• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:45c0af6aacdc2bf811efe7082f95b11c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u31525/banner_0.jpg\" height=\"110\" />    <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u31525/eng.jpg\" height=\"50\" />   \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u31525/England-london-bridge-england-tower_bridge.jpg\" height=\"263\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #f6265c\">credit : <a href=\"/files/u31525/England-london-bridge-england-tower_bridge.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u31525/England-london-bridge-england-tower_bridge.jpg</a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #f6265c\"><strong><span style=\"background-color: #f9f6be\">  United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland  </span> </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n     <span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83246\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/common.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83252\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/war.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83266\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/custom.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83272\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/place.jpg\" height=\"49\" /></a>    </strong></span></span> <br />\n<span style=\"color: #000000\"><span><strong> <a href=\"/node/83306\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/p.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><a href=\"/node/83310\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/food.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83381\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/from.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83382\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/fonfie.jpg\" height=\"49\" /></a> <a href=\"/node/88433\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u40865/question.jpg\" height=\"49\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n ประเพณีการดื่มชา\n</p>\n<p align=\"center\">\n  <img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u31525/green-tea.jpg\" height=\"275\" style=\"width: 268px; height: 194px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\ncredit : <a href=\"/files/u31525/green-tea.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u31525/green-tea.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">          ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษ ชาวอังกฤษเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลกเมื่อเปรียบกับอัตราต่อคน ชาวอังกฤษแต่ละคนดื่มชาคนละประมาณ 2.1 กิโลกรัมต่อปี ความนิยมในการดื่มชามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่ออินเดียเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ และอังกฤษมีความต้องการที่จะควบคุมการผลิตชาในอนุทวีปอินเดีย </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">          แต่ผู้ที่นำประเพณีการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษเป็นคนแรก ก็คือแคทเธอรีนแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ในราวระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1660 ถึง 1670 แต่ในระยะแรกก็เป็นประเพณีสำหรับชนชั้นสูงเท่านั้น ที่ไม่ได้แพร่หลายในบรรดาประชากรทั่วไป เพราะยังเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย จนต่อมาเมื่อราคาชาถูกลง เมื่อประเพณีนี้เผยแพร่ทั่วไปในสหราชอาณาจักรก็เริ่มมีการจัดสวนชา (Tea garden) ที่เป็นสถานที่ดื่มชาและเดินเล่น หรือการจัดการเต้นรำชา (Tea dance) ที่อาจจะเป็นการเต้นรำตอนบ่ายหรือพลบค่ำ ที่อาจจะรวมทั้งการดูดอกไม้ไฟ หรือมีการเลี้ยงอาหารค่ำด้วย และจบลงด้วยการดื่มชา สวนชาเสื่อมความนิยมลงหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง แต่การเต้นรำก็ยังพบว่ามีการจัดกันอยู่บ้าง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #55371a\">วิธีดื่มชาของอังกฤษ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">         การดื่มชาในอังกฤษมักจะเป็นชาดำที่เสิร์ฟกับนม และบางครั้งก็น้ำตาลด้วย ชาแก่ที่เสิร์ฟกับนมและน้ำตาลจำนวนมากในถ้วยใหญ่เหมือนกระบอกที่เรียกว่า “mug” มักจะเรียกกันว่า “ชาคนงาน” (Builders tea) โดยทั่วไปแล้วการดื่มชาในอังกฤษ จะไม่ใช่วัฒนธรรมชั้นสูงที่ละเอียดอ่อนอย่างที่เข้าใจกันทั่วโลก แต่เป็นเพียงกิจวัตรประจำวันเช่นเดียวกับการดื่มกาแฟของชาติอื่นตามปกติแล้วชาวอังกฤษก็จะดื่มชากัน วันละอาจจะถึงห้าหรือหกถ้วย (หรือ “หมัก”) แต่ก็มิได้หมายความว่าชาวอังกฤษจะไม่มีประเพณีการดื่มชากันอย่างเป็นทางการ หรือในโอกาสพิเศษ สำหรับชนชั้นที่ทำมาหากินมีอาชีพกันทั่วไป การพักดื่มชาก็เป็นส่วนสำคัญประจำวัน โดยทั่วไปแล้วนายจ้างก็มักจะอนุญาตให้มีการพักดื่มชาสายครั้งหนึ่ง และบ่ายอีกครั้งหนึ่ง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #55371a\">การดื่มชาเป็นมื้ออาหาร</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">         ชาไม่เพียงเป็นแค่เครื่องดื่มเท่านั้น แต่ยังหมายถึงอาหารว่างมื้อบ่าย (Tea (meal)) ไม่ว่าเครื่องดื่มจะเป็นชาหรือไม่ แอนนา รัสเซลล์ ดัชเชสแห่งเบดฟอร์ด ได้ชื่อว่าเป็นผู้ริเริ่มอาหารว่างมื้อบ่าย ราว ค.ศ. 1800 เพื่อแก้หิวระหว่างคอยอาหารค่ำ ซึ่งก็ยังประเพณีที่ปฏิบัติกันอยู่บ้างในปัจจุบันประเพณีอีกอย่างหนึ่งทีเคยเป็นที่นิยมคือร้านน้ำชา (tea room) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เสิร์ฟชาและสโคน (คล้ายมัฟฟินแต่ไม่หวาน) กับครีมข้น (Clotted cream ซึ่งเป็นครีมที่ข้นเหมือนเนย) และแยมผลไม้ การดื่มกับสโคนกับครีมและแยมเรียกรวมกันว่า “Cream tea” แต่ประเพณีหมดความนิยมลง ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง การดื่มครีมทีจึงทำกันแต่ในบางโอกาส เดวอนและคอร์นวอลล์มีชื่อเสียงในเรื่องครีม การเรียก “Cream tea” มักจะทำให้เข้าใจผิดกันว่า เป็นการดื่มชากับครีมซึ่งไม่เป็นความจริง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #55371a\">บัตรชา</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">        ระหว่างคริสต์ศตวรรษ 1940 จนถึงคริสต์ศตวรรษ 1980 ใบชาที่ขายเป็นกล่องในสหราชอาณาจักร อาจจะมีบัตรรูปอยู่ภายในกล่องที่มีขนาดเดียวกับบัตรบุหรี่ ที่เป็นสิ่งที่มีความมุ่งหมายให้เป็นสิ่งสะสมสำหรับเด็ก บริษัทที่ขายชาใส่บัตรที่รู้จักกันดีก็มีชาไทฟู (Typhoo tea) และ บรุคบอนด์ผู้ผลิต ชาพีจีทิพส์ (PG Tips) ที่ต่อมาแจกอัลบั้มให้ใส่บัตรด้วย รูปที่เป็นบัตรก็เขียนโดยศิลปิน ที่บริษัทจ้างมาเช่นชาร์ลส์ ทันนิคลิฟฟ์ ปัจจุบันบัตรบางบัตรก็กลายเป็นของมีค่า</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #55371a\">การดื่มชาของชาวอังกฤษในปัจจุบัน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">         การสำรวจของบริษัทอินฟอร์มา (Informa) ระบุว่า จำนวนการดื่มชาตามปกติในสหราชอาณาจักร มีแนวโน้มในทางที่ลดลง แต่การขายกาแฟในช่วงเดียวกันก็มิได้เพิ่มขึ้น ชาวอังกฤษหันไปดื่มสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่าเช่นน้ำผลไม้ หรือชาที่ทำจากดอกไม้หรือผลไม้แทนที่ ที่แสดงให้เห็นจากสถิติของการดื่มเครื่องดื่มที่ว่าสูงขึ้น ถึงอัตราร้อยละ 50 ระหว่างปี ค.ศ. 1997 จนถึงปี ค.ศ. 2002 นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือสถิติของการขายชาและกาแฟ ที่ปราศจากคาเฟอีนในช่วงเดียวกันก็ลดลงมากยิ่งกว่าชาหรือกาแฟปกติ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #55371a\">ประเพณีทำชาของชาวอังกฤษโดยทั่วไป</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">         ในปัจจุบันการดื่มชาก็มักจะเป็นเพียงการเอาถุงชาใส่ &quot;หมัก&quot; และราดด้วยน้ำเดือด หรือถ้าซื้อชาหนึ่งแก้วในร้านอาหารประเภทเซิร์ฟตัวเอง ผู้ซื้อก็จะได้ถ้วยชาเปล่ากับถุงชาหนึ่งถุง ซึ่งไปเติมน้ำร้อนจากหม้อ และเติมนมและน้ำตาลเอาตามใจชอบ แต่ถ้าเป็นโอกาสการดื่มชาที่เป็นทางการ ก็จะมีการใช้ถ้วยชาและจานรองแทนที่จะเป็น “หมัก” อย่างที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบัน หรือถ้าใช้ “หมัก” ก็อาจจเป็นขนาดที่ย่อมหน่อย การทำชาโดยทั่วไปจะประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">-  ต้มน้ำให้เดือดและเทลงในกาชาเล็กน้อย <br />\n-  หมุนกาชาให้น้ำร้อนกลั้วกาชาให้ทั่วเพื่ออุ่นกา แล้วเทน้ำทิ้ง <br />\n-  ใส่ใบชา (ปัจจุบันใช้ถุงชาเป็นส่วนใหญ่) ลงไปในกาชา กาชาขนาดกลางก็มักจะใช้ถุงชาราวสองถุงหรือสามถ้าชอบรสแก่ ขณะเดียวกันก็ต้มน้ำร้อนต่อให้เดือด <br />\n-  เติมน้ำร้อนลงในกาชา และคลุมกาชาด้วยถุงที่บุด้วยฉนวนที่เรียกว่า “tea cosy” เพื่อรักษาความร้อนของกาชา ทิ้งชาไว้ในกาสักครู่เพื่อให้ชาออกรสและได้ที่ <br />\n-  เทนมในถ้วยชาที่จะเสิร์ฟหรืออาจจะรอให้ผู้ดื่มเติมเอง ถ้าเจ้าของบ้านเป็นผู้เติมให้ ก็จะถามก่อนว่าจะดื่มชาอย่างไร ผู้ถูกถามก็อาจจะตอบว่า “กับนมและน้ำตาล” หรือ “กับนม” หรือ “ไม่ใส่อะไร” <br />\n-  เทชาลงถ้วย ถ้าเป็นใบชาก็อาจจะเทผ่านที่กรองเล็กๆ <br />\n-  ถ้าเสิร์ฟเป็นชาดำ ผู้ดื่มก็จะเติมนมและ/หรือน้ำตาลเองตามใจชอบ <br />\n-  เติมใบชาในกา และน้ำร้อนเพิ่มสำหรับเสิร์ฟถ้วยต่อไป </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">การเติมนมก่อนหรือหลังเทชาจึงดี ก็เป็นเรื่องที่โต้แย้งกันมานานที่มาจากพื้นฐานที่ว่าเวลาที่เติม มีผลทำให้ชาเปลี่ยนรส แต่ก็ยังไม่เป็นทีตกลงกันได้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">         ข้อที่น่าสังเกตคือชาจะต้มทิ้งไว้เหมือนกาแฟไม่ได้ ฉะนั้นตามร้านอาหารจึงไม่มีหม้อชา ตั้งไว้ให้เทเหมือนหม้อกาแฟ แต่จะมีหม้อน้ำร้อนให้เทในถ้วยชาแทนที่ เพราะเมื่อชาออกรสแล้วก็ต้องดื่มทันที ถ้าใส่น้ำร้อนทิ้งไว้นานก็จะออกเปรี้ยวทำให้เสียรส การดื่มชากับนมและน้ำตาลชาวอเมริกัน ถือว่าเป็นของแปลกเพราะการดื่มชาในสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่โดยทั่วไปจะเป็นการดื่มชาดำ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #55371a\">บทบาทของชา</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">        นักวิชาการบางท่านเสนอว่าชามีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษ การดื่มชาตอนบ่ายเป็นการทำให้เพิ่มชั่วโมงการทำงานในโรงงานได้มากขึ้น ชาเป็นสิ่งที่ช่วนกระตุ้นประสาทและเมื่อดื่มกับของว่างหวาน ก็ยิ่งช่วยให้คนงานมีพลังเพิ่มขึ้นในการทำงาน นอกจากนั้นก็ยังกล่าวกันว่าการดื่มชา เป็นการช่วยรักษาสุขภาพอนามัยได้บ้าง จากภัยที่การอยู่อาศัยในเมือง เพราะผู้ดื่มชาต้องต้มน้ำก่อนดื่ม ที่ทำให้ผู้ดื่มเลี่ยงจากเชื้อโรคได้หลายอย่าง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #55371a\">สำนวน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #c27f3d\">        “ ไม่ยอมแม้ว่าจะให้ชาทั้งเมืองจีน” (Not for all the tea in China) สำนวนนี้เริ่มใช้กันมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถ้าผู้ใดกล่าวว่าจะไม่ยอมทำ แม้ว่าจะให้ชาทั้งเมืองจีนก็แสดงว่า ผู้นั้นมีความเด็ดเดี่ยวแน่วแน่ วลีนี้อาจจะมาจากการที่ชาเดิมเป็นของมีค่าและหายาก เมื่อการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษใหม่ๆ คนชั้นสูงเท่านั้นที่สามารถหาซื้อและดื่มชาได้ ใบชาก็ต้องเก็บล็อกไว้ในโต๊ะชา ที่สร้างเป็นพิเศษสำหรับการเก็บชาเพื่อกันจากการนำไปใช้โดยผู้รับใช้</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83266\"><strong>&gt;&gt; BACK &lt;&lt;</strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #fa7fa4\"><a href=\"/node/72304\"></a><a href=\"/node/81949\"><img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u31525/icon-home2_0.jpg\" height=\"71\" /></a><br />\n</span></strong>\n</p>\n', created = 1720839669, expire = 1720926069, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:45c0af6aacdc2bf811efe7082f95b11c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีดื่มชา

        
 

 

credit : http://www.thaigoodview.com/files/u31525/England-london-bridge-england-tower_bridge.jpg 

  United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland   

          
 

 

 ประเพณีการดื่มชา

 

credit : http://www.thaigoodview.com/files/u31525/green-tea.jpg

          ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษ ชาวอังกฤษเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลกเมื่อเปรียบกับอัตราต่อคน ชาวอังกฤษแต่ละคนดื่มชาคนละประมาณ 2.1 กิโลกรัมต่อปี ความนิยมในการดื่มชามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่ออินเดียเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ และอังกฤษมีความต้องการที่จะควบคุมการผลิตชาในอนุทวีปอินเดีย

          แต่ผู้ที่นำประเพณีการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษเป็นคนแรก ก็คือแคทเธอรีนแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ในราวระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1660 ถึง 1670 แต่ในระยะแรกก็เป็นประเพณีสำหรับชนชั้นสูงเท่านั้น ที่ไม่ได้แพร่หลายในบรรดาประชากรทั่วไป เพราะยังเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย จนต่อมาเมื่อราคาชาถูกลง เมื่อประเพณีนี้เผยแพร่ทั่วไปในสหราชอาณาจักรก็เริ่มมีการจัดสวนชา (Tea garden) ที่เป็นสถานที่ดื่มชาและเดินเล่น หรือการจัดการเต้นรำชา (Tea dance) ที่อาจจะเป็นการเต้นรำตอนบ่ายหรือพลบค่ำ ที่อาจจะรวมทั้งการดูดอกไม้ไฟ หรือมีการเลี้ยงอาหารค่ำด้วย และจบลงด้วยการดื่มชา สวนชาเสื่อมความนิยมลงหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง แต่การเต้นรำก็ยังพบว่ามีการจัดกันอยู่บ้าง


วิธีดื่มชาของอังกฤษ

         การดื่มชาในอังกฤษมักจะเป็นชาดำที่เสิร์ฟกับนม และบางครั้งก็น้ำตาลด้วย ชาแก่ที่เสิร์ฟกับนมและน้ำตาลจำนวนมากในถ้วยใหญ่เหมือนกระบอกที่เรียกว่า “mug” มักจะเรียกกันว่า “ชาคนงาน” (Builders tea) โดยทั่วไปแล้วการดื่มชาในอังกฤษ จะไม่ใช่วัฒนธรรมชั้นสูงที่ละเอียดอ่อนอย่างที่เข้าใจกันทั่วโลก แต่เป็นเพียงกิจวัตรประจำวันเช่นเดียวกับการดื่มกาแฟของชาติอื่นตามปกติแล้วชาวอังกฤษก็จะดื่มชากัน วันละอาจจะถึงห้าหรือหกถ้วย (หรือ “หมัก”) แต่ก็มิได้หมายความว่าชาวอังกฤษจะไม่มีประเพณีการดื่มชากันอย่างเป็นทางการ หรือในโอกาสพิเศษ สำหรับชนชั้นที่ทำมาหากินมีอาชีพกันทั่วไป การพักดื่มชาก็เป็นส่วนสำคัญประจำวัน โดยทั่วไปแล้วนายจ้างก็มักจะอนุญาตให้มีการพักดื่มชาสายครั้งหนึ่ง และบ่ายอีกครั้งหนึ่ง


การดื่มชาเป็นมื้ออาหาร

         ชาไม่เพียงเป็นแค่เครื่องดื่มเท่านั้น แต่ยังหมายถึงอาหารว่างมื้อบ่าย (Tea (meal)) ไม่ว่าเครื่องดื่มจะเป็นชาหรือไม่ แอนนา รัสเซลล์ ดัชเชสแห่งเบดฟอร์ด ได้ชื่อว่าเป็นผู้ริเริ่มอาหารว่างมื้อบ่าย ราว ค.ศ. 1800 เพื่อแก้หิวระหว่างคอยอาหารค่ำ ซึ่งก็ยังประเพณีที่ปฏิบัติกันอยู่บ้างในปัจจุบันประเพณีอีกอย่างหนึ่งทีเคยเป็นที่นิยมคือร้านน้ำชา (tea room) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เสิร์ฟชาและสโคน (คล้ายมัฟฟินแต่ไม่หวาน) กับครีมข้น (Clotted cream ซึ่งเป็นครีมที่ข้นเหมือนเนย) และแยมผลไม้ การดื่มกับสโคนกับครีมและแยมเรียกรวมกันว่า “Cream tea” แต่ประเพณีหมดความนิยมลง ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง การดื่มครีมทีจึงทำกันแต่ในบางโอกาส เดวอนและคอร์นวอลล์มีชื่อเสียงในเรื่องครีม การเรียก “Cream tea” มักจะทำให้เข้าใจผิดกันว่า เป็นการดื่มชากับครีมซึ่งไม่เป็นความจริง


บัตรชา

        ระหว่างคริสต์ศตวรรษ 1940 จนถึงคริสต์ศตวรรษ 1980 ใบชาที่ขายเป็นกล่องในสหราชอาณาจักร อาจจะมีบัตรรูปอยู่ภายในกล่องที่มีขนาดเดียวกับบัตรบุหรี่ ที่เป็นสิ่งที่มีความมุ่งหมายให้เป็นสิ่งสะสมสำหรับเด็ก บริษัทที่ขายชาใส่บัตรที่รู้จักกันดีก็มีชาไทฟู (Typhoo tea) และ บรุคบอนด์ผู้ผลิต ชาพีจีทิพส์ (PG Tips) ที่ต่อมาแจกอัลบั้มให้ใส่บัตรด้วย รูปที่เป็นบัตรก็เขียนโดยศิลปิน ที่บริษัทจ้างมาเช่นชาร์ลส์ ทันนิคลิฟฟ์ ปัจจุบันบัตรบางบัตรก็กลายเป็นของมีค่า


การดื่มชาของชาวอังกฤษในปัจจุบัน

         การสำรวจของบริษัทอินฟอร์มา (Informa) ระบุว่า จำนวนการดื่มชาตามปกติในสหราชอาณาจักร มีแนวโน้มในทางที่ลดลง แต่การขายกาแฟในช่วงเดียวกันก็มิได้เพิ่มขึ้น ชาวอังกฤษหันไปดื่มสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่าเช่นน้ำผลไม้ หรือชาที่ทำจากดอกไม้หรือผลไม้แทนที่ ที่แสดงให้เห็นจากสถิติของการดื่มเครื่องดื่มที่ว่าสูงขึ้น ถึงอัตราร้อยละ 50 ระหว่างปี ค.ศ. 1997 จนถึงปี ค.ศ. 2002 นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือสถิติของการขายชาและกาแฟ ที่ปราศจากคาเฟอีนในช่วงเดียวกันก็ลดลงมากยิ่งกว่าชาหรือกาแฟปกติ


ประเพณีทำชาของชาวอังกฤษโดยทั่วไป

         ในปัจจุบันการดื่มชาก็มักจะเป็นเพียงการเอาถุงชาใส่ "หมัก" และราดด้วยน้ำเดือด หรือถ้าซื้อชาหนึ่งแก้วในร้านอาหารประเภทเซิร์ฟตัวเอง ผู้ซื้อก็จะได้ถ้วยชาเปล่ากับถุงชาหนึ่งถุง ซึ่งไปเติมน้ำร้อนจากหม้อ และเติมนมและน้ำตาลเอาตามใจชอบ แต่ถ้าเป็นโอกาสการดื่มชาที่เป็นทางการ ก็จะมีการใช้ถ้วยชาและจานรองแทนที่จะเป็น “หมัก” อย่างที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบัน หรือถ้าใช้ “หมัก” ก็อาจจเป็นขนาดที่ย่อมหน่อย การทำชาโดยทั่วไปจะประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้

-  ต้มน้ำให้เดือดและเทลงในกาชาเล็กน้อย
-  หมุนกาชาให้น้ำร้อนกลั้วกาชาให้ทั่วเพื่ออุ่นกา แล้วเทน้ำทิ้ง
-  ใส่ใบชา (ปัจจุบันใช้ถุงชาเป็นส่วนใหญ่) ลงไปในกาชา กาชาขนาดกลางก็มักจะใช้ถุงชาราวสองถุงหรือสามถ้าชอบรสแก่ ขณะเดียวกันก็ต้มน้ำร้อนต่อให้เดือด
-  เติมน้ำร้อนลงในกาชา และคลุมกาชาด้วยถุงที่บุด้วยฉนวนที่เรียกว่า “tea cosy” เพื่อรักษาความร้อนของกาชา ทิ้งชาไว้ในกาสักครู่เพื่อให้ชาออกรสและได้ที่
-  เทนมในถ้วยชาที่จะเสิร์ฟหรืออาจจะรอให้ผู้ดื่มเติมเอง ถ้าเจ้าของบ้านเป็นผู้เติมให้ ก็จะถามก่อนว่าจะดื่มชาอย่างไร ผู้ถูกถามก็อาจจะตอบว่า “กับนมและน้ำตาล” หรือ “กับนม” หรือ “ไม่ใส่อะไร”
-  เทชาลงถ้วย ถ้าเป็นใบชาก็อาจจะเทผ่านที่กรองเล็กๆ
-  ถ้าเสิร์ฟเป็นชาดำ ผู้ดื่มก็จะเติมนมและ/หรือน้ำตาลเองตามใจชอบ
-  เติมใบชาในกา และน้ำร้อนเพิ่มสำหรับเสิร์ฟถ้วยต่อไป

การเติมนมก่อนหรือหลังเทชาจึงดี ก็เป็นเรื่องที่โต้แย้งกันมานานที่มาจากพื้นฐานที่ว่าเวลาที่เติม มีผลทำให้ชาเปลี่ยนรส แต่ก็ยังไม่เป็นทีตกลงกันได้

         ข้อที่น่าสังเกตคือชาจะต้มทิ้งไว้เหมือนกาแฟไม่ได้ ฉะนั้นตามร้านอาหารจึงไม่มีหม้อชา ตั้งไว้ให้เทเหมือนหม้อกาแฟ แต่จะมีหม้อน้ำร้อนให้เทในถ้วยชาแทนที่ เพราะเมื่อชาออกรสแล้วก็ต้องดื่มทันที ถ้าใส่น้ำร้อนทิ้งไว้นานก็จะออกเปรี้ยวทำให้เสียรส การดื่มชากับนมและน้ำตาลชาวอเมริกัน ถือว่าเป็นของแปลกเพราะการดื่มชาในสหรัฐอเมริกาส่วนใหญ่โดยทั่วไปจะเป็นการดื่มชาดำ


บทบาทของชา

        นักวิชาการบางท่านเสนอว่าชามีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติอุตสาหกรรมของอังกฤษ การดื่มชาตอนบ่ายเป็นการทำให้เพิ่มชั่วโมงการทำงานในโรงงานได้มากขึ้น ชาเป็นสิ่งที่ช่วนกระตุ้นประสาทและเมื่อดื่มกับของว่างหวาน ก็ยิ่งช่วยให้คนงานมีพลังเพิ่มขึ้นในการทำงาน นอกจากนั้นก็ยังกล่าวกันว่าการดื่มชา เป็นการช่วยรักษาสุขภาพอนามัยได้บ้าง จากภัยที่การอยู่อาศัยในเมือง เพราะผู้ดื่มชาต้องต้มน้ำก่อนดื่ม ที่ทำให้ผู้ดื่มเลี่ยงจากเชื้อโรคได้หลายอย่าง


สำนวน

        “ ไม่ยอมแม้ว่าจะให้ชาทั้งเมืองจีน” (Not for all the tea in China) สำนวนนี้เริ่มใช้กันมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถ้าผู้ใดกล่าวว่าจะไม่ยอมทำ แม้ว่าจะให้ชาทั้งเมืองจีนก็แสดงว่า ผู้นั้นมีความเด็ดเดี่ยวแน่วแน่ วลีนี้อาจจะมาจากการที่ชาเดิมเป็นของมีค่าและหายาก เมื่อการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษใหม่ๆ คนชั้นสูงเท่านั้นที่สามารถหาซื้อและดื่มชาได้ ใบชาก็ต้องเก็บล็อกไว้ในโต๊ะชา ที่สร้างเป็นพิเศษสำหรับการเก็บชาเพื่อกันจากการนำไปใช้โดยผู้รับใช้

>> BACK <<


สร้างโดย: 
ครู ชาญชัย เปี่ยมชาคร และ นส.ปณิชา อลงกรณ์ชุลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 428 คน กำลังออนไลน์