• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:65d85474428538cc1f4715c48c756c63' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"> <img border=\"0\" width=\"280\" src=\"/files/u40981/4664.gif\" alt=\"ลายนิ้วมือ\" height=\"142\" /></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"http://xchange.teenee.com/up01/post-5335-1152597631.gif\" height=\"120\" style=\"width: 48px; height: 45px\" /><span style=\"color: #cc99ff\"><img border=\"0\" width=\"193\" src=\"/files/u40981/images_0.jpg\" alt=\"ลายนิ้วมือ\" height=\"261\" style=\"width: 107px; height: 149px\" /></span></span></span><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"http://xchange.teenee.com/up01/post-5335-1152597631.gif\" height=\"120\" style=\"width: 47px; height: 47px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n       <span style=\"color: #ff00ff\"> </span><span style=\"color: #cc99ff\">   <strong> ผิวหนังบริเวณฝ่ามือฝ่าเท้าของเรา  นอกจากจะมีความหนามากกว่าส่วนอื่นแล้วก็ยังมีส่วนที่เป็นสัน (ridge -รอยนูนที่อยู่สูงกว่าผิวหนังส่วนนอก)  และส่วนที่เป็นร่อง(furrow -รอยลึกที่อยู่ต่ำกว่าระดับของเส้นนูน)  </strong><span><span><span><strong><span>ซึ่งจะประกอบขึ้นเป็นลวดลายที่ไม่ซ้ำกันเลย  แม้แต่ฝาแฝดก็มีลักษณะลายเส้นผิวหนังแตกต่างกัน </span><span> การสร้างลายเส้นบนนิ้วมือถูกควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมร่างกายมากถึง 7 ตำแหน่ง  และเป็นการถ่ายทอดพันธุกรรมที่</span><span>สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลร่วมด้วย(polygenic trait, multifactorial inheritance)  ยีนหลายคู่มีปฏิกิริยาร่วมกับสิ่งแวดล้อมในระยะตัวอ่อนในครรภ์  </span><span>มีผลทำให้แต่ละคนมีลายนิ้วมือที่แตกต่างกันไป </span></strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span><span><span><span><strong><span style=\"color: #cc99ff\"><span>           จากการศึกษาของเพนโรส  และโอฮารา (Penrose and Ohara)  โอคาจิมา(Okajima)  และบาคเลอร์ (Bakler) พบว่าลายเส้นบนนิ้วมือ  </span><span>เริ่มสร้างขึ้นประมาณสัปดาห์ที่ 10 ถึง 11  หลังจากที่ไข่ผสมกับสเปอร์ม  ในช่วงเวลาดังกล่าวลายเส้นบนผิวหนังปรากฏเป็นครั้งแรกในบริเวณ</span><span>ผิวหนังภายนอก (basal layer of epidermis)  มีชื่อเรียกว่า  ลายเส้นปฐมภูมิ (primary ridge)  และเจริญเติบโต</span><span>ต่อไปจนกระทั่งประมาณสัปดาห์ที่ 14  ซึ่งจะเป็นช่วงที่ต่อมเหงื่อเริ่มเกิดขึ้นตามแนวลายเส้นปฐมภูมิบน</span><span>กลางฝ่ามือ (primary ridge formation creases)  และลายเส้นทุติยภูมิ (secondary ridge)  จึงเริ่มเกิดขึ้น  </span><span>ระหว่างลายเส้นปฐมภูมินั้น  จนกระทั่งประมาณสัปดาห์ที่ 24 ถึง 25 </span></span></strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span><span><strong><span><span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></span></strong></span></span>\n</p>\n<div>\n<span style=\"font-size: large; color: #008080\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\">   </span></span> <span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #00ccff\">\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"364\" src=\"/files/u40981/post-5335-1152543942_0.gif\" height=\"52\" />\n</div>\n<p></p></span></span>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #00ccff\"></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #00ffff\">  </span><a href=\"/node/83624\"><span style=\"color: #00ffff\">    Home</span></a><span style=\"color: #00ffff\">       </span><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #cc99ff\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></strong></span>\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n', created = 1715988575, expire = 1716074975, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:65d85474428538cc1f4715c48c756c63' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ลายนิ้วมือ

 ลายนิ้วมือ
ลายนิ้วมือ

            ผิวหนังบริเวณฝ่ามือฝ่าเท้าของเรา  นอกจากจะมีความหนามากกว่าส่วนอื่นแล้วก็ยังมีส่วนที่เป็นสัน (ridge -รอยนูนที่อยู่สูงกว่าผิวหนังส่วนนอก)  และส่วนที่เป็นร่อง(furrow -รอยลึกที่อยู่ต่ำกว่าระดับของเส้นนูน)  ซึ่งจะประกอบขึ้นเป็นลวดลายที่ไม่ซ้ำกันเลย  แม้แต่ฝาแฝดก็มีลักษณะลายเส้นผิวหนังแตกต่างกัน  การสร้างลายเส้นบนนิ้วมือถูกควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมร่างกายมากถึง 7 ตำแหน่ง  และเป็นการถ่ายทอดพันธุกรรมที่สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลร่วมด้วย(polygenic trait, multifactorial inheritance)  ยีนหลายคู่มีปฏิกิริยาร่วมกับสิ่งแวดล้อมในระยะตัวอ่อนในครรภ์  มีผลทำให้แต่ละคนมีลายนิ้วมือที่แตกต่างกันไป

           จากการศึกษาของเพนโรส  และโอฮารา (Penrose and Ohara)  โอคาจิมา(Okajima)  และบาคเลอร์ (Bakler) พบว่าลายเส้นบนนิ้วมือ  เริ่มสร้างขึ้นประมาณสัปดาห์ที่ 10 ถึง 11  หลังจากที่ไข่ผสมกับสเปอร์ม  ในช่วงเวลาดังกล่าวลายเส้นบนผิวหนังปรากฏเป็นครั้งแรกในบริเวณผิวหนังภายนอก (basal layer of epidermis)  มีชื่อเรียกว่า  ลายเส้นปฐมภูมิ (primary ridge)  และเจริญเติบโตต่อไปจนกระทั่งประมาณสัปดาห์ที่ 14  ซึ่งจะเป็นช่วงที่ต่อมเหงื่อเริ่มเกิดขึ้นตามแนวลายเส้นปฐมภูมิบนกลางฝ่ามือ (primary ridge formation creases)  และลายเส้นทุติยภูมิ (secondary ridge)  จึงเริ่มเกิดขึ้น  ระหว่างลายเส้นปฐมภูมินั้น  จนกระทั่งประมาณสัปดาห์ที่ 24 ถึง 25

   
 

      Home       

สร้างโดย: 
น.ส. วิราศรี ดีประดับดวง นายจำเริญ บุญยืน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 306 คน กำลังออนไลน์