิธีนี้จัดเป็นวิธีควบคุมการแสดงออกขณะร่างกายเผชิญกับความเครียดโดยเน้นเพิ่มการทำงานของระบบประสาท &quot;พาราซิมพาเธติก&quot; (Parasympathetic) ซึ่งเป็นระบบประสาทอัตโนวัติอีกด้านหนึ่งที่ทำงานตรงข้ามเป็นคานงัดของระบบซิมพาเธติก หลักการง่าย ๆ แต่ได้ผลทันตาก็เช่น การหายใจลึก ๆ, ฝึกนั่งสมาธิ, รวมไปถึงการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอซึ่งนอกจากจะช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดแล้ว การเล่นกีฬายังเป็นการเตรียมร่างกายให้ทนต่อความเครียดได้ดีและหาเพื่อนคู่ใจไว้ช่วยเหลือยามไม่มีเงินทานข้าว เอ๊ย ยามไม่สบายใจอีกด้วย หากจะพูดว่า Arousal Management ก็คือการฝึกควบคุมจิตใจของเราให้รู้จักแสดงออกก็ไม่ผิดนัก แนะนำว่าถ้าเป็นไปได้ควรทำจนเป็นนิสัย</span></span></span> <br />\n</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"500\" width=\"431\" src=\"/files/u31541/16.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 213px; height: 254px\" /></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/669/669/images/learn.jpg\"><span style=\"color: #808080\"><u><span style=\"color: #999999\">http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/669/669/images/learn.jpg</span></u></span></a>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #d97c25\"><span style=\"color: #99ccff\"></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #d97c25\"><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #cc99ff\">2. Transaction Management <br />\nเป็นการจัดการกับธรรมชาติ-อีกด้านหนึ่งของเหรียญแห่งความเครียด-โดยสามารถแยกได้เป็นสองวิธีย่อย ๆ ได้แก่ <br />\n</span></span></span></strong><strong><span style=\"color: #d97c25\"><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #cc99ff\">- Problem-focused coping &quot;แก้ที่ปัญหา&quot; เช่น กลัวสอบตกก็ต้องตั้งใจเรียน, กลัวไปทำงานไม่ทันก็ออกจากบ้านตั้งแต่เช้า, กลัวซื้อหวยไม่ถูกก็ล่อซื้อทุกเบอร์ เป็นต้น <br />\nนับได้ว่าเป็นวิธีที่ตรงจุดตรงประเด็นมากที่สุด เพราะมุ่งมองว่าสิ่งใดคือตัวปัญหาที่ทำให้เราเครียดเราก็ไปแก้จุดนั้น แต่โลกมันไม่ได้ง่ายไปซะทุกเรื่อง, จริงมั้ย? <br />\n- Emotion-focused coping &quot;แก้ที่การมองปัญหา&quot; มักจะเป็นวิธีที่ใช้เมื่อปัญหาไม่มีทีท่าจะสิ้นสุด หรือยิ่งใหญ่เกินตัว มักจะใช้ได้ดีในช่วงสั้น ๆ เพราะปัญหาจริง ๆ ยังไม่ได้รับการแก้ไข ตัวอย่างสำคัญเช่น <br />\n- การดึงตัวเองออกจากสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดความเครียด ซึ่งก็คือการหลบหนีมองไม่เห็นปัญหาซะเลย เช่น อ่านหนังสือไม่รู้เรื่องไปดูหนังดีกว่า หรือ... <br />\n- พยายามเปลี่ยนมุมมองต่อปัญหา เช่น ลองมองหาด้านดีของปัญหา เช่น พอจะสอบก็คิดว่าได้มีโอกาสทบทวนความรู้ ถ้าข้อสอบมันยากแล้วเราสอบผ่านก็ถือเป็นเรื่องท้าทาย, การเอาตัวเราเองเปรียบเทียบ (แบบในใจ) กับคนอื่นที่ด้อยกว่า เป็นต้น <br />\nมีการสำรวจว่าผู้ที่รับมือความเครียดอย่างถูกวิธีจะมีสุขภาพแข็งแรง อายุยืน มีความสัมพันธ์ต่อคนรอบข้างและประสบความสำเร็จในชีวิตมากกว่าผู้ที่รับมือกับความเครียดแบบผิด ๆ คงเป็นเพราะบุคคลในกลุ่มแรกมักจะใช้พฤติกรรมที่มีประโยชน์ในการแก้ปัญหา ผลก็คือสามารถลดระดับความเครียดของตนเองได้อย่างแท้จริง ร่างกายจึงไม่ได้รับแรงกระทบมากนัก นอกจากนี้ยังสามารถดึงแรงสนับสนุนจากสังคมรอบข้าง (Social Support) เข้ามาเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการฝ่าฟันอุปสรรคได้อีกด้วย <br />\nข้างต้นจึงเป็นสิ่งที่ใช้ได้จริง หากแต่ต้องรู้จักใช้ให้เป็นเพราะวิธีการแต่ละแบบก็เหมาะกับคน และสถานการณ์ต่างกัน พยายามใช้หลายวิธีร่วมกันในการแก้ปัญหา สำรวจตัวเองอยู่เสมอเพื่อประเมินตลอดจนปรับเปลี่ยนวิธีที่ไม่ได้ผล ที่สำคัญต้องไม่ใช้วิธีการคลายเครียดแบบผิด</span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #d97c25\"><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #d97c25\"><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong> <img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" /></strong>     <img height=\"33\" width=\"436\" src=\"/files/u40053/47afcef8c118f.gif\" border=\"0\" />      <img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/81706\"><img height=\"136\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/210.gif\" border=\"0\" /></a><strong>       </strong><a href=\"/node/82882\"><strong><img height=\"135\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/211.gif\" border=\"0\" /></strong></a><strong> </strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #d97c25\"><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n</p>', created = 1719374686, expire = 1719461086, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a7c4e696aa47fe344d207b7a976ded8a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การรับมือกับความเครียด

 

http://www.ruendham.com/admin/images/news/DE0000235.jpg

 

 

ว่ากันตามทฤษฎีแล้ว เราสามารถแบ่งวิธีรับมือกับความเครียดได้เป็นสองแบบใหญ่ ๆ

http://tamdee.udomtam.com/home/attachment/200903/31/4_12384760223g8p.jpg

 

1. Arousal Management
หากเรามองความเครียดเสมือนเหรียญสองด้านที่ต้องประกอบไปด้วยกัน-นั่นก็คือตัวเราและสิ่งแวดล้อม-หลายครั้งความเครียดก็เป็นผลมาจากการตอบสนองที่มากเกินพอดีของร่างกาย วิธีนี้จัดเป็นวิธีควบคุมการแสดงออกขณะร่างกายเผชิญกับความเครียดโดยเน้นเพิ่มการทำงานของระบบประสาท "พาราซิมพาเธติก" (Parasympathetic) ซึ่งเป็นระบบประสาทอัตโนวัติอีกด้านหนึ่งที่ทำงานตรงข้ามเป็นคานงัดของระบบซิมพาเธติก หลักการง่าย ๆ แต่ได้ผลทันตาก็เช่น การหายใจลึก ๆ, ฝึกนั่งสมาธิ, รวมไปถึงการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอซึ่งนอกจากจะช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดแล้ว การเล่นกีฬายังเป็นการเตรียมร่างกายให้ทนต่อความเครียดได้ดีและหาเพื่อนคู่ใจไว้ช่วยเหลือยามไม่มีเงินทานข้าว เอ๊ย ยามไม่สบายใจอีกด้วย หากจะพูดว่า Arousal Management ก็คือการฝึกควบคุมจิตใจของเราให้รู้จักแสดงออกก็ไม่ผิดนัก แนะนำว่าถ้าเป็นไปได้ควรทำจนเป็นนิสัย

http://blog.spu.ac.th/home/blog_data/669/669/images/learn.jpg

2. Transaction Management
เป็นการจัดการกับธรรมชาติ-อีกด้านหนึ่งของเหรียญแห่งความเครียด-โดยสามารถแยกได้เป็นสองวิธีย่อย ๆ ได้แก่
- Problem-focused coping "แก้ที่ปัญหา" เช่น กลัวสอบตกก็ต้องตั้งใจเรียน, กลัวไปทำงานไม่ทันก็ออกจากบ้านตั้งแต่เช้า, กลัวซื้อหวยไม่ถูกก็ล่อซื้อทุกเบอร์ เป็นต้น
นับได้ว่าเป็นวิธีที่ตรงจุดตรงประเด็นมากที่สุด เพราะมุ่งมองว่าสิ่งใดคือตัวปัญหาที่ทำให้เราเครียดเราก็ไปแก้จุดนั้น แต่โลกมันไม่ได้ง่ายไปซะทุกเรื่อง, จริงมั้ย?
- Emotion-focused coping "แก้ที่การมองปัญหา" มักจะเป็นวิธีที่ใช้เมื่อปัญหาไม่มีทีท่าจะสิ้นสุด หรือยิ่งใหญ่เกินตัว มักจะใช้ได้ดีในช่วงสั้น ๆ เพราะปัญหาจริง ๆ ยังไม่ได้รับการแก้ไข ตัวอย่างสำคัญเช่น
- การดึงตัวเองออกจากสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดความเครียด ซึ่งก็คือการหลบหนีมองไม่เห็นปัญหาซะเลย เช่น อ่านหนังสือไม่รู้เรื่องไปดูหนังดีกว่า หรือ...
- พยายามเปลี่ยนมุมมองต่อปัญหา เช่น ลองมองหาด้านดีของปัญหา เช่น พอจะสอบก็คิดว่าได้มีโอกาสทบทวนความรู้ ถ้าข้อสอบมันยากแล้วเราสอบผ่านก็ถือเป็นเรื่องท้าทาย, การเอาตัวเราเองเปรียบเทียบ (แบบในใจ) กับคนอื่นที่ด้อยกว่า เป็นต้น
มีการสำรวจว่าผู้ที่รับมือความเครียดอย่างถูกวิธีจะมีสุขภาพแข็งแรง อายุยืน มีความสัมพันธ์ต่อคนรอบข้างและประสบความสำเร็จในชีวิตมากกว่าผู้ที่รับมือกับความเครียดแบบผิด ๆ คงเป็นเพราะบุคคลในกลุ่มแรกมักจะใช้พฤติกรรมที่มีประโยชน์ในการแก้ปัญหา ผลก็คือสามารถลดระดับความเครียดของตนเองได้อย่างแท้จริง ร่างกายจึงไม่ได้รับแรงกระทบมากนัก นอกจากนี้ยังสามารถดึงแรงสนับสนุนจากสังคมรอบข้าง (Social Support) เข้ามาเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการฝ่าฟันอุปสรรคได้อีกด้วย
ข้างต้นจึงเป็นสิ่งที่ใช้ได้จริง หากแต่ต้องรู้จักใช้ให้เป็นเพราะวิธีการแต่ละแบบก็เหมาะกับคน และสถานการณ์ต่างกัน พยายามใช้หลายวิธีร่วมกันในการแก้ปัญหา สำรวจตัวเองอยู่เสมอเพื่อประเมินตลอดจนปรับเปลี่ยนวิธีที่ไม่ได้ผล ที่สำคัญต้องไม่ใช้วิธีการคลายเครียดแบบผิด

 

           

      

สร้างโดย: 
นางสาวกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวจีราภรณ์ จารุอำไพแสง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 515 คน กำลังออนไลน์