• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9b74d86343466b076ef2f2b33f16e9b1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium; font-family: Angsana New,Angsana New\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-indent: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. ภาษาคอมพิวเตอร์ (</span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\">Computer<span lang=\"TH\"> </span>Languages)<span lang=\"TH\"> คืออะไร ให้อธิบายอย่างละเอียด</span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">                                                                          <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตอบ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\"> <b>ภาษาคอมพิวเตอร์ </b>หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ โปรแกรมเมอร์</span>  <span lang=\"TH\"> เขียนเพื่อใช้สั่งงานตามรูปแบบและโครงสร้างของภาษาซึ่งแบ่งได้ 3 ระดับดังนี้คือ</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Cordia New\'\">                       <span>   </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Cordia New\'\"> </span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. ภาษาระดับต่า (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Low Level Language)<span lang=\"TH\"> </span></span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นภาษาที่มนุษย์ทำความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมได้</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">         <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span><b>2. ภาษาระดับกลาง (</b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Medium Level Language)<span lang=\"TH\"> </span></span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะมีลักษณะ เป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทาความเข้าใจได้เหมือนกับภาษาระดับสูงแต่ทางานได้รวดเร็วเหมือนกับภาษาระดับต่ำ สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกันโดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลางจึงเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลาง ได้แก่ ภาษาซี เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">      <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <b><span lang=\"TH\">3. ภาษาระดับสูง (</span>High Level Language)  <span lang=\"TH\"> </span></b><span lang=\"TH\">เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของ การใช้คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะต้องมีการแปลความหมายของคำสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า </span>Interpreter<span lang=\"TH\"> หรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่เรียกว่า </span>Compiler<span lang=\"TH\"> ภาษาซี (</span>C<span lang=\"TH\"> </span>Programming Language)      </span><span style=\"font-size: 9pt; color: red; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 9pt; color: red; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2.</span><span style=\"font-size: 18pt; color: red\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์เป็นอย่างไร</span><span style=\"font-size: 18pt; color: red\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> จงอธิบาย</span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\"> </span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">       </span></b><span style=\"font-size: 9pt; color: red; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">ตอบ</span></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\"> </span></span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาษาคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาหรือมีวิวัฒนาการโดยลำดับเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์</span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โดยจะสามารถแบ่งออกเป็นยุคหรือเป็นรุ่นของภาษา (</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Generation)<span lang=\"TH\"> ซึ่งในยุคหลังๆจะมีการพัฒนาภาษาให้มีความสะดวกในการอ่านและเขียนง่ายขึ้นกว่าภาษาในยุคแรกๆเนื่องจากจะมีโครงสร้างภาษาใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ</span>   <span lang=\"TH\">สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค</span>               <span lang=\"TH\"> </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาษาเครื่อง (</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Machine<span lang=\"TH\"> </span>Language)             <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\"> ภาษาแอสเซมบลี (</span>Assembly<span lang=\"TH\"> </span>Language)             <span lang=\"TH\"> </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาษาชั้นสูง (</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">High - level<span lang=\"TH\"> </span>Language)             <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">ภาษาชั้นสูงมาก (</span>Very High - level<span lang=\"TH\"> </span>Language)             <span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: red; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาษาธรรมชาติ (</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Natural<span lang=\"TH\"> </span>Language)<span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-size: 9pt; color: red; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">     <span lang=\"TH\"> <b>ภาษาเครื่อง</b></span> <b>  </b><span lang=\"TH\">ในยุคแรก ๆ การใช้คอมพิวเตอร์ให้ทำงานตามต้องการนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเขียนคำสั่งด้วยภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งเรียกว่า ภาษาเครื่อง คำสั่งของภาษาเครื่องนั้นจะประกอบด้วยกลุ่มของตัวเลขในระบบเลขฐานสอง เป็นภาษาเดียวเท่านั้นที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้โดยตรง ลักษณะของภาษาเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียนเรียงติดต่อกัน</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span><b>โครงสร้างของคำสั่งในภาษาเครื่อง</b> <b>คำสั่งในภาษาเครื่องจะประกอบ</b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">f<span lang=\"TH\">ด้วย 2 ส่วนคือ <br />\n</span>          <span lang=\"TH\"> </span></span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">โอเปอเรชันโคด (</span>Operation Code)<span lang=\"TH\"> เป็นคำสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เช่นการบวก (</span>Addition)<span lang=\"TH\"> การลบ (</span>Subtraction)<span lang=\"TH\"> เป็นต้น<br />\n</span>         <span lang=\"TH\"> </span> <span lang=\"TH\">โอเปอแรนด์ (</span>Operands)<span lang=\"TH\">เป็นตัวที่ระบุตำแหน่งที่เก็บของข้อมูลที่จะเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อนำไปปฏิบัติการตามคำสั่งในโอเปอเรชันโคด </span>     <span lang=\"TH\"> </span><b><o:p></o:p></b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาษาระดับต่ำหรือภาษาแอสเซมบลี</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\"> เป็นภาษาที่มีการใช้สัญลักษณ์ข้อความ(</span>mnemonic codes)<span lang=\"TH\">แทนกลุ่มของเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจำมากกว่าภาษาเครื่อง ตัวอย่างเช่นมีการใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้</span>        <span lang=\"TH\"> </span>A<span lang=\"TH\"> ย่อมาจาก </span>ADD<span lang=\"TH\"> หมายถึงการบวก</span> <span lang=\"TH\"> </span>       S<span lang=\"TH\"> ย่อมาจาก </span>SUBTRACT<span lang=\"TH\"> หมายถึงการลบ<br />\n</span>        <span lang=\"TH\"> </span>C<span lang=\"TH\"> ย่อมาจาก </span>COMPLARE<span lang=\"TH\"> หมายถึงการเปรียบเทียบ<br />\n</span>        <span lang=\"TH\"> </span>MP<span lang=\"TH\"> ย่อมาจาก </span>MULTIPLY<span lang=\"TH\"> หมายถึงการคูณ<br />\n</span>        <span lang=\"TH\"> </span>ST<span lang=\"TH\"> ย่อมาจาก </span>SRORE<span lang=\"TH\"> หมายถึง การเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำ เป็นต้น </span><b><o:p></o:p></b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาษาระดับสูง</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">          <span lang=\"TH\">สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าเป็นภาษารุ่นที่ 3(3</span>rd<span lang=\"TH\"> </span>Generation Languages<span lang=\"TH\"> หรือ 3</span>GLs)<span lang=\"TH\"> เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียนและอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆ ไป และที่สำคัญคือผู้เขียนโปรแกรมไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน (</span>FORTRAN)<span lang=\"TH\"> โคบอล (</span>COBOL)<span lang=\"TH\"> เบสิก (</span>BASIC)<span lang=\"TH\"> ปาสคาล (</span>PASCAL)<span lang=\"TH\"> ซี (</span>C)<span lang=\"TH\"> เอดา (</span><st1:city w:st=\"on\"><st1:place w:st=\"on\">ADA</st1:place></st1:city><span lang=\"TH\">)อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูกเขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทำงานได้ ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน </span>           <span lang=\"TH\"> </span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>        </span>คอมไพเลอร์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Compiler)</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">           <span lang=\"TH\"> จะทำการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะเป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา ถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกิดขึ้นก็จะแจ้งให้ทราบ เรียกข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา(</span>Syntax Error)<span lang=\"TH\"> นี้ได้ว่าเป็น</span> <span lang=\"TH\">ข้อความไดแอคนอสติค (</span>Diagnostic<span lang=\"TH\"> </span>Message)<span lang=\"TH\"> เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมทำการแก้ไขให้ถูกต้อง แล้วจึงค่อยสั่งให้แปลใหม่ </span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>        </span>อินเตอร์พรีเตอร์ (</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Interpreter)</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">              <span lang=\"TH\">เป็นตัวแปลภาษาอีกตัวหนึ่งที่จะทำการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่องและทำการเอ็กซ์วีคิวท์หรือทำงานคำสั่งนั้นทันทีทันใดเลยก่อนที่จะไปทำการแปลต่อในบรรทัดถัดไปถ้าในระหว่างการแปลเกิดพบข้อผิดพลาดทีบรรทัดใดก็จะฟ้องให้ทำการแก้ไขทีละบรรทัดนั้นทันทีอินเตอร์พรีเตอร์นี้เมื่อโปรแกรมเสร็จแล้วจะไม่สามารถเก็บเป็นเอ็กซ์ซีคิวท์โปรแกรม (</span>Execute Program)<span lang=\"TH\"> ได้ซึ่งต่างกับคอมไพเลอร์ดังนั้นเมื่อจะเรียกใช้งานหรือรันโปรแกรมก็จะต้องทำการแปลหรือคอมไพล์โปรแกรมใหม่ทุกครั้งไปดังนั้นเมื่อจะเรียกใช้งานเอ็กซ์ซีคิวท์ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span><b>ภาษาชั้นสูงมาก (</b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Very<span lang=\"TH\"> </span>high - Level Language)</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าภาษาในรุ่นที่ 4 (4</span>GLs: Fourth<span lang=\"TH\"> </span>Generation Languages)<span lang=\"TH\">ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของภาษาในรุ่นที่เป็นธรรมชาติคล้ายๆ กับภาษาพูดของมนุษย์จะช่วยในเรื่องของการสร้างแบบฟอร์มบนหน้าจอเพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงาน ซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือนภาษารุ่นที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ </span>Informix-<span lang=\"TH\">4</span>GL, Focus, Sybase, InGres<span lang=\"TH\"> เป็นต้น</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาษาธรรมชาติ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">              <span lang=\"TH\">เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ </span>Nonprocedural<span lang=\"TH\"> เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ภาษามนุษย์โดยตรง ซึ่งโดยทั่วไปคำสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์จะอยู่ในรูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคำสั่ง เหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ถ้าตั้งคำถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคำถามได้อย่างถูกต้อภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (</span>Expert System)</span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\">           <span lang=\"TH\"> 3.ให้นักเรียนอธิบายว่า </span>“<span lang=\"TH\">ภาษาธรรมชาติ</span>”<span lang=\"TH\"> คืออะไรแล้วเกี่ยวข้องอย่างไรกับ ภาษาคอมพิวเตอร์ </span>            <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตอบ</span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\">      <span lang=\"TH\"> </span></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภาษาธรรมชาติ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ </span>Nonprocedural<span lang=\"TH\"> เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ภาษามนุษย์โดยตรง ซึ่งโดยทั่วไปคำสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์จะอยู่ในรูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคำสั่ง เหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ถ้าตั้งคำถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคำถามได้อย่างถูกต้อภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (</span>Expert System)<span lang=\"TH\"> ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์(</span>Artificial Intelligence)<span lang=\"TH\"> ในการที่พยายามทำให้คอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกับเป็นผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งที่สามารถคิดและตัดสินใจได้เช่นเดียวกับมนุษย์ คอมพิวเตอร์สามารถตอบคำถามของมนุษย์ได้อย่างถูกต้องพร้อมทั้งมีข้อแนะนำต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของมนุษย์ได้อีกด้วย ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้จะใช้กับงานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งเช่น ในการแพทย์ ในการพยากรณ์อากาศ ในการวิเคราะห์ทางเคมี การลงทุน ฯลฯ ซึ่งในการนี้จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมหาศาลและให้ผู้ใช้สามารถใช้ภาษาธรรมชาติในการดึงข้อมูลจากฐานความรู้นี้ได้ ดังนั้นเราจึงอาจเรียกระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้อีกอย่างว่าเป็นระบบฐานความรู้ (</span>Knowledge Base System)<span lang=\"TH\">อย่างไรก็ตามระบบผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถนำมาแทนที่การทำงานของผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ได้ เนื่องจากทั้งระบบผู้เชี่ยวชาญและมนุษย์จะต้องทำงานร่วมกัน โดยมนุษย์จะนำข้อมูลที่ได้จากระบบผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณาร่วมกับวิจารญาณของตนเองเพื่อตัดสินปัญหาที่ซับซ้อนอีกที อย่างไรก็ตามระบบผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นคลื่นแห่งอนาคต ที่จะใช้เป็นเครื่องมือช่วยตัดสินใจการทำงานของมนุษย์ได้อย่างดีเยี่ยม <o:p></o:p></span></span></span></span></p>\n', created = 1715808936, expire = 1715895336, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9b74d86343466b076ef2f2b33f16e9b1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ใบงานที่ 1 รู้จักภาษาคอมพิวเตอร์

1. ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) คืออะไร ให้อธิบายอย่างละเอียด                                                                           ตอบ  ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ โปรแกรมเมอร์   เขียนเพื่อใช้สั่งงานตามรูปแบบและโครงสร้างของภาษาซึ่งแบ่งได้ 3 ระดับดังนี้คือ                           1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language) เป็นภาษาที่มนุษย์ทำความเข้าใจได้ยาก ส่วนใหญ่ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดีจึงจะสามารถเขียนโปรแกรมได้          2. ภาษาระดับกลาง (Medium Level Language) เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ไม่ยากนัก เพราะมีลักษณะ เป็นภาษาแบบโครงสร้าง ทาความเข้าใจได้เหมือนกับภาษาระดับสูงแต่ทางานได้รวดเร็วเหมือนกับภาษาระดับต่ำ สามารถใช้บนเครื่องที่มีความเร็วต่างกันโดยไม่ต้องดัดแปลง ภาษาระดับกลางจึงเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลาย ตัวอย่างของภาษาระดับกลาง ได้แก่ ภาษาซี เป็นต้น       3. ภาษาระดับสูง (High Level Language)   เป็นภาษาที่ทาความเข้าใจได้ง่าย มีลักษณะของ การใช้คาสั่งเป็นภาษาอังกฤษซึ่งใกล้เคียงกับภาษามนุษย์มากการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานจะต้องมีการแปลความหมายของคำสั่งโดยใช้ตัวแปลภาษาทีละชุดคาสั่งที่เรียกว่า Interpreter หรือแปลครั้งเดียวทั้งโปรแกรมที่เรียกว่า Compiler ภาษาซี (C Programming Language)       2.  วิวัฒนาการของภาษาคอมพิวเตอร์เป็นอย่างไร  จงอธิบาย          ตอบ   ภาษาคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาหรือมีวิวัฒนาการโดยลำดับเช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ โดยจะสามารถแบ่งออกเป็นยุคหรือเป็นรุ่นของภาษา (Generation) ซึ่งในยุคหลังๆจะมีการพัฒนาภาษาให้มีความสะดวกในการอ่านและเขียนง่ายขึ้นกว่าภาษาในยุคแรกๆเนื่องจากจะมีโครงสร้างภาษาใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษ   สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็น 5 ยุค                ภาษาเครื่อง (Machine Language)               ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)              ภาษาชั้นสูง (High - level Language)              ภาษาชั้นสูงมาก (Very High - level Language)              ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)       ภาษาเครื่อง   ในยุคแรก ๆ การใช้คอมพิวเตอร์ให้ทำงานตามต้องการนั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเขียนคำสั่งด้วยภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งเรียกว่า ภาษาเครื่อง คำสั่งของภาษาเครื่องนั้นจะประกอบด้วยกลุ่มของตัวเลขในระบบเลขฐานสอง เป็นภาษาเดียวเท่านั้นที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้โดยตรง ลักษณะของภาษาเป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์แต่ละระบบ โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย เลข 0 และเลข 1 ที่นำมาเขียนเรียงติดต่อกัน โครงสร้างของคำสั่งในภาษาเครื่อง คำสั่งในภาษาเครื่องจะประกอบfด้วย 2 ส่วนคือ
          
 โอเปอเรชันโคด (Operation Code) เป็นคำสั่งที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เช่นการบวก (Addition) การลบ (Subtraction) เป็นต้น
           โอเปอแรนด์ (Operands)เป็นตัวที่ระบุตำแหน่งที่เก็บของข้อมูลที่จะเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อนำไปปฏิบัติการตามคำสั่งในโอเปอเรชันโคด      
ภาษาระดับต่ำหรือภาษาแอสเซมบลี  เป็นภาษาที่มีการใช้สัญลักษณ์ข้อความ(mnemonic codes)แทนกลุ่มของเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจำมากกว่าภาษาเครื่อง ตัวอย่างเช่นมีการใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้         A ย่อมาจาก ADD หมายถึงการบวก         S ย่อมาจาก SUBTRACT หมายถึงการลบ
         C ย่อมาจาก COMPLARE หมายถึงการเปรียบเทียบ
         MP ย่อมาจาก MULTIPLY หมายถึงการคูณ
         ST ย่อมาจาก SRORE หมายถึง การเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำ เป็นต้น
ภาษาระดับสูง           สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าเป็นภาษารุ่นที่ 3(3rd Generation Languages หรือ 3GLs) เป็นภาษาที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียนและอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษทั่วๆ ไป และที่สำคัญคือผู้เขียนโปรแกรมไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบฮาร์ดแวร์แต่อย่างใด ตัวอย่างของภาษาประเภทนี้ได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) เบสิก (BASIC) ปาสคาล (PASCAL) ซี (C) เอดา (ADA)อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่ถูกเขียนด้วยภาษาประเภทนี้จะทำงานได้ ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้เป็นภาษาเครื่องเสียก่อน                     คอมไพเลอร์ (Compiler)             จะทำการแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องทีเดียว การแปลนี้จะเป็นการตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษา ถ้ามีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษาเกิดขึ้นก็จะแจ้งให้ทราบ เรียกข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา(Syntax Error) นี้ได้ว่าเป็น ข้อความไดแอคนอสติค (Diagnostic Message) เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมทำการแก้ไขให้ถูกต้อง แล้วจึงค่อยสั่งให้แปลใหม่         อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)               เป็นตัวแปลภาษาอีกตัวหนึ่งที่จะทำการแปลโปรแกรมภาษาชั้นสูงทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่องและทำการเอ็กซ์วีคิวท์หรือทำงานคำสั่งนั้นทันทีทันใดเลยก่อนที่จะไปทำการแปลต่อในบรรทัดถัดไปถ้าในระหว่างการแปลเกิดพบข้อผิดพลาดทีบรรทัดใดก็จะฟ้องให้ทำการแก้ไขทีละบรรทัดนั้นทันทีอินเตอร์พรีเตอร์นี้เมื่อโปรแกรมเสร็จแล้วจะไม่สามารถเก็บเป็นเอ็กซ์ซีคิวท์โปรแกรม (Execute Program) ได้ซึ่งต่างกับคอมไพเลอร์ดังนั้นเมื่อจะเรียกใช้งานหรือรันโปรแกรมก็จะต้องทำการแปลหรือคอมไพล์โปรแกรมใหม่ทุกครั้งไปดังนั้นเมื่อจะเรียกใช้งานเอ็กซ์ซีคิวท์          ภาษาชั้นสูงมาก (Very high - Level Language)   สามารถเรียกได้อีกอย่างว่าภาษาในรุ่นที่ 4 (4GLs: Fourth Generation Languages)ภาษานี้เป็นภาษาที่อยู่ในระดับที่สูงกว่าภาษารุ่นที่ 3 มีลักษณะของภาษาในรุ่นที่เป็นธรรมชาติคล้ายๆ กับภาษาพูดของมนุษย์จะช่วยในเรื่องของการสร้างแบบฟอร์มบนหน้าจอเพื่อจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงาน ซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุ่งยากเหมือนภาษารุ่นที่ 3 ตัวอย่างของภาษาในรุ่นที่ 4 ได้แก่ Informix-4GL, Focus, Sybase, InGres เป็นต้น ภาษาธรรมชาติ              เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ Nonprocedural เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ภาษามนุษย์โดยตรง ซึ่งโดยทั่วไปคำสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์จะอยู่ในรูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคำสั่ง เหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ถ้าตั้งคำถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคำถามได้อย่างถูกต้อภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)             3.ให้นักเรียนอธิบายว่า ภาษาธรรมชาติ คืออะไรแล้วเกี่ยวข้องอย่างไรกับ ภาษาคอมพิวเตอร์             ตอบ       ภาษาธรรมชาติ    เป็นภาษาในยุคที่ 5 ที่มีรูปแบบเป็นแบบ Nonprocedural เช่นเดียวกับภาษารุ่นที่ 4 การที่เรียกว่า ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้ภาษามนุษย์โดยตรง ซึ่งโดยทั่วไปคำสั่งที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์จะอยู่ในรูปของภาษาพูดมนุษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์ก็สามารถแปลคำสั่ง เหล่านั้นให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ถ้าตั้งคำถามใดไม่กระจ่างก็จะมีการถามกลับเพื่อให้เข้าใจคำถามได้อย่างถูกต้อภาษาธรรมชาตินี้ ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ซึ่งเป็นงานที่อยู่ในสาขาปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) ในการที่พยายามทำให้คอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกับเป็นผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งที่สามารถคิดและตัดสินใจได้เช่นเดียวกับมนุษย์ คอมพิวเตอร์สามารถตอบคำถามของมนุษย์ได้อย่างถูกต้องพร้อมทั้งมีข้อแนะนำต่างๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจของมนุษย์ได้อีกด้วย ระบบผู้เชี่ยวชาญนี้จะใช้กับงานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งเช่น ในการแพทย์ ในการพยากรณ์อากาศ ในการวิเคราะห์ทางเคมี การลงทุน ฯลฯ ซึ่งในการนี้จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่เป็นจำนวนมหาศาลและให้ผู้ใช้สามารถใช้ภาษาธรรมชาติในการดึงข้อมูลจากฐานความรู้นี้ได้ ดังนั้นเราจึงอาจเรียกระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ได้อีกอย่างว่าเป็นระบบฐานความรู้ (Knowledge Base System)อย่างไรก็ตามระบบผู้เชี่ยวชาญไม่สามารถนำมาแทนที่การทำงานของผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ได้ เนื่องจากทั้งระบบผู้เชี่ยวชาญและมนุษย์จะต้องทำงานร่วมกัน โดยมนุษย์จะนำข้อมูลที่ได้จากระบบผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณาร่วมกับวิจารญาณของตนเองเพื่อตัดสินปัญหาที่ซับซ้อนอีกที อย่างไรก็ตามระบบผู้เชี่ยวชาญนี้เป็นคลื่นแห่งอนาคต ที่จะใช้เป็นเครื่องมือช่วยตัดสินใจการทำงานของมนุษย์ได้อย่างดีเยี่ยม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 205 คน กำลังออนไลน์