• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b9ee3f292353d6d477a627e09a44d90e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>HTML คือ</strong>  <img height=\"194\" width=\"259\" src=\"/files/u33105/001.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n<strong>HTML</strong> (ชื่อเต็มคือ <strong>Hypertext Markup Language</strong> <em>ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติ</em>) คือภาษามาร์กอัปออกแบบมาเพื่อใช้ในการสร้างเว็บเพจ หรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ เริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) สำหรับภาษา SGML ในปัจจุบัน HTML เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web Consortium (W3C) ในปัจจุบัน ทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML แบบหนึ่งที่มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดโครงสร้างของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน\n</p>\n<p>\nHTML ยังคงเป็นรูปแบบไฟล์อย่างหนึ่ง สำหรับ .html และ สำหรับ .htm ที่ใช้ในระบบปฏิบัติการที่รองรับ รูปแบบนามสกุล 3 ตัวอักษร\n</p>\n<p>\nลักษณะชนิดของมาร์กอัป ใน HTML\n</p>\n<ul>\n<li>มาร์กอัปสำหรับ <b>โครงหลัก</b> อธิบายจุดประสงค์ ของข้อมูล ตัวอย่างเช่น</li>\n</ul>\n<div class=\"mw-geshi\" dir=\"ltr\" style=\"text-align: left\">\n<div class=\"html4strict source-html4strict\" style=\"font-family: monospace\">\n<pre class=\"de1\">\n<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"kw2\"><strong>h2</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span>ฟุตบอล<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"sy0\"><span style=\"color: #66cc66\">/</span></span><span class=\"kw2\"><strong>h2</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span>\n</pre></div>\n</div>\n<dl>\n<dd>กำหนดให้เบราว์เซอร์คำนวณ &quot;ฟุตบอล&quot; เป็นลักษณะของหัวข้ออันดับที่ 2 มาร์กอัปโครงหลัก โดยปกติไม่ได้กำหนดลักษณะการแสดงผล แต่อย่างไรก็ตาม ทางเบราว์เซอร์กำหนดการแสดงผลมาตรฐานของมาร์กอัป โดยปกติจะแสดงผลในลักษณะที่ตัวอักษรขนาดใหญ่ และมีความหนา การกำหนดลักษณะสามารถทำได้ในส่วนของ <a href=\"/wiki/Cascading_Style_Sheets\" title=\"Cascading Style Sheets\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\">Cascading Style Sheets</span></a> (CSS)</dd>\n</dl>\n<ul>\n<li>มาร์กอัปสำหรับ <b>การแสดงผล</b> อธิบายการแสดงผลของ ข้อความโดยไม่ได้มีความหมายอื่นในทางโครงสร้าง ตัวอย่างเช่น</li>\n</ul>\n<div class=\"mw-geshi\" dir=\"ltr\" style=\"text-align: left\">\n<div class=\"html4strict source-html4strict\" style=\"font-family: monospace\">\n<pre class=\"de1\">\n<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"kw2\"><strong>b</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span>ตัวหนา<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"sy0\"><span style=\"color: #66cc66\">/</span></span><span class=\"kw2\"><strong>b</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span> <span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"kw2\"><strong>i</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span>ตัวเอียง<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"sy0\"><span style=\"color: #66cc66\">/</span></span><span class=\"kw2\"><strong>i</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span> <span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"kw2\"><strong>u</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span>ขีดเส้นใต้<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"sy0\"><span style=\"color: #66cc66\">/</span></span><span class=\"kw2\"><strong>u</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span>\n</pre></div>\n</div>\n<dl>\n<dd>กำหนดให้คำว่า &quot;ตัวหนา&quot; แสดงผลในลักษณะ<b>ตัวหนา</b> เช่นเดียวกับการแสดงผลใน <i>ตัวเอียง</i> หรือ <u>ขีดเส้นใต้</u></dd>\n</dl>\n<ul>\n<li>มาร์กอัป<b>ไฮเปอร์เท็กซท์</b> อธิบายการเชื่อมโยงระหว่าง ส่วนหนึ่งของข้อมูลไปยังอีกส่วนหนึ่งของข้อมูล ไม่ว่าจะถูกจัดเก็บในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือไม่ก็ตาม ตัวอย่างเช่น</li>\n</ul>\n<div class=\"mw-geshi\" dir=\"ltr\" style=\"text-align: left\">\n<div class=\"html4strict source-html4strict\" style=\"font-family: monospace\">\n<pre class=\"de1\">\n<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"kw2\"><strong>a</strong></span><span style=\"color: #009900\"> </span><span class=\"kw3\"><span style=\"color: #000066\">href</span></span><span class=\"sy0\"><span style=\"color: #66cc66\">=</span></span><span class=\"st0\"><span style=\"color: #ff0000\">&quot;http://wikipedia.org/&quot;</span></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span>เว็บไซต์วิกิพีเดีย<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"sy0\"><span style=\"color: #66cc66\">/</span></span><span class=\"kw2\"><strong>a</strong></span><span style=\"color: #009900\">&gt;</span></span>\n</pre></div>\n</div>\n<dl>\n<dd>กำหนดให้การแสดงผล <a rel=\"nofollow\" href=\"http://wikipedia.org/\" class=\"external text\"><span style=\"color: #3366bb\">เว็บไซต์วิกิพีเดีย</span></a> เป็น <a href=\"/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B9%8C\" title=\"ไฮเปอร์ลิงก์\"><span style=\"color: #0645ad\">ไฮเปอร์ลิงก์</span></a> ไปที่ <a href=\"/wiki/URL\" title=\"URL\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\">URL</span></a> ที่กำหนดไว้</dd>\n</dl>\n<h2><span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9E.E0.B8.B1.E0.B8.92.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B9.80.E0.B8.A7.E0.B9.87.E0.B8.9A.E0.B9.80.E0.B8.9E.E0.B8.88.E0.B9.81.E0.B8.99.E0.B8.A7.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B9.88.E0.B8.94.E0.B9.89.E0.B8.A7.E0.B8.A2.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B8.81.E0.B8.AD.E0.B8.B1.E0.B8.9B_.3Cdiv.3E\">การพัฒนาเว็บเพจแนวใหม่ด้วยมาร์กอัป </span></h2>\n<p>\nเนื่องจากข้อจำกัดของ HTML ทำให้ผู้ใช้แนวทางเก่าใช้แท็ก Table ในการจัดโครงสร้างของเนื้อหา ในปัจจุบัน ได้มีแนวทางใหม่ในการใช้แท็ก div ร่วมกับ การกำหนด CSS ในการจัดโครงสร้างของเนื้อหา ตามแบบฉบับการทำงานของบริษัท<a href=\"/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2\" title=\"แมโครมีเดีย\"><span style=\"color: #0645ad\">แมโครมีเดีย</span></a> ซึ่งทำให้เราสามารถออกนอกกรอบและสามารถจัดเอกสารได้ง่าย และรวดเร็วกว่า อีกด้วย\n</p>\n<h2><span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B8.95.E0.B8.B1.E0.B8.A7.E0.B8.AD.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.B8.A9.E0.B8.A3.E0.B9.80.E0.B8.A5.E0.B8.B7.E0.B9.88.E0.B8.AD.E0.B8.99\">ตัวอักษรเลื่อน</span></h2>\n<ul>\n<li>โค้ดนี้จะทำให้ตัวอักษรเลื่อนไปทางซ้ายได้</li>\n</ul>\n<div class=\"mw-geshi\" dir=\"ltr\" style=\"text-align: left\">\n<div class=\"html4strict source-html4strict\" style=\"font-family: monospace\">\n<pre class=\"de1\">\n<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;marquee&gt;</span></span>ตัวอักษรเลื่อน<span class=\"sc2\"><span style=\"color: #009900\">&lt;</span><span class=\"sy0\"><span style=\"color: #66cc66\">/</span></span><span style=\"color: #009900\">marquee&gt;</span></span>\n</pre></div>\n</div>\n', created = 1715212204, expire = 1715298604, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b9ee3f292353d6d477a627e09a44d90e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภาษา HTML

รูปภาพของ anpredcrab

HTML คือ 

HTML (ชื่อเต็มคือ Hypertext Markup Language ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติ) คือภาษามาร์กอัปออกแบบมาเพื่อใช้ในการสร้างเว็บเพจ หรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ เริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) สำหรับภาษา SGML ในปัจจุบัน HTML เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web Consortium (W3C) ในปัจจุบัน ทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้าง XML แบบหนึ่งที่มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดโครงสร้างของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มาตรฐานกว่า มาทดแทนใช้ HTML รุ่น 4.01 ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

HTML ยังคงเป็นรูปแบบไฟล์อย่างหนึ่ง สำหรับ .html และ สำหรับ .htm ที่ใช้ในระบบปฏิบัติการที่รองรับ รูปแบบนามสกุล 3 ตัวอักษร

ลักษณะชนิดของมาร์กอัป ใน HTML

  • มาร์กอัปสำหรับ โครงหลัก อธิบายจุดประสงค์ ของข้อมูล ตัวอย่างเช่น
<h2>ฟุตบอล</h2>
กำหนดให้เบราว์เซอร์คำนวณ "ฟุตบอล" เป็นลักษณะของหัวข้ออันดับที่ 2 มาร์กอัปโครงหลัก โดยปกติไม่ได้กำหนดลักษณะการแสดงผล แต่อย่างไรก็ตาม ทางเบราว์เซอร์กำหนดการแสดงผลมาตรฐานของมาร์กอัป โดยปกติจะแสดงผลในลักษณะที่ตัวอักษรขนาดใหญ่ และมีความหนา การกำหนดลักษณะสามารถทำได้ในส่วนของ Cascading Style Sheets (CSS)
  • มาร์กอัปสำหรับ การแสดงผล อธิบายการแสดงผลของ ข้อความโดยไม่ได้มีความหมายอื่นในทางโครงสร้าง ตัวอย่างเช่น
<b>ตัวหนา</b> <i>ตัวเอียง</i> <u>ขีดเส้นใต้</u>
กำหนดให้คำว่า "ตัวหนา" แสดงผลในลักษณะตัวหนา เช่นเดียวกับการแสดงผลใน ตัวเอียง หรือ ขีดเส้นใต้
  • มาร์กอัปไฮเปอร์เท็กซท์ อธิบายการเชื่อมโยงระหว่าง ส่วนหนึ่งของข้อมูลไปยังอีกส่วนหนึ่งของข้อมูล ไม่ว่าจะถูกจัดเก็บในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือไม่ก็ตาม ตัวอย่างเช่น
<a href="http://wikipedia.org/">เว็บไซต์วิกิพีเดีย</a>
กำหนดให้การแสดงผล เว็บไซต์วิกิพีเดีย เป็น ไฮเปอร์ลิงก์ ไปที่ URL ที่กำหนดไว้

การพัฒนาเว็บเพจแนวใหม่ด้วยมาร์กอัป

เนื่องจากข้อจำกัดของ HTML ทำให้ผู้ใช้แนวทางเก่าใช้แท็ก Table ในการจัดโครงสร้างของเนื้อหา ในปัจจุบัน ได้มีแนวทางใหม่ในการใช้แท็ก div ร่วมกับ การกำหนด CSS ในการจัดโครงสร้างของเนื้อหา ตามแบบฉบับการทำงานของบริษัทแมโครมีเดีย ซึ่งทำให้เราสามารถออกนอกกรอบและสามารถจัดเอกสารได้ง่าย และรวดเร็วกว่า อีกด้วย

ตัวอักษรเลื่อน

  • โค้ดนี้จะทำให้ตัวอักษรเลื่อนไปทางซ้ายได้
<marquee>ตัวอักษรเลื่อน</marquee>

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 488 คน กำลังออนไลน์