• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เจดีย์ชเวดากอง เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า ', 'node/51756', '', '3.14.254.228', 0, 'aace13926936e6fee4428dee59f72602', 139, 1715942193) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:53ccc328a1eec7f714899d516f3cc1d2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\">\n<em><b><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; background: #ff99cc; color: #2b3220; font-size: 18pt\"></span></b></em>\n</p>\n<p><em><b><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; background: #ff99cc; color: #2b3220; font-size: 18pt\">พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว</span></b></em><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n<img height=\"248\" width=\"200\" src=\"/files/u39967/9.jpg\" border=\"0\" /> <br />\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\">ที่มารูปภาพ : </span></span><a href=\"http://personinhistory.exteen.com/images/7.jpg\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"><u>http://personinhistory.exteen.com/images/7.jpg</u></span></span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><u>พระราชประวัติ</u></strong><br />\n      พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็น รัชกาลที่ 4 แห่งราชจักรีวงศ์ ทรงมีพระนามเดิมว่า &quot;เจ้าฟ้ามงกุฎ สมมติเทวาวงศ์พงษ์อิศรกษัตริย์&quot;พระองค์มีพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชมารดา รวมทั้งสิ้น 3 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จเจ้าฟ้าชาย (สิ้นพระชนม์เมื่อประสูติ) สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามงกุฏ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฑามณี (ภายหลังได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ) พระองค์จึงเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าพระองค์แรกที่มีพระชนม์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ท่านเสด็จสวรรคตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 รวมพระชนมพรรษา 65 พรรษา<br />\n      วัดประจำรัชกาล ของพระองค์คือ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff69b4\"><strong><u>พระราชกรณียกิจ</u></strong><br />\n     พระองค์โปรดให้มีพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา สำหรับพระราชวงศ์ เสนาบดี ทหาร และพลเรือนทั้งหลายต่างดื่มน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ทั่วทุกคน พระองค์มิได้มีพระราชประสงค์ให้ข้าราชบริพารซื่อสัตย์จงรักภักดีต่อพระองค์ฝ่ายเดียว แต่ทรงพระราชดำริว่าจะต้องทรงให้คำมั่นสัญญาต่อประชาชนของพระองค์ด้วยพระองค์จึงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกที่เสวยน้ำพระพิพัฒน์สัตยา<br />\n- พ.ศ. 2396 โปรดให้จัดทำพระราชพิธีบรรจุดวงพระชะตาพระนคร ลงในหลักเมือง ที่โปรดให้ทำขึ้นใหม่ แทนหลักเมืองเก่าซึ่งยกขึ้นเมื่อรัชกาลที่ 1 ซึ่งชำรุดทรุดโทรม<br />\n- พ.ศ. 2400 โปรดให้สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการเป็นบำเหน็จความดีความชอบ<br />\n- พ.ศ. 2401 โปรดให้ตั้งโรงพิมพ์หลวงขึ้นในวัง เรียกว่า &quot;โรงราชกิจจานุเบกษา&quot; เพื่อเสนอข่าวราชการเป็นครั้งแรก<br />\n- พ.ศ. 2403 โปรดให้สร้างโรงกษาปณ์ขึ้นที่หน้าพระคลังมหาสมบัติในพระบรมมหาราชวัง เพื่อผลิตเหรียญเงิน ราคาต่างๆ เพื่อใช้เป็นสิ่งแลกเปลี่ยน ซื้อขายแลกเปลี่ยน แทนเงินอย่างเก่าคือพดด้วง ทรงพระราชทานนามว่า &quot;โรงกษาปณ์สิทธิการ&quot; นับเป็นโรงกษาปณ์ แห่งแรกในเมืองไทย<br />\n- พ.ศ. 2404 โปรดให้ตัดถนน และขุดคลอง ให้เป็นทางสัญจรอย่างใหม่ สำหรับชาวไทยและชาวต่างประเทศเหมือนกับประเทศที่เจริญแล้วทางยุโรป เช่น การสร้างถนนเจริญกรุง เป็นสายแรก ถนนบำรุงเมือง ถนนเฟื่องนคร และ ถนนสีลม ส่วนคลองได้แก่ คลองผดุงกรุงเกษม คลองหัวลำโพง คลองมหาสวัสดิ์ และคลองดำเนินสะดวก เป็นต้น<br />\n <br />\n <br />\n</span><span style=\"color: #ff69b4\"><u>ด้านวรรณคดี<br />\n</u>      พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ทำนุบำรุงเป็นอย่างดี พระราชนิพนธ์ส่วนใหญ่เป็นประเภทร้อยแก้ว บทพระราชนิพนธ์ที่สำคัญ ได้แก่<br />\n-ชุมนุมพระบรมราโชบาย 4 หมวด คือ หมวดวรรณคดี โบราณคดี ธรรมคดี และตำรา <br />\n-ตำนานเรื่อง พระแก้วมรกต เรื่องปฐมวงศ์ <br />\n-ทรงริเริ่มให้มีการค้นคว้าศิลาจารึก ในประเทศไทยขึ้นเป็นครั้งแรก คือ จารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคำแหง และจารึกหลักที่ 4 ของพระยาลิไทย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff69b4\"><u>ด้านพระพุทธศาสนา</u><br />\n     พระองค์ทรงฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรือง โดยทรงตั้งธรรมยุตติกาวงศ์ ขึ้น เป็นนิกายใหม่ในพระพุทธศาสนา ที่มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยและระเบียบแบบแผน<br />\n <br />\n<u>ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ</u><br />\n     ในรัชสมัยของพระองค์ได้มีความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตกอย่างกว้างขวาง มีการทำสัญญากับต่างประเทศถึง 10 ประเทศ ทรงนำนโยบาย &quot;ผ่อนสั้น ผ่อนยาว&quot; มาใช้กับประเทศมหาอำนาจเป็นพระองค์แรกในสมัยรัตนโกสินทร์ อันทำให้ไทยสามารถดำรงเอกราชอยู่ได้จนทุกวันนี้ พระองค์ได้ส่งคณะทูตไทยโดยมีพระยามนตรีสุริยวงศ์ เป็นราชทูต เจ้าหมื่นสรรเพ็ชภักดี เป็นอุปทูต หมื่นมณเฑียรพิทักษ์ เป็นตรีทูต นำพระราชสาส์นไปถวายสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษ นับเป็นความคิดริเริ่มให้มีการเดินทางออกนอกประเทศได้ เนื่องจากแต่เดิมกฎหมายห้ามมิให้ เจ้านาย พระราชวงศ์ ข้าราชการผู้ใหญ่เดินทางออกจากพระนคร เว้นเสียแต่ไปในการสงครามกับกองทัพ พระองค์ทรงโปรดเกล้าให้ชาวต่างประเทศรับราชการเป็นกงสุลไทยเช่น เซอร์ จอห์น เบาริง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff69b4\"><u>พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ของไทย</u><br />\n          พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประดิษฐาน ณ อาคารอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักดาราศาสตร์ ไทยผู้ยิ่งใหญ่ทรงการคำนวณการเกิดสุริยุปราคา เต็มดวงได้อย่างแม่นยำในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ล่วงหน้า 2 ปี พระอัจฉริยภาพของพระองค์เป็นที่เลื่องลือ ขจรขจายปวงชนชาวไทยถวายพระราชสมัญญานามทรงเป็น &quot;พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย&quot; และเป็นที่มาของการสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นอนุสรณ์สถานแด่พระองค์</span>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/84529\"><img height=\"53\" width=\"116\" src=\"/files/u39967/anigif20.gif\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/84531/\"><img height=\"53\" width=\"116\" src=\"/files/u39967/anigif21.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #e54ccd\"><span style=\"color: #d64ce5\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/84494\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u39967/anigi0145f.gif\" border=\"0\" style=\"width: 158px; height: 45px\" /></a>   <a href=\"/node/82232\"><img height=\"63\" width=\"179\" src=\"/files/u39967/anigif014.gif\" border=\"0\" style=\"width: 163px; height: 56px\" /></a></span></span></span>\n</p>\n', created = 1715942223, expire = 1716028623, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:53ccc328a1eec7f714899d516f3cc1d2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

:: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ::

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

 
ที่มารูปภาพ : http://personinhistory.exteen.com/images/7.jpg

พระราชประวัติ
      พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฏฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็น รัชกาลที่ 4 แห่งราชจักรีวงศ์ ทรงมีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ สมมติเทวาวงศ์พงษ์อิศรกษัตริย์"พระองค์มีพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชมารดา รวมทั้งสิ้น 3 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จเจ้าฟ้าชาย (สิ้นพระชนม์เมื่อประสูติ) สมเด็จฯ เจ้าฟ้ามงกุฏ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฑามณี (ภายหลังได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ) พระองค์จึงเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าพระองค์แรกที่มีพระชนม์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ท่านเสด็จสวรรคตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 รวมพระชนมพรรษา 65 พรรษา
      วัดประจำรัชกาล ของพระองค์คือ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

พระราชกรณียกิจ
     พระองค์โปรดให้มีพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา สำหรับพระราชวงศ์ เสนาบดี ทหาร และพลเรือนทั้งหลายต่างดื่มน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ทั่วทุกคน พระองค์มิได้มีพระราชประสงค์ให้ข้าราชบริพารซื่อสัตย์จงรักภักดีต่อพระองค์ฝ่ายเดียว แต่ทรงพระราชดำริว่าจะต้องทรงให้คำมั่นสัญญาต่อประชาชนของพระองค์ด้วยพระองค์จึงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกที่เสวยน้ำพระพิพัฒน์สัตยา
- พ.ศ. 2396 โปรดให้จัดทำพระราชพิธีบรรจุดวงพระชะตาพระนคร ลงในหลักเมือง ที่โปรดให้ทำขึ้นใหม่ แทนหลักเมืองเก่าซึ่งยกขึ้นเมื่อรัชกาลที่ 1 ซึ่งชำรุดทรุดโทรม
- พ.ศ. 2400 โปรดให้สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการเป็นบำเหน็จความดีความชอบ
- พ.ศ. 2401 โปรดให้ตั้งโรงพิมพ์หลวงขึ้นในวัง เรียกว่า "โรงราชกิจจานุเบกษา" เพื่อเสนอข่าวราชการเป็นครั้งแรก
- พ.ศ. 2403 โปรดให้สร้างโรงกษาปณ์ขึ้นที่หน้าพระคลังมหาสมบัติในพระบรมมหาราชวัง เพื่อผลิตเหรียญเงิน ราคาต่างๆ เพื่อใช้เป็นสิ่งแลกเปลี่ยน ซื้อขายแลกเปลี่ยน แทนเงินอย่างเก่าคือพดด้วง ทรงพระราชทานนามว่า "โรงกษาปณ์สิทธิการ" นับเป็นโรงกษาปณ์ แห่งแรกในเมืองไทย
- พ.ศ. 2404 โปรดให้ตัดถนน และขุดคลอง ให้เป็นทางสัญจรอย่างใหม่ สำหรับชาวไทยและชาวต่างประเทศเหมือนกับประเทศที่เจริญแล้วทางยุโรป เช่น การสร้างถนนเจริญกรุง เป็นสายแรก ถนนบำรุงเมือง ถนนเฟื่องนคร และ ถนนสีลม ส่วนคลองได้แก่ คลองผดุงกรุงเกษม คลองหัวลำโพง คลองมหาสวัสดิ์ และคลองดำเนินสะดวก เป็นต้น
 
 
ด้านวรรณคดี
      พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ทำนุบำรุงเป็นอย่างดี พระราชนิพนธ์ส่วนใหญ่เป็นประเภทร้อยแก้ว บทพระราชนิพนธ์ที่สำคัญ ได้แก่
-ชุมนุมพระบรมราโชบาย 4 หมวด คือ หมวดวรรณคดี โบราณคดี ธรรมคดี และตำรา 
-ตำนานเรื่อง พระแก้วมรกต เรื่องปฐมวงศ์
-ทรงริเริ่มให้มีการค้นคว้าศิลาจารึก ในประเทศไทยขึ้นเป็นครั้งแรก คือ จารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคำแหง และจารึกหลักที่ 4 ของพระยาลิไทย

ด้านพระพุทธศาสนา
     พระองค์ทรงฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรือง โดยทรงตั้งธรรมยุตติกาวงศ์ ขึ้น เป็นนิกายใหม่ในพระพุทธศาสนา ที่มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัยและระเบียบแบบแผน
 
ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
     ในรัชสมัยของพระองค์ได้มีความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตกอย่างกว้างขวาง มีการทำสัญญากับต่างประเทศถึง 10 ประเทศ ทรงนำนโยบาย "ผ่อนสั้น ผ่อนยาว" มาใช้กับประเทศมหาอำนาจเป็นพระองค์แรกในสมัยรัตนโกสินทร์ อันทำให้ไทยสามารถดำรงเอกราชอยู่ได้จนทุกวันนี้ พระองค์ได้ส่งคณะทูตไทยโดยมีพระยามนตรีสุริยวงศ์ เป็นราชทูต เจ้าหมื่นสรรเพ็ชภักดี เป็นอุปทูต หมื่นมณเฑียรพิทักษ์ เป็นตรีทูต นำพระราชสาส์นไปถวายสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษ นับเป็นความคิดริเริ่มให้มีการเดินทางออกนอกประเทศได้ เนื่องจากแต่เดิมกฎหมายห้ามมิให้ เจ้านาย พระราชวงศ์ ข้าราชการผู้ใหญ่เดินทางออกจากพระนคร เว้นเสียแต่ไปในการสงครามกับกองทัพ พระองค์ทรงโปรดเกล้าให้ชาวต่างประเทศรับราชการเป็นกงสุลไทยเช่น เซอร์ จอห์น เบาริง

พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ของไทย
          พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประดิษฐาน ณ อาคารอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักดาราศาสตร์ ไทยผู้ยิ่งใหญ่ทรงการคำนวณการเกิดสุริยุปราคา เต็มดวงได้อย่างแม่นยำในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ล่วงหน้า 2 ปี พระอัจฉริยภาพของพระองค์เป็นที่เลื่องลือ ขจรขจายปวงชนชาวไทยถวายพระราชสมัญญานามทรงเป็น "พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย" และเป็นที่มาของการสร้างอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ ตำบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นอนุสรณ์สถานแด่พระองค์


 

  

สร้างโดย: 
คุณครูหทัยรัตน์ เหล่าบุญสุข และ นางสาวศุภนุช เอกรณรงค์ชัย โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 330 คน กำลังออนไลน์