• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1eec94e912cfd433f04e963b161e0dbe' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #99cc00\"><img height=\"195\" width=\"600\" src=\"/files/u43692/klon_0.jpg\" border=\"0\" /> </span></u></strong>\n</p>\n<p><strong><u><span style=\"color: #99cc00\">กลอน<br />\n</span><br />\n</u></strong><span style=\"color: #00ff00\"><span><strong>กลอน คือลักษณะคำประพันธ์ ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ </strong> </span></span><span style=\"color: #00ff00\"><span></span></span></p>\n<p>\n<strong>มีสัมผัสกัน ตามลักษณะบัญญัติ เป็นชนิดๆ แต่ไม่มีบังคับ เอกโท และครุลหุ<br />\n  <br />\nกลอนแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ กลอนสุภาพ กลอนลำนำ และกลอนตลาด</strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #339966\"><u>บทของกลอน<br />\n</u></span> <br />\n</strong><span style=\"color: #808000\"><strong>คำกลอนวรรคหนึ่ง เรียกว่า กลอนหนึ่ง<br />\n <br />\nสองวรรค หรือสองกลอน เรียกว่า บาทหนึ่ง หรือคำหนึ่ง<br />\n <br />\nสองคำ หรือสองบาท หรือสี่วรรค หรือสี่กลอน เรียกว่า บทหนี่ง  </strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong></strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong></strong></span></p>\n<p>\nวรรคทั้งสี่ของกลอน ยังมีชื่อเรียกต่างๆ กัน และนิยมใช้เสียงต่างๆ กันอีก คือ \n</p>\n<p><br />\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #33ff99\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">๑. กลอนสลับ</span> ได้แก่ กลอนวรรคต้น คำสุดท้าย ใช้คำเต้น <br />\nคือนอกจากเสียงสามัญ แต่ถ้าจะใช้ ก็ไม่ห้าม  </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #33ff99\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">๒. กลอนรับ</span> ได้แก่ กลอนวรรคที่สอง คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงจัตวา ห้ามใช้เสียงโท, สามัญ, ตรี, <br />\nและวรรณยุกต์เอกมีรูป วรรณยุกต์เอกไม่มีรูป ไม่ห้าม แต่ต้องให้คำสุดท้าย ของกลอนรอง เป็นเสียงตรี  </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #33ff99\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">๓. กลอนรอง</span> ได้แก่ กลอนวรรคที่สาม คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้เสียงจัตวา หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์  </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #33ff99\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">๔. กลอนส่ง</span> ได้แก่ กลอนวรรคที่สี่ คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้คำตาย <br />\nและคำที่มีรูปวรรณยุกต์ จะใช้คำตายเสียงตรี บ้างก็ได้ </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/83532\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 122px; height: 58px\" /></a><a href=\"/node/84603\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/gap.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 119px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/84600\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/klon.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/83547\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/klong.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 127px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/84615\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/chant.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 129px; height: 59px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/84594\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/ray.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 126px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84599\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/lilit.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 60px\" /></a><a href=\"/node/84623\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/kolbot.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84691\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/aa.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 125px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84692\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 128px; height: 59px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><strong><u><span style=\"color: #339966\">บาทของกลอน</span></u><br />\n <br />\n</strong><span style=\"color: #808000\"><strong>คำกลอนนั้น นับ ๒ วรรคเป็น ๑ บาท<br />\n <br />\nตามธรรมดา กลอนบทหนึ่ง จะต้องมีอย่างน้อย ๒ บาท<br />\n <br />\n(เว้นไว้แต่กลอนเพลงยาว หรือกลอนนิราศ ซึ่งนิยมใช้บทแรก ที่ขึ้นต้นเรื่อง เพียง ๓ วรรค)<br />\n <br />\nบาทแรก เรียกว่า บาทเอก บาทที่ ๒ เรียกว่า บาทโท<br />\n <br />\nคำกลอนจะยาวเท่าไรก็ตาม คงเรียกชื่อว่า บาทเอก บาทโท สลับกันไปจนจบ<br />\n <br />\nและต้องจบลง ด้วยบาทโทเสมอ </strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong> </strong></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ff99\"><u><strong>หลักนิยมทั่วไปของกลอน </strong></u></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #33cc00\"><strong>๑. คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ และวรรคที่ ๒ ก็ดี คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ และวรรคที่ ๔ ก็ดี <br />\nไม่ควรใช้คำ ที่มีเสียงเหมือนกัน หรือคำที่ใช้สระ และตัวสะกด ในมาตราเดียวกัน </strong></span><span style=\"color: #33cc00\"><strong> <span style=\"color: #33ff66\"><strong>๒. คำที่รับสัมผัส ในวรรคที่ ๒ และที่ ๔ ควรให้ตำแหน่งสัมผัส<br />\nตกอยู่ที่พยางค์สุดท้ายของคำ ไม่ควรให้สัมผัสลงที่ต้นคำ หรือกลางคำ <br />\nยิ่งเป็นกลอนขับร้อง ยิ่งต้องระวังเป็นพิเศษ เพราะจะทำให้เสียความ ในเวลาขับร้อง </strong></span><span style=\"color: #33ff66\"><strong></strong></span></strong></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #33ffcc\"><strong>๓. คำสุดท้ายของวรรค ควรใช้คำเต็ม ไม่ควรใช้ครึ่งคำ หรือยัติภังค์ <br />\nเว้นไว้แต่ แต่งเป็น กลบทยัติภังค์ หรือเป็น โคลง, ฉันท์ และกาพย์<br />\n</strong></span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">๔. ไม่ควร</span><span style=\"color: #99cc00\">ใช้ภาษาอื่น ที่ยังมิได้รับรอง มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง แห่งภาษาไทย เช่น  </span></strong>\n</p>\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #999900\"><strong>โอไมเดียร ดาริ่งมิ่งสมร   บิวตี้ฟูลสุนทรหฤหรรษ์  </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong><span style=\"color: #999900\">แม่ชื่นจิตสวิตฮารตจะคลาดกัน   ใจป่วนปั่นหันเหเซกู๊ดบาย<br />\n  <br />\n</span>ส่วนคำบาลี และสันสกฤตใช้ได้ เพราะเรารับมาใช้ เป็นส่วนหนึ่งแห่งภาษาไทย <br />\nแต่ถึงกระนั้น ก็ต้องแปลงรูปคำเสียก่อน จะนำมาใช้ทั้งดุ้นไม่ได้   \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc99\"><strong>๕. ไม่ควรใช้ &quot;ภาษาแสลงโสต&quot; คือถ้อยคำที่พูดด้วยความตลกคะนอง <br />\nหยาบโลน หรือเปรียบเทียบ กับของหยาบ <br />\nซึ่งใช้กันอยู่ ในกลุ่มคนส่วนน้อย และรู้กัน แต่เฉพาะในวงแคบๆ <br />\nเช่น คำว่า ม่องเท่ง, จำหนับ, จ้ำบ๊ะ, ตั้กฉึ้ก, ถังแตก, ยกล้อ ฯลฯ </strong></span>\n</p>\n<p></p></strong></span>\n</div>\n</dd>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/83532\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 122px; height: 58px\" /></a><a href=\"/node/84603\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/gap.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 119px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/84600\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/klon.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/83547\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/klong.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 127px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/84615\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/chant.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 129px; height: 59px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/84594\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/ray.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 126px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84599\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/lilit.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 60px\" /></a><a href=\"/node/84623\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/kolbot.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84691\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/aa.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 125px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84692\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 128px; height: 59px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1727452033, expire = 1727538433, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1eec94e912cfd433f04e963b161e0dbe' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9913870831a476af7563505d84731d3b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #99cc00\"><img height=\"195\" width=\"600\" src=\"/files/u43692/klon_0.jpg\" border=\"0\" /> </span></u></strong>\n</p>\n<p><strong><u><span style=\"color: #99cc00\">กลอน<br />\n</span><br />\n</u></strong><span style=\"color: #00ff00\"><span><strong>กลอน คือลักษณะคำประพันธ์ ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ </strong> </span></span><span style=\"color: #00ff00\"><span></span></span></p>\n<p>\n<strong>มีสัมผัสกัน ตามลักษณะบัญญัติ เป็นชนิดๆ แต่ไม่มีบังคับ เอกโท และครุลหุ<br />\n  <br />\nกลอนแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ กลอนสุภาพ กลอนลำนำ และกลอนตลาด</strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #339966\"><u>บทของกลอน<br />\n</u></span> <br />\n</strong><span style=\"color: #808000\"><strong>คำกลอนวรรคหนึ่ง เรียกว่า กลอนหนึ่ง<br />\n <br />\nสองวรรค หรือสองกลอน เรียกว่า บาทหนึ่ง หรือคำหนึ่ง<br />\n <br />\nสองคำ หรือสองบาท หรือสี่วรรค หรือสี่กลอน เรียกว่า บทหนี่ง  </strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong></strong></span><span style=\"color: #808000\"><strong></strong></span></p>\n<p>\nวรรคทั้งสี่ของกลอน ยังมีชื่อเรียกต่างๆ กัน และนิยมใช้เสียงต่างๆ กันอีก คือ \n</p>\n<p><br />\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #33ff99\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">๑. กลอนสลับ</span> ได้แก่ กลอนวรรคต้น คำสุดท้าย ใช้คำเต้น <br />\nคือนอกจากเสียงสามัญ แต่ถ้าจะใช้ ก็ไม่ห้าม  </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #33ff99\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">๒. กลอนรับ</span> ได้แก่ กลอนวรรคที่สอง คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงจัตวา ห้ามใช้เสียงโท, สามัญ, ตรี, <br />\nและวรรณยุกต์เอกมีรูป วรรณยุกต์เอกไม่มีรูป ไม่ห้าม แต่ต้องให้คำสุดท้าย ของกลอนรอง เป็นเสียงตรี  </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #33ff99\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">๓. กลอนรอง</span> ได้แก่ กลอนวรรคที่สาม คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้เสียงจัตวา หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์  </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #33ff99\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\">๔. กลอนส่ง</span> ได้แก่ กลอนวรรคที่สี่ คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้คำตาย <br />\nและคำที่มีรูปวรรณยุกต์ จะใช้คำตายเสียงตรี บ้างก็ได้ </strong></span>\n</div>\n</dd>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/83532\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 122px; height: 58px\" /></a><a href=\"/node/84603\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/gap.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 119px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/84600\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/klon.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/83547\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/klong.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 127px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/84615\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/chant.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 129px; height: 59px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/84594\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/ray.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 126px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84599\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/lilit.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 60px\" /></a><a href=\"/node/84623\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/kolbot.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84691\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/aa.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 125px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84692\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 128px; height: 59px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n</p>', created = 1727452034, expire = 1727538434, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9913870831a476af7563505d84731d3b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กลอน

 

กลอน

กลอน คือลักษณะคำประพันธ์ ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ 

มีสัมผัสกัน ตามลักษณะบัญญัติ เป็นชนิดๆ แต่ไม่มีบังคับ เอกโท และครุลหุ
 
กลอนแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ กลอนสุภาพ กลอนลำนำ และกลอนตลาด

บทของกลอน
 
คำกลอนวรรคหนึ่ง เรียกว่า กลอนหนึ่ง
 
สองวรรค หรือสองกลอน เรียกว่า บาทหนึ่ง หรือคำหนึ่ง
 
สองคำ หรือสองบาท หรือสี่วรรค หรือสี่กลอน เรียกว่า บทหนี่ง 

วรรคทั้งสี่ของกลอน ยังมีชื่อเรียกต่างๆ กัน และนิยมใช้เสียงต่างๆ กันอีก คือ 


๑. กลอนสลับ ได้แก่ กลอนวรรคต้น คำสุดท้าย ใช้คำเต้น 
คือนอกจากเสียงสามัญ แต่ถ้าจะใช้ ก็ไม่ห้าม 
๒. กลอนรับ ได้แก่ กลอนวรรคที่สอง คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงจัตวา ห้ามใช้เสียงโท, สามัญ, ตรี, 
และวรรณยุกต์เอกมีรูป วรรณยุกต์เอกไม่มีรูป ไม่ห้าม แต่ต้องให้คำสุดท้าย ของกลอนรอง เป็นเสียงตรี 
๓. กลอนรอง ได้แก่ กลอนวรรคที่สาม คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้เสียงจัตวา หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์ 
๔. กลอนส่ง ได้แก่ กลอนวรรคที่สี่ คำสุดท้าย นิยมใช้ เสียงสามัญ ห้ามใช้คำตาย 
และคำที่มีรูปวรรณยุกต์ จะใช้คำตายเสียงตรี บ้างก็ได้ 

สร้างโดย: 
ชุติภัทร์และคุณครูยุวดี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 245 คน กำลังออนไลน์