• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eb652017f0cdfa86987fce3e1ceba695' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"600\" height=\"150\">\n <param name=\"width\" value=\"600\" />\n <param name=\"height\" value=\"150\" />\n <param name=\"src\" value=\"/files/u37791/title1.swf\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"600\" height=\"150\" src=\"/files/u37791/title1.swf\"></embed>\n</object></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"600\" height=\"200\">\n <param name=\"width\" value=\"600\" />\n <param name=\"height\" value=\"200\" />\n <param name=\"src\" value=\"/files/u37791/au.swf\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"600\" height=\"200\" src=\"/files/u37791/au.swf\"></embed>\n</object></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 13px; font-family: Tahoma,sans-serif\">         นักวิทยาศาสตร์ชอบค้นหาความจริงในธรรมชาติโดยจะเริ่มสังเกตธรรมชาติก่อนและจะเชื่อเมื่อได้ทดสอบหลายๆ ครั้งจนมั่นใจ </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 13px; font-family: Tahoma,sans-serif\">ในขณะที่สังเกตหรือทดสอบ นักวิทยาศาสตร์อาจค้นพบข้อเท็จจริงใหม่ๆ ที่ตนไม่เคยพบมาก่อน และจะนำข้อเท็จจริงใหม่ ๆ เหล่านี้มาพิจารณาหาความสัมพันธ์กับข้อเท็จจริงเดิมที่มีอยู่ก่อนเมื่อผ่านขั้นการทดลองแล้วนักวิทยาศาสตร์อาจจะประมวลสรุปเป็นความรู้ในรูปทั่ว ๆ </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 13px; font-family: Tahoma,sans-serif\">ไป เพื่อใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่อไป</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n        <br />\nวิธีการสรุปผลค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือทดลองหลาย ๆ ครั้ง จากกรณีย่อย ๆ แล้วสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป เช่นนี้เราเรียกว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Deductive Reasoning) ปัจจุบันได้พัฒนามาเป็นระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) ความรู้ที่ได้มาด้วยวิธีการดังกล่าวหากมีผู้พบว่าไม่เป็นไปตามที่สรุปไว้ นักวิทยาศาสตร์จะพยายามเปลี่ยนหรือแก้ไขข้อสรุปเดิม เพื่อให้ได้ข้อใหม่ที่เหมาะสมกว่า และถ้าหากว่าข้อสรุปนั้นสอดคล้องกับทุกกรณีที่เป็นไปได้ และอาจใช้พยากรณ์ข้อเท็จจริงอื่น ๆ ได้อีกข้อสรุปนั้นจะกลายเป็นกฏหรือทฤษฏี กฏหรือทฤษฏีนั้น อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้อีก ถ้ามีผู้พบข้อเท็จจริงใหม่ที่ขัดแย้งกับข้อที่ได้ตั้งไว้แล้วซึ่งสอดคล้องกับระบบคณิตศาสตร์\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma,sans-serif\" lang=\"TH\"><span>       </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 12px; font-family: Tahoma,Arial,Helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma,sans-serif\" lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 12px; font-family: Tahoma,Arial,Helvetica,sans-serif\"><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma,sans-serif\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-weight: normal; font-size: 12px; font-family: Tahoma,Arial,Helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma,sans-serif\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 12px; font-family: Tahoma,Arial,Helvetica,sans-serif\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma,sans-serif\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 12px; font-family: Tahoma,Arial,Helvetica,sans-serif\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 13px; line-height: 14px; font-family: Tahoma,sans-serif\"><br />\n</span> </span></span></span></span></span></span></b></span></span></span></span><a href=\"/node/81192\"><img src=\"/files/u37791/2010-09-02_220853.jpg\" width=\"75\" height=\"133\" /></a>   <a href=\"/node/81164\"><img src=\"/files/u37791/2010-09-02_220751.jpg\" width=\"94\" height=\"119\" /></a>  <a href=\"/node/81197\"><img src=\"/files/u37791/2010-09-02_220829.jpg\" width=\"79\" height=\"135\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1715699970, expire = 1715786370, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eb652017f0cdfa86987fce3e1ceba695' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การให้เหตุผล ------->ความหมายของการให้เหตุผลแบบอุปนัย

 
         นักวิทยาศาสตร์ชอบค้นหาความจริงในธรรมชาติโดยจะเริ่มสังเกตธรรมชาติก่อนและจะเชื่อเมื่อได้ทดสอบหลายๆ ครั้งจนมั่นใจ
ในขณะที่สังเกตหรือทดสอบ นักวิทยาศาสตร์อาจค้นพบข้อเท็จจริงใหม่ๆ ที่ตนไม่เคยพบมาก่อน และจะนำข้อเท็จจริงใหม่ ๆ เหล่านี้มาพิจารณาหาความสัมพันธ์กับข้อเท็จจริงเดิมที่มีอยู่ก่อนเมื่อผ่านขั้นการทดลองแล้วนักวิทยาศาสตร์อาจจะประมวลสรุปเป็นความรู้ในรูปทั่ว ๆ
ไป เพื่อใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่อไป
        
วิธีการสรุปผลค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือทดลองหลาย ๆ ครั้ง จากกรณีย่อย ๆ แล้วสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป เช่นนี้เราเรียกว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Deductive Reasoning) ปัจจุบันได้พัฒนามาเป็นระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) ความรู้ที่ได้มาด้วยวิธีการดังกล่าวหากมีผู้พบว่าไม่เป็นไปตามที่สรุปไว้ นักวิทยาศาสตร์จะพยายามเปลี่ยนหรือแก้ไขข้อสรุปเดิม เพื่อให้ได้ข้อใหม่ที่เหมาะสมกว่า และถ้าหากว่าข้อสรุปนั้นสอดคล้องกับทุกกรณีที่เป็นไปได้ และอาจใช้พยากรณ์ข้อเท็จจริงอื่น ๆ ได้อีกข้อสรุปนั้นจะกลายเป็นกฏหรือทฤษฏี กฏหรือทฤษฏีนั้น อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้อีก ถ้ามีผู้พบข้อเท็จจริงใหม่ที่ขัดแย้งกับข้อที่ได้ตั้งไว้แล้วซึ่งสอดคล้องกับระบบคณิตศาสตร์

      
 
   

สร้างโดย: 
สาธิยา&นรินทร์โชติ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 500 คน กำลังออนไลน์