• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:dbbc7049dc11a7bff9ef7327f1926cb8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><blockquote>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\"><u><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">นิทานพื้นบ้าน</span></span></u></span></span></span></strong></span><span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\"><br />\n </span></span><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">                   </span></span></span></span></span></strong></span><span style=\"color: #800000\"> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">                 นิทาน เป็นเรื่องที่เล่ากันสืบต่อ ๆ มา ถือว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งส่วนใหญ่ถ่ายทอดสู่อนุชนรุ่นหลังด้</span></span></span></span></span></strong></span><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">วยมุปาฐะ (มุขปาฐะ คือ การต่อปากกันมา, การบอกเล่าต่อๆ กันมาโดยมิได้เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร) การเล่านิทานมีมาแต่ดึกดำบรรพ์   สาเหตุที่มนุษย์ชอบฟังนิทานนั้น เพราะนิทานเป็นอาหารทางใจอย่างหนึ่งของมนุษย์ นิทานเป็นแหล่งรวบรวมจินตนาการ  ความฝัน  นิทานเป็นทางออกทางใจของมนุษย์ ทำให้มีความสุข  และช่วยผ่อนคลายความทุกข์ในใจ<br />\n                  มนุษย์ทั่วไปในโลก  ต่างมีนิมานเล่าต่อๆกันมา  ถึงแม้ว่าจะต่างชาติต่างภาษา แต่จะมีข้อเหมือนกันเสมอในเรื่องธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ คือ  มีโลภ  โกรธ หลง  มีทั้งตลก  ขบขัน  น่าหัวเราะ  และที่สำคัญคือมีความคิดคำนึงคล้ายคลึงกัน  และต่างก็มีลักษณะเหล่านี้สืบทอดกันมาของมรดกมนุษยชาติเหมือนๆกัน มรดกแห่งสภาพความเป็นมนุษย์นี้จะเห็นได้จากคติชาวบ้านและนิทานพื้นบ้าน</span></span></span></span></strong></span> </span>\n </p>\n</blockquote>\n', created = 1728207946, expire = 1728294346, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:dbbc7049dc11a7bff9ef7327f1926cb8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ตำนานเก่า เล่าสืบมา

นิทานพื้นบ้าน
                   

                 นิทาน เป็นเรื่องที่เล่ากันสืบต่อ ๆ มา ถือว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งส่วนใหญ่ถ่ายทอดสู่อนุชนรุ่นหลังด้วยมุปาฐะ (มุขปาฐะ คือ การต่อปากกันมา, การบอกเล่าต่อๆ กันมาโดยมิได้เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร) การเล่านิทานมีมาแต่ดึกดำบรรพ์   สาเหตุที่มนุษย์ชอบฟังนิทานนั้น เพราะนิทานเป็นอาหารทางใจอย่างหนึ่งของมนุษย์ นิทานเป็นแหล่งรวบรวมจินตนาการ  ความฝัน  นิทานเป็นทางออกทางใจของมนุษย์ ทำให้มีความสุข  และช่วยผ่อนคลายความทุกข์ในใจ
                 มนุษย์ทั่วไปในโลก  ต่างมีนิมานเล่าต่อๆกันมา  ถึงแม้ว่าจะต่างชาติต่างภาษา แต่จะมีข้อเหมือนกันเสมอในเรื่องธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ คือ  มีโลภ  โกรธ หลง  มีทั้งตลก  ขบขัน  น่าหัวเราะ  และที่สำคัญคือมีความคิดคำนึงคล้ายคลึงกัน  และต่างก็มีลักษณะเหล่านี้สืบทอดกันมาของมรดกมนุษยชาติเหมือนๆกัน มรดกแห่งสภาพความเป็นมนุษย์นี้จะเห็นได้จากคติชาวบ้านและนิทานพื้นบ้าน

สร้างโดย: 
NAR.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 410 คน กำลังออนไลน์