• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d1d49ab58819735623ef50cda690973d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"123\" width=\"500\" src=\"/files/u40053/t7.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"339\" width=\"311\" src=\"/files/u40053/44.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 219px; height: 219px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://women.sanook.com/story_picture/b/51331_002.jpg\"><u><span style=\"color: #999999\">http://women.sanook.com/story_picture/b/51331_002.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"><strong><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff99cc\">โดยทั่วไปความเครียดมักจะเกิดขึ้นเป็นช่วงสั้น ๆ และหายไปเมื่อเราผ่านเหตุการณ์นั้น ๆ เช่น ในช่วงสอบนักเรียนมักจะรู้สึกกังวลว่าจะทำข้อสอบไม่ได้ หรือพนักงานบริษัทกลัวว่าจะไปทำงานไม่ทันขณะขับรถที่ติดแง่กอยู่บนทางด่วน เป็นต้น เนื่องจากเกิดขึ้นในระยะเวลาไม่นาน ความเครียดประเภทนี้จึงไม่ได้ส่งผลร้ายต่อร่างกายคนเรามากนัก แต่ก็อาจจะทำให้รู้สึกปวดหัว ปวดกล้ามเนื้อ หรือท้องไส้ปั่นป่วนได้ <br />\nเราเรียกความเครียดชนิดนี้ว่า &quot;ความเครียดชนิดเฉียบพลัน&quot; (Acute Stress) <br />\nแต่ถ้ามนุษย์ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่กดดัน บีบบังคับ หรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เรารู้สึกไม่สบายใจบ่อยครั้ง ตลอดจนความเครียดนั้นไม่มีทีท่าว่าจะบรรเทาหรือหมดไป ก็จะทำให้เกิดภาวะ &quot;ความเครียดเรื้อรัง&quot; (Chronic Stress) ขึ้นมาได้ <br />\nเปรียบเสมือนการวิ่งมาราธอน แต่นักวิ่งต้องห้อเต็มสปีดตั้งแต่เริ่ม, ร่างกายที่ถูกกระตุ้นอยู่ตลอดเวลาและเป็นระยะเวลานาน ๆ ก็จะถึงคราวหมดแรง เพราะฉะนั้นความเครียดประเภทนี้จึงก่อให้เกิดผลเสียอย่างรุนแรงต่อสุขภาพ ตลอดจนรบกวนการดำเนินชีวิตอันปกติสุขของเรา <br />\nผลโดยตรงของความเครียดต่อสุขภาพได้แก่เป็นโรคติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนทั่วไป นอกจากนี้ความเครียดยังเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลที่ประสบกับมันเปลี่ยนแปลงจากพฤติกรรมปกติที่เป็นประโยชน์ไปเป็นพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงและก่อให้เกิดโทษแก่ร่างกายเพื่อคลายความเครียดเช่น ดื่มเหล้า เคล้าผู้หญิง ยิงผู้ชาย ขายยาบ้า ฯลฯ อย่างนี้คงทราบแล้ว.....ว่าทำไมคนที่เครียดมาก ๆ ถึงหน้าแก่สุขภาพทรุดโทรม</span></span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"></span>\n</p>\n<div value=\"http://www.youtube-nocookie.com/v/0zzVY3kfoVc?fs=1&amp;hl=en_US&amp;rel=0&amp;color1=0x006699&amp;color2=0x54abd6&amp;border=1\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"movie\">\n</div>\n<div value=\"true\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowFullScreen\">\n</div>\n<div value=\"always\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowscriptaccess\" align=\"center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"350\" height=\"350\">\n <param name=\"width\" value=\"350\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/0zzVY3kfoVc&amp;feature=player_embedded\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"350\" height=\"350\" src=\"http://www.youtube.com/v/0zzVY3kfoVc&amp;feature=player_embedded\"></embed>\n</object></div>\n<div value=\"always\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowscriptaccess\" align=\"center\">\n</div>\n<div value=\"always\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowscriptaccess\" align=\"center\">\n</div>\n<div value=\"always\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowscriptaccess\" align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #33cccc\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n  \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />     <img height=\"33\" width=\"436\" src=\"/files/u40053/47afcef8c118f.gif\" border=\"0\" />      <img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/81706\"><img height=\"136\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/210.gif\" border=\"0\" /></a>       <a href=\"/node/82882\"><img height=\"135\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/211.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"></span><span style=\"color: #33cccc\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><strong><img height=\"123\" width=\"500\" src=\"/files/u31541/t7.gif\" border=\"0\" /> </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><strong><img height=\"300\" width=\"250\" src=\"/files/u31541/11.jpg\" border=\"0\" /></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><a href=\"http://www.thaihealth.or.th/files/u10329/xdetuj.jpg\"><u><span style=\"color: #808080\">http://www.thaihealth.or.th/files/u10329/xdetuj.jpg</span></u></a> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"40\" width=\"200\" src=\"/files/u31541/1159005899.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #cc99ff\">ความเครียดเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นกับร่างกายและจิตใจ การจำแนกชนิดของความเครียด จึงขึ้นอยู่กับว่าจะใช้เกณฑ์อะไร ในที่นี้ ความเครียดถูกจำแนกโดยใช้ 3 เกณฑ์ คือ </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #cc99ff\">1. จำแนกโดยใช้สาเหตุที่เกิด ได้แก่ <br />\n- ความเครียดเกิดจากความทุกข์ ( Distress ) สิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียด เป็นสิ่งคุกคามที่ทำให้บุคคลที่ได้รับเกิดความทุกข์ใจ ไม่สบายใจและคับข้องใจทำให้เกิดความเครียด <br />\n- ความเครียดเกิดจากความสุข ( Eustress ) สิ่งที่เกิดขึ้นอย่างกระทันหันไม่คาดคิดทำให้บุคคลที่ได้รับเกิดความตื่นเต้นดีใจ ก่อให้เกิดความเครียดได้ <br />\n</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #cc99ff\">2. จำแนกโดยใช้แหล่งที่เกิด ได้แก่ <br />\nความเครียดที่เกิดกับร่างกาย ได้แก่ <br />\n- ความเครียดที่เกิดอย่างเฉียบพลัน ( Emergency Stress ) สิ่งที่คุกคามชีวิตเกิดขึ้นทันทีทันใด เช่น อุบัติเหตุ <br />\n- ความเครียดที่เกิดอย่างต่อเนื่อง ( Continuing Stress ) สิ่งที่คุกคามชีวิตเกิดขึ้นและดำเนินต่อเนื่องไป การเปลี่ยนแปลงของร่างกายในวัยต่าง ๆ ที่คุกคามความรู้สึก เช่น การตั้งครรภ์ การคลอด การหมดประจำเดือน <br />\nความเครียดที่เกิดกับจิตใจ ได้แก่สิ่งคุกคามที่เกิดสืบเนื่องมาจากความคิด บางครั้งก็เกิดอย่างเฉียบพลัน เกิดการตอบสนองทันทีทันใดต่อสิ่งคุกคาม เช่น เมื่อถูกดุ ด่า ก็จะรู้สึกโกรธและเกลียด หรือสิ่งคุกคามเกิดจากการอ่านหนังสือ จากการชมภาพยนตร์ จากคำบอกเล่าของผู้อื่น ทำให้คิดว่าจะเกิดอันตรายก็จะก่อให้เกิดความรู้สึกเครียด <br />\n</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #cc99ff\">3. จำแนกโดยใช้ระดับความเครียด ได้แก่ <br />\n- ความเครียดระดับต่ำ ( Mild Stress ) คือ มีความเครียดเกิดขึ้นน้อยและหมดไปในระยะเวลาอันสั้นเพียงวินาทีหรือภายในชั่วโมงเท่านั้น มักเกี่ยวข้องกับสาเหตุเพียงเล็กน้อย ได้แก่ เหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน เช่น ไปทำงานไม่ทันเวลา ฯลฯ <br />\n- ความเครียดระดับกลาง ( Moderate Stress ) ความเครียดระดับนี้รุนแรงกว่าระดับแรกโดยมีระยะเวลานานเป็นชั่วโมงหรือหลายชั่วโมง จนกระทั่งนานเป็นวันก็ได้ เช่น การเจ็บป่วยที่ไม่รุนแรง ความเครียดจากการทำงานมากเกินไป ความขัดแย้งกับเพื่อนร่วมงาน ฯลฯ <br />\n- ความเครียดระดับสูง ( Severe Stress ) ความเครียดระดับนี้จะอยู่นานเป็นสัปดาห์หรืออาจเป็นเดือนเป็นปีก็ได้ เช่น การตายของผู้เป็นที่รัก การเจ็บป่วยที่รุนแรง การสูญเสียอวัยวะของร่างกายที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต</span> </span></strong><strong><span style=\"color: #33cccc\"></span></strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #33cccc\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"268\" width=\"250\" src=\"/files/u31541/12.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://learners.in.th/file/phaisarn/1_148.jpg\"><u><span style=\"color: #808080\">http://learners.in.th/file/phaisarn/1_148.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />     <img height=\"33\" width=\"436\" src=\"/files/u40053/47afcef8c118f.gif\" border=\"0\" />      <img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/81706\"><img height=\"136\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/210.gif\" border=\"0\" /></a>       <a href=\"/node/82882\"><img height=\"135\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/211.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img height=\"123\" width=\"500\" src=\"/files/u31541/t7.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n<img height=\"40\" width=\"200\" src=\"/files/u31541/1159006007.gif\" border=\"0\" /> <img height=\"80\" width=\"80\" src=\"/files/u31541/4c7c79bfb649b.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"300\" width=\"400\" src=\"/files/u31541/13.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 275px; height: 235px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/871/10871/images/smile.jpg\"><u><span style=\"color: #808080\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/871/10871/images/smile.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">มีใครไม่เคยเครียดบ้าง ?? <br />\nไม่มีแน่นอน </span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">เชื่อหรือไม่ว่า <br />\nเราสามารถเพิ่มคุณค่า และเพิ่ม ความสุขให้ชีวิต<br />\nด้วยความเครียดได้ </span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">ใครๆ ก็บอกว่า ความเครียดเป็นสิ่งร้าย <br />\nบั่นทอนประสิทธิภาพการทำงาน <br />\nทำร้ายทั้งร่างกายและจิตใจ เป็นที่มาของโรคร้ายสารพันชนิด <br />\nที่คร่าชีวิตคนยุคใหม่ในปริมาณที่สูงขึ้นๆ </span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">จึง เชื่อกันว่า ความสบาย ผ่อนคลาย ความเงียบ <br />\nจังหวะช้าๆ ของชีวิต คือสิ่งที่พึงปรารถนา</span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #999999\"><strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #00ccff\">จริงหรือ?? สิ่งที่พึงปรารถนาที่ว่า <br />\nเป็นเหมือนกับความเฉื่อยชา ความน่าเบื่อ การไม่มีคุณค่าหรือไม่ ?</span></span></span></strong> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #999999\"><strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #00ccff\">ลองคิดดูดีๆ <br />\nคนที่มีงานทำน้อย <br />\nหรือไม่มีงานทำและไม่รับผิดชอบอะไรเลย <br />\nคงพอนึกออกว่า ชีวิตจะเป็นอย่างไร</span></span></span></strong> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #00ccff\">แท้ที่จริงแล้ว ความเครียดคือกลไกสำคัญของความสำเร็จ <br />\nที่นำไปสู่ความมีประสิทธิภาพ ความกระตือรือร้น มีชีวิตชีวา</span> </span></span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #00ccff\">หากปราศจากความเครียดเสียแล้ว ก็เหมือนพาหนะที่ขาดพลังงาน จุดกำเนิดของทุกความพยายาม <br />\nต้องมีความเครียดเป็นตัวกระตุ้นเสมอ</span></span> </span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"></span></strong><span style=\"color: #33cccc\"><strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #00ccff\">ความเครียดจึงเป็นแรงผลักดันให้ลงมือทำเพื่อไปสู่เป้าหมาย</span></span></span><br />\n</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"><strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #00ccff\">คนที่ตั้งเป้าหมายไว้เฉยๆ <br />\nไม่มีความอยากหรือความต้องการถึงในระดับที่เกิดความเครียดแล้ว<br />\nจะไม่มีทางนั่งลงคิดหาลู่ทางและลุกขึ้นลงมือทำอย่างแน่นอน</span></span></strong> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">ส่วนคนที่ไม่ตั้งเป้าหมาย <br />\nเปรียบเหมือนคนที่เดินไปเรื่อยๆ <br />\nแต่ไม่รู้จะไปทางไหน จะไปถึงที่ใด และไปทำไม<br />\nปล่อยให้ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบข้าง<br />\nเป็นตัวกำหนดไหลไปตามเวลา </span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">อยู่ไปวันๆ พอรู้สึกตัว อีกที <br />\nนึกสงสัยว่ามาถึงตรงนี้ได้อย่างไร <br />\nน่าจะไปทางอื่น หรือน่าจะไปได้ไกลกว่านี้ <br />\nและคนที่ตั้งเป้าหมายไว้ แต่ไม่ทำอะไร <br />\nคงไม่ต่างจากคนที่ไม่มีเป้าหมาย นั่นเอง<br />\nความเครียดจึงไม่ใช่สิ่งเลวร้ายอย่างที่คิด <br />\nแต่ความเครียดจะเลวร้ายทันที <br />\nถ้าหากปล่อยให้ความเครียดคงอยู่เช่นนั้น <br />\nโดยไม่ใช้ให้เป็นประโยชน์ </span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"color: #808000\"><strong><span style=\"color: #1f9ed5\"><span style=\"color: #808000\">เมื่อมี งานมากและเครียด จงดีใจ <br />\nเพราะนั่นเป็นสิ่งวิเศษสุด สำหรับการเกิดมาเป็นมนุษย์</span></span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />     <img height=\"33\" width=\"436\" src=\"/files/u40053/47afcef8c118f.gif\" border=\"0\" />      <img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/81706\"><img height=\"136\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/210.gif\" border=\"0\" /></a>       <a href=\"/node/82882\"><img height=\"135\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/211.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1719374294, expire = 1719460694, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d1d49ab58819735623ef50cda690973d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:14f8e061c23be090e571557a13339292' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"123\" width=\"500\" src=\"/files/u40053/t7.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"339\" width=\"311\" src=\"/files/u40053/44.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 219px; height: 219px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://women.sanook.com/story_picture/b/51331_002.jpg\"><u><span style=\"color: #999999\">http://women.sanook.com/story_picture/b/51331_002.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"><strong><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff99cc\">โดยทั่วไปความเครียดมักจะเกิดขึ้นเป็นช่วงสั้น ๆ และหายไปเมื่อเราผ่านเหตุการณ์นั้น ๆ เช่น ในช่วงสอบนักเรียนมักจะรู้สึกกังวลว่าจะทำข้อสอบไม่ได้ หรือพนักงานบริษัทกลัวว่าจะไปทำงานไม่ทันขณะขับรถที่ติดแง่กอยู่บนทางด่วน เป็นต้น เนื่องจากเกิดขึ้นในระยะเวลาไม่นาน ความเครียดประเภทนี้จึงไม่ได้ส่งผลร้ายต่อร่างกายคนเรามากนัก แต่ก็อาจจะทำให้รู้สึกปวดหัว ปวดกล้ามเนื้อ หรือท้องไส้ปั่นป่วนได้ <br />\nเราเรียกความเครียดชนิดนี้ว่า &quot;ความเครียดชนิดเฉียบพลัน&quot; (Acute Stress) <br />\nแต่ถ้ามนุษย์ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่กดดัน บีบบังคับ หรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เรารู้สึกไม่สบายใจบ่อยครั้ง ตลอดจนความเครียดนั้นไม่มีทีท่าว่าจะบรรเทาหรือหมดไป ก็จะทำให้เกิดภาวะ &quot;ความเครียดเรื้อรัง&quot; (Chronic Stress) ขึ้นมาได้ <br />\nเปรียบเสมือนการวิ่งมาราธอน แต่นักวิ่งต้องห้อเต็มสปีดตั้งแต่เริ่ม, ร่างกายที่ถูกกระตุ้นอยู่ตลอดเวลาและเป็นระยะเวลานาน ๆ ก็จะถึงคราวหมดแรง เพราะฉะนั้นความเครียดประเภทนี้จึงก่อให้เกิดผลเสียอย่างรุนแรงต่อสุขภาพ ตลอดจนรบกวนการดำเนินชีวิตอันปกติสุขของเรา <br />\nผลโดยตรงของความเครียดต่อสุขภาพได้แก่เป็นโรคติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนทั่วไป นอกจากนี้ความเครียดยังเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลที่ประสบกับมันเปลี่ยนแปลงจากพฤติกรรมปกติที่เป็นประโยชน์ไปเป็นพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงและก่อให้เกิดโทษแก่ร่างกายเพื่อคลายความเครียดเช่น ดื่มเหล้า เคล้าผู้หญิง ยิงผู้ชาย ขายยาบ้า ฯลฯ อย่างนี้คงทราบแล้ว.....ว่าทำไมคนที่เครียดมาก ๆ ถึงหน้าแก่สุขภาพทรุดโทรม</span></span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"></span>\n</p>\n<div value=\"http://www.youtube-nocookie.com/v/0zzVY3kfoVc?fs=1&amp;hl=en_US&amp;rel=0&amp;color1=0x006699&amp;color2=0x54abd6&amp;border=1\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"movie\">\n</div>\n<div value=\"true\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowFullScreen\">\n</div>\n<div value=\"always\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowscriptaccess\" align=\"center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"350\" height=\"350\">\n <param name=\"width\" value=\"350\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/0zzVY3kfoVc&amp;feature=player_embedded\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"350\" height=\"350\" src=\"http://www.youtube.com/v/0zzVY3kfoVc&amp;feature=player_embedded\"></embed>\n</object></div>\n<div value=\"always\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowscriptaccess\" align=\"center\">\n</div>\n<div value=\"always\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowscriptaccess\" align=\"center\">\n</div>\n<div value=\"always\" width=\"400\" height=\"330\" name=\"allowscriptaccess\" align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #33cccc\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n  \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />     <img height=\"33\" width=\"436\" src=\"/files/u40053/47afcef8c118f.gif\" border=\"0\" />      <img height=\"23\" width=\"35\" src=\"/files/u40053/553523uwenffpwwn.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/81706\"><img height=\"136\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/210.gif\" border=\"0\" /></a>       <a href=\"/node/82882\"><img height=\"135\" width=\"150\" src=\"/files/u40053/211.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #33cccc\"></span><span style=\"color: #33cccc\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719374294, expire = 1719460694, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:14f8e061c23be090e571557a13339292' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชนิดและผลกระทบของความเครียด

 

http://women.sanook.com/story_picture/b/51331_002.jpg

โดยทั่วไปความเครียดมักจะเกิดขึ้นเป็นช่วงสั้น ๆ และหายไปเมื่อเราผ่านเหตุการณ์นั้น ๆ เช่น ในช่วงสอบนักเรียนมักจะรู้สึกกังวลว่าจะทำข้อสอบไม่ได้ หรือพนักงานบริษัทกลัวว่าจะไปทำงานไม่ทันขณะขับรถที่ติดแง่กอยู่บนทางด่วน เป็นต้น เนื่องจากเกิดขึ้นในระยะเวลาไม่นาน ความเครียดประเภทนี้จึงไม่ได้ส่งผลร้ายต่อร่างกายคนเรามากนัก แต่ก็อาจจะทำให้รู้สึกปวดหัว ปวดกล้ามเนื้อ หรือท้องไส้ปั่นป่วนได้
เราเรียกความเครียดชนิดนี้ว่า "ความเครียดชนิดเฉียบพลัน" (Acute Stress)
แต่ถ้ามนุษย์ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่กดดัน บีบบังคับ หรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เรารู้สึกไม่สบายใจบ่อยครั้ง ตลอดจนความเครียดนั้นไม่มีทีท่าว่าจะบรรเทาหรือหมดไป ก็จะทำให้เกิดภาวะ "ความเครียดเรื้อรัง" (Chronic Stress) ขึ้นมาได้
เปรียบเสมือนการวิ่งมาราธอน แต่นักวิ่งต้องห้อเต็มสปีดตั้งแต่เริ่ม, ร่างกายที่ถูกกระตุ้นอยู่ตลอดเวลาและเป็นระยะเวลานาน ๆ ก็จะถึงคราวหมดแรง เพราะฉะนั้นความเครียดประเภทนี้จึงก่อให้เกิดผลเสียอย่างรุนแรงต่อสุขภาพ ตลอดจนรบกวนการดำเนินชีวิตอันปกติสุขของเรา
ผลโดยตรงของความเครียดต่อสุขภาพได้แก่เป็นโรคติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนทั่วไป นอกจากนี้ความเครียดยังเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลที่ประสบกับมันเปลี่ยนแปลงจากพฤติกรรมปกติที่เป็นประโยชน์ไปเป็นพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงและก่อให้เกิดโทษแก่ร่างกายเพื่อคลายความเครียดเช่น ดื่มเหล้า เคล้าผู้หญิง ยิงผู้ชาย ขายยาบ้า ฯลฯ อย่างนี้คงทราบแล้ว.....ว่าทำไมคนที่เครียดมาก ๆ ถึงหน้าแก่สุขภาพทรุดโทรม

  

          

      

 

สร้างโดย: 
นางสาวกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวจีราภรณ์ จารุอำไพแสง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 548 คน กำลังออนไลน์