• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:85292138d97e6322a1aaa8d197a297b8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><b><span style=\"color: #800000\">ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก </span></b></span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u39899/his_euclid.jpg\" height=\"203\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff\">                     <span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\">ยุคลิคแห่งละเล็กซานเดรีย (Euclid  of  Alexandria) ประมาณ 450 - 3800 ก่อนคริสต์ศักราช</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<b>   <span style=\"color: #800000\">   <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"> <span style=\"color: #800000\"> ประวัติ </span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"> <span style=\"color: #008000\"> </span><span style=\"color: #008000\"> </span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\">ยุคลิคเป็นชาวกรีัก  ศึกษาที่ีสถาบันของ Plato ที่กรุงเอเธนส์ ท่านได้รับการ แต่งตั้งเป็นทั้งศาสตราจารย์และหัวหน้าภาควิชาคณิตศาสตร์              คนแรกที่ มหาลัยอะเล็กซานเดรีย ซึ่งเป็นมหาลัยแห่งแรกในโลก ตั้งขึ้นเมื่อ ประมาณ 300 ปี ก่อนคริสต์ศักราช</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<b>     <span style=\"color: #800000\">   <span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #ff0000\">  ผลงาน</span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #339966\">ผลงานชิ้นสำคัญของยุคลิค คือ การเขียนตำราทางคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ ผลงานที่ยังคงอยู่่ในปัจุบัน 5 ชิ้น ได้แก่</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">        1.Division of Figures 2.Data 3.Phaenomena 4.Optic 5.Elements</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">        Elements ประกอบด้วยหนังสือ 13 เล่ม และทฤษฎีบท 465 ทฤษฎีบท เป็นต้น</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span>   <img width=\"154\" src=\"/files/u39899/his_pythagoras.jpg\" height=\"203\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\">ปีทาโกรัส (Pythagoras) ประมาณ 572 - 500 ก่อนคริสต์ศักราช </span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #800000\"> </span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #800000\"> <span style=\"color: #800000\">ประวัติ</span></span> </span></span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"> <span style=\"color: #ff00ff\">  ปีทาโกรัสเป็นชาวกรีก เกิดที่เกาพซามอส กล่าวกันว่าท่านเคยศึกษาที่อียิปต์และ เป็นศิษย์ของทาลิส ปีทาโกรัสได้ก่อตั้งสำนักปิทาโกเรียน</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">      ที่เมือง Crotona ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศอิตาลี ปีทาโกรัสคิดว่าปริมาณต่างๆ ในธรรมชาติสามารถเขียนในรูปเศษส่วนของ จำนวนนับ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">      จนมีคำขวัญของสำนักว่า &quot;ทุกสิ่งคือจำนวนนับ&quot; เมื่อมีการค้นพบจำนวนอตรรกยะชึ้น ทำให้ปีทาโกรัสและศิษย์ทั้งหลายเสียขวัญและกำลังใจ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">      เมื่อทางราชการขับไล่เพราะกล่าวหาว่า สำนักปีทาโกเรียนเป็นสถาบันศักดินา สำนักปีทาโกเรียนก็สูญสลายไป</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">  </span><span style=\"color: #800000\"> <span style=\"color: #800000\"><b><span style=\"color: #ff0000\"> ผลงาน</span></b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">ผลงานนี้จะกล่าวรวมว่าเป็น ผลงานของ สำนักปีทาโกเรียน เพราะไม่มีข้อมูลที่แน่ชัด ซึ่งมีดังต่อไป</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">       1.จำนวนคู่และจำนวนคี่</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">       2.ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนกับทฤษฎีของดนตรี</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">       3.จำนวนเชิงรูปเหลี่ยม  เช่น  จำนวนเชิงสามเหลี่ยม , จำนวนเชิงจตุรัส</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">       4.จำนวนอตรรกยะ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">       5.พีชคณิตเชิงเรขาคณิต</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">       6.พิสูจน์ทฤษฎีบทปีทาโกรัส</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<img width=\"150\" src=\"/files/u39899/his_fermat.jpg\" height=\"203\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff; background-color: #00ff00\">ปีแยร์  เดอ แฟร์มาด์ (Pierre de Fermat) ประมาณ ค.ศ. 1601 - 1665</span>\n</p>\n<p>\n<b>       <span style=\"color: #ff0000\"> <span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #ff0000\"> <span style=\"color: #800000\">ประวัติ</span></span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">แฟร์มาต์เกิดใกล้เมือง Toulouse ประเทศฝรั่งเศส ในปี 1601 และ ถึงแก่กรรมที่เมือง Castres ในปี 1665 บิดาเป็นพ่อค้าเครื่องหนังในวัย</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">      เด็กศึกษาอยู่กับบ้าน แฟร์มาต์มีอาชีพเป็นนักกฎหมาย เมื่ออายุ 30 ปี ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ ปรึกษากฎหมายขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">      ของเมือง Toulouse ท่านได้ใช้ เวลาว่างศึกษาค้นคว้าคณิตศาสตร์เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับนักคณิตศาสตร์ ที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น มีส่วนใน</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">      การพัฒนาคณิตศาสตร์ในหลายสาขา นับได้ว่าเป็น นักคณิตศาสตร์สมัครเล่นที่มีชื่อเสียงที่สุด</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<b> <span style=\"color: #800000\"> <span style=\"color: #800000\">       </span></span><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #ff0000\"> ผลงาน</span></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">        <span style=\"color: #008000\">   1.ริเริ่มพัฒนาเรขาคณิตวิเคราะห์ ในระยะเวลาใกล้กันกับเดส์การ์ตส์</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">           2.ริเริ่มวิธีหาเส้นสัมผัสเส้นโค้ง หาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชัน</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">           3.ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็น ร่วมกับปาสกาล</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">           4.พัฒนาทฤษฎีบทต่าง ในทฤษฎีจำนวน เช่น Fermat\'s two square theorem : ทุกจำนวนเฉพาะในรูป 4n + 1 สามารถเขียน ในรูป</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\">             ผลบวกของจำนวนเต็มยกกำลังสองได้คู่หนึ่งและคู่เดียวเท่านั้น</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #008000\">             Fermat\'s theorem : ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะและ n เป็นจำนวนเต็มบวก จำได้ว่า p หาร n p - n ลงตัว</span> </span></span>\n</p>\n', created = 1715634178, expire = 1715720578, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:85292138d97e6322a1aaa8d197a297b8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัตินักคณิตศาสตร์โลก

ประวัตินักคณิตศาสตร์ของโลก

                     ยุคลิคแห่งละเล็กซานเดรีย (Euclid  of  Alexandria) ประมาณ 450 - 3800 ก่อนคริสต์ศักราช

        ประวัติ 

   ยุคลิคเป็นชาวกรีัก  ศึกษาที่ีสถาบันของ Plato ที่กรุงเอเธนส์ ท่านได้รับการ แต่งตั้งเป็นทั้งศาสตราจารย์และหัวหน้าภาควิชาคณิตศาสตร์              คนแรกที่ มหาลัยอะเล็กซานเดรีย ซึ่งเป็นมหาลัยแห่งแรกในโลก ตั้งขึ้นเมื่อ ประมาณ 300 ปี ก่อนคริสต์ศักราช

          ผลงาน

ผลงานชิ้นสำคัญของยุคลิค คือ การเขียนตำราทางคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ ผลงานที่ยังคงอยู่่ในปัจุบัน 5 ชิ้น ได้แก่

        1.Division of Figures 2.Data 3.Phaenomena 4.Optic 5.Elements

        Elements ประกอบด้วยหนังสือ 13 เล่ม และทฤษฎีบท 465 ทฤษฎีบท เป็นต้น

  

ปีทาโกรัส (Pythagoras) ประมาณ 572 - 500 ก่อนคริสต์ศักราช

  ประวัติ

   ปีทาโกรัสเป็นชาวกรีก เกิดที่เกาพซามอส กล่าวกันว่าท่านเคยศึกษาที่อียิปต์และ เป็นศิษย์ของทาลิส ปีทาโกรัสได้ก่อตั้งสำนักปิทาโกเรียน

      ที่เมือง Crotona ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของ ประเทศอิตาลี ปีทาโกรัสคิดว่าปริมาณต่างๆ ในธรรมชาติสามารถเขียนในรูปเศษส่วนของ จำนวนนับ

      จนมีคำขวัญของสำนักว่า "ทุกสิ่งคือจำนวนนับ" เมื่อมีการค้นพบจำนวนอตรรกยะชึ้น ทำให้ปีทาโกรัสและศิษย์ทั้งหลายเสียขวัญและกำลังใจ

      เมื่อทางราชการขับไล่เพราะกล่าวหาว่า สำนักปีทาโกเรียนเป็นสถาบันศักดินา สำนักปีทาโกเรียนก็สูญสลายไป

    ผลงาน

ผลงานนี้จะกล่าวรวมว่าเป็น ผลงานของ สำนักปีทาโกเรียน เพราะไม่มีข้อมูลที่แน่ชัด ซึ่งมีดังต่อไป

       1.จำนวนคู่และจำนวนคี่

       2.ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนกับทฤษฎีของดนตรี

       3.จำนวนเชิงรูปเหลี่ยม  เช่น  จำนวนเชิงสามเหลี่ยม , จำนวนเชิงจตุรัส

       4.จำนวนอตรรกยะ

       5.พีชคณิตเชิงเรขาคณิต

       6.พิสูจน์ทฤษฎีบทปีทาโกรัส

ปีแยร์  เดอ แฟร์มาด์ (Pierre de Fermat) ประมาณ ค.ศ. 1601 - 1665

         ประวัติ

แฟร์มาต์เกิดใกล้เมือง Toulouse ประเทศฝรั่งเศส ในปี 1601 และ ถึงแก่กรรมที่เมือง Castres ในปี 1665 บิดาเป็นพ่อค้าเครื่องหนังในวัย

      เด็กศึกษาอยู่กับบ้าน แฟร์มาต์มีอาชีพเป็นนักกฎหมาย เมื่ออายุ 30 ปี ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นที่ ปรึกษากฎหมายขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น

      ของเมือง Toulouse ท่านได้ใช้ เวลาว่างศึกษาค้นคว้าคณิตศาสตร์เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับนักคณิตศาสตร์ ที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น มีส่วนใน

      การพัฒนาคณิตศาสตร์ในหลายสาขา นับได้ว่าเป็น นักคณิตศาสตร์สมัครเล่นที่มีชื่อเสียงที่สุด

          ผลงาน

           1.ริเริ่มพัฒนาเรขาคณิตวิเคราะห์ ในระยะเวลาใกล้กันกับเดส์การ์ตส์

           2.ริเริ่มวิธีหาเส้นสัมผัสเส้นโค้ง หาค่าสูงสุดและต่ำสุดของฟังก์ชัน

           3.ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็น ร่วมกับปาสกาล

           4.พัฒนาทฤษฎีบทต่าง ในทฤษฎีจำนวน เช่น Fermat's two square theorem : ทุกจำนวนเฉพาะในรูป 4n + 1 สามารถเขียน ในรูป

             ผลบวกของจำนวนเต็มยกกำลังสองได้คู่หนึ่งและคู่เดียวเท่านั้น

             Fermat's theorem : ถ้า p เป็นจำนวนเฉพาะและ n เป็นจำนวนเต็มบวก จำได้ว่า p หาร n p - n ลงตัว

สร้างโดย: 
ธนภัทร ทัศน์พีรพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 371 คน กำลังออนไลน์