• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2dcbc707c8d99e214f8efe17a3aeff0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\">นางอิลา</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"348\" width=\"230\" src=\"/files/u31505/elaaaaaaaaaa.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #333333\">ที่มา: <a href=\"http://i95.photobucket.com/albums/l145/Rachel-Viar/Wannakadee/9471dc79.jpg\">http://i95.photobucket.com/albums/l145/Rachel-Viar/Wannakadee/9471dc79.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\nอิลราชคำฉันท์\n</p>\n<p>\nกวี : พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ) <br />\nประเภท : นิทาน <br />\nคำประพันธ์ : คำฉันท์ <br />\nความยาว : 329 บท <br />\nสมัย : รัตนโกสินทร์ <br />\nปีที่แต่ง : พ.ศ. 2456\n</p>\n<p>\n           อิลราชคำฉันท์ เป็น วรรณคดี คำฉันท์ที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีความไพเราะ และนิยมใช้เป็นแบบอย่างในการแต่งคำฉันท์มาช้านาน แม้จะมีความยาวเพียง 329 บท ตีพิมพ์เป็นหนังสือเล่มเล็กเพียง 36 หน้ากระดาษเท่านั้น นับเป็นคำฉันท์อีกเรื่องหนึ่งที่นักศึกษาวรรณคดีเอ่ยถึงเสมอ\n</p>\n<p>\n           ผู้ประพันธ์อิลราชคำฉันท์คือ พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ) แต่งเมื่อครั้งยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวง ที่ หลวงสารประเสริฐในสมัยรัชกาลที่ 6 นับว่าเป็นยุคทองของวรรณคดีไทยอีกยุคหนึ่ง ด้วยองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นกวี ขณะเดียวกันการศึกษาในประเทศก็กว้างขวางมากขึ้น อีกทั้งยังมีนักเรียนไทยได้รับทุนการศึกษาไปเรียนในต่างประเทศ วงการวรรณกรรมจึงมีความคึกคักและเปลี่ยนไหวมากเป็นพิเศษ<br />\n พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงแนะนำให้หลวงสารประเสริฐ (ในเวลานั้น) หลวงสารประเสริฐยังไม่ได้แต่งหนังสือตามรับสั่ง เพราะยังหาเรื่องไม่ได้ แต่ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง &quot;บ่อเกิดรามเกียรติ์&quot; หลวงสารประเสริฐได้อ่าน นิทานเรื่องอิลราช ในอุตตรกัณฑ์แห่งรามายณะ ก็ชอบใจ และเอามาเป็นเนื้อหาที่จะแต่งหนังสือตามรับสั่งดังกล่าว\n</p>\n<p>\nเรื่องย่อ<br />\n           ณ นครพลหิกา (แคว้นพลหิ) มีกษัตริย์องค์ ๑ ทรงนามว่าท้าวอิลราช เป็นโอรสพระกรรทมประชาบดีบรหมหมบุตร เป็นผู้ที่ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ครอบครองประชาชนด้วยเมตตาประหนึ่งเป็นบุตรของพระองค์ ทรงเดชานุภาพปราบได้ทั่วไป อยู่มาวันหนึ่งในฤดูวสันต์ ท้าวอิลราชได้เสด็จไปไล่เนื้อเล่นในป่า จนไปถึงตำบลซึ่งเป็นที่กำเนิดแห่งพระขันทกุมาร ในเวลานั้นพระอิศวรกำลังทราบสำราญอยู่ในที่รโหฐาน ณ เชิงเขาไกรลาส และได้ทรงจำแลงเป็นสตรีเพื่อล้อพระอุมาเล่น และบรรดาสัตว์และต้นไม้ก็กลายเป็นเพศหญิงไปหมด ท้าวอิลราชกับบริวารเดินล่วงที่รโหฐานนั้นเข้าไป ก็กลายเป็นสตรีไปหมด ท้าวอิลราชตกพระทัยจึ่งไปเฝ้าพระอิศวรทูลขออภัย ขอให้ได้กลับเป็นชายอย่างเดิม พระอิศวรก็ไม่โปรดประทานพ แต่พระอุมาตรัสว่าจะยอมประทานพรกึ่งหนึ่ง ท้าวอิลราชจึ่งทูลขอว่า ในเดือนหนึ่งขอให้เป็นสตรีอันมีรูปงามหานางใดเสมอเหมือนมิได้ แล้วให้เป็นบุรุษอีกเดือนหนึ่งสลับกันไป พระอุมาก็โปรดประทานพรตามปรารถนาและตรัสด้วยว่าเมื่อใดกลับเพศเป็นชายให้ลืม เหตุการณ์ทั้งปวงที่ได้เป็นไปในเวลาเป็นสตรี และเมื่อกลายเป็นสตรีก็ให้ลืมเวลาที่เป็นบุรุษ แต่นั้นมาราชานั้นก็เป็นบุรุษชื่อท้าวอิลราชเดือนหนึ่ง และกลายเป็นนางอิลาเดือนหนึ่งสลับกันอยู่ฉะนั้น\n</p>\n<p>\n           ในเดือนต้น ระหว่างที่เป็นสตรีอยู่นั้น นางอิลากับบริวารซึ่งเป็นบุรุษกลายเป็นสตรีไปหมดนั้น พากันเที่ยวเล่นในป่าตามวิสัยสตรี วันหนึ่งนางอิลาพบพระพุธ ซึ่งกำลังบำเพ็ญพรตสมาธิอยู่ในสระอันหนึ่ง นางอิลากับบริวารพากันวักน้ำจ๋อมแจ๋ม พระพุธลืมเนตรขึ้นเห็นนางอิลาก็มีความรัก จึงขึ้นมาจากสระชวนนางไปยังอาศรม ไล่เลียงดูว่าเป็นลูกเต้าเหล่าใคร แต่ตัวนางอิลาก็บอกไม่ถูก เพราะตามพรพระอุมานางลืมเรื่องราวของตนในส่วนที่เป็นบุรุษนั้นหมด และนางบริวารก็บอกไม่ถูกเหมือนกัน พระพุธจึ่งเล็งดูด้วยญาณทราบเหตุทุกประการแล้ว จึงตรัสแก่นางบริวารว่า\n</p>\n<p>\n          &quot;เจ้าทั้งหลายจงเป็นกินรีและอาศัยอยู่ในเขานี้เถิด ตูจะหามูลผลาหารมาให้กินมิได้อดอยาก และตูจะหากิมบุรุษให้เป็นสามีเจ้าทั้งหลาย&quot;\n</p>\n<p>\n          ครั้งเมื่อพระพุธได้เห็นพวกกินรีไปพ้นแล้ว จึงตรัสชวนนางอิลาให้อยู่ด้วยกับพระองค์ เป็นชายาสืบไป จนครบกำหนดเดือนหนึ่ง นางอิลาก็กลายรูปเป็นท้าวอิลราชไป ท้าวอิลราชถามพระพุธว่า บริวารหายไปไหนหมด พระพุธก็ตอบว่าได้บังเกิดเหตุร้าย มีศิลาทรายลงมาทับพวกบริวารของท้าวอิลราชตายเสียหมดแล้ว แต่ส่วนท้าวอิลราชรอดตายเพราะได้เข้าอาศัยอยุ่ในอาศรมของพระพุธ (ตามพรพระอุมา ท้าวอิลราชเมื่อกลายรูปเป็นบุรุษอย่างเดิมแล้ว ก็ลืมบรรดาเหตุการณ์ที่ได้เป็นไปในขณะเมื่อเป็นสตรี ส่วนท้าวอิลราชเองนั้นก็มีเวลากลับคืนเป็นบุรุษได้แต่บิรวารมิได้รับพรเช่น นั้น จึ่งยังคงเป็นสตรีอยู่ตลอดเวลา พระพุธไม่อยากให้ท้าวอิลราชมีความโทมนัส จึ่งต้องกล่าวหลอกว่าบริวารตายเสียหมดแล้ว) ฝ่ายท้าวอิลราชครั้นได้ยินว่าบริวารตายหมดแล้วก็มีความเศร้าโศก และทูลพระพุธว่า จะยกราชสมบัติให้โอรสครองต่อไป ส่วนตนจะเข้าสู่ป่าเป็นโยคี พระพุธก็ชวนไว้ให้อยู่ด้วยกัน ท้าวอิลราชจึ่งตกลงอยู่ที่อาศรมพระพุธ บำเพ็ญพรตภาวนาอยู่ตลอดเดือนหนึ่ง แล้วก็กลับเพศเป็นสตรี และปฏิบัติพระพุธผู้เป็นสามีไปอีกเดือนหนึ่ง กลับไปกลับมาเช่นนี้จนถ้วนนพมาส นางอิลาก็ประสูติกุมารองค์หนึ่ง ซึ่งประพุธให้นามว่า ปุรุรพ\n</p>\n<p>\n          เมื่อท้าวอิลราชกลับรูปเป็นบุรุษอีกแล้ว พระพุธจึ่งคำนึงถึงประโยชน์แห่งท้าวอิลราช เชิญพระมหาฤษีผู้มีชื่อมาหลายคนเพื่อปรึกษากันคิดหาทางที่จะแก้ไขให้ท้าวอิล ราชได้คงเป็นบุรุษตลอดเวลา ขณะที่ชุมนุมกันอยู่นั้น พระมหามุนีกรรทมเทพบุตร ผู้เป็นพระบิดาแห่งท้าวอิลราช ก็มายังอาศรมพระพุธพร้อมด้วยพระมุนีอื่นๆ อีก พระกรรมทมทราบเรื่องราวแล้วก็กล่าว่า มีทางแก้ได้แต่โดยอาศัยอานุภาพพระอิศวรเท่านั้นควรให้ทำพิธีอัศวเมธบูชาพระอิศวร จึ่งตกลงกันตั้งพิธีอัศวเมธ พระอิศวรพอพระทัยก็เสด็จลงมาประสาทพรให้ท้าวอิลราชได้เป็นบุรุษอยู่ต่อไป ไม่ต้องกลับเป็นสตรีอีก\n</p>\n<p>\n          ครั้นเมื่อท้าวอิลราชกลับนครท้าวอิลราชกลับถึงนครพลหิกาทรง อภิเษกพระสสพินทุ์ให้ครองราชย์ในนครนั้น แล้วก็ไปสร้างนครใหม่เรียกกว่า ประดิษฐาน ให้เป็นที่สถิตพระปุรุรพ โอรสพระพุธนั้นสืบไป\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"43\" width=\"550\" src=\"/files/u31505/lineth_bar.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/66780\"><img height=\"80\" width=\"132\" src=\"/files/u31505/home.jpg\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/68967\"><img height=\"80\" width=\"207\" src=\"/files/u31505/girl.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1715830297, expire = 1715916697, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2dcbc707c8d99e214f8efe17a3aeff0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นางอิลา หรือ ท้าวอิลราช

รูปภาพของ sss27511

นางอิลา

ที่มา: http://i95.photobucket.com/albums/l145/Rachel-Viar/Wannakadee/9471dc79.jpg

อิลราชคำฉันท์

กวี : พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ)
ประเภท : นิทาน
คำประพันธ์ : คำฉันท์
ความยาว : 329 บท
สมัย : รัตนโกสินทร์
ปีที่แต่ง : พ.ศ. 2456

           อิลราชคำฉันท์ เป็น วรรณคดี คำฉันท์ที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี มีความไพเราะ และนิยมใช้เป็นแบบอย่างในการแต่งคำฉันท์มาช้านาน แม้จะมีความยาวเพียง 329 บท ตีพิมพ์เป็นหนังสือเล่มเล็กเพียง 36 หน้ากระดาษเท่านั้น นับเป็นคำฉันท์อีกเรื่องหนึ่งที่นักศึกษาวรรณคดีเอ่ยถึงเสมอ

           ผู้ประพันธ์อิลราชคำฉันท์คือ พระยาศรีสุนทรโวหาร (ผัน สาลักษณ) แต่งเมื่อครั้งยังมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวง ที่ หลวงสารประเสริฐในสมัยรัชกาลที่ 6 นับว่าเป็นยุคทองของวรรณคดีไทยอีกยุคหนึ่ง ด้วยองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นกวี ขณะเดียวกันการศึกษาในประเทศก็กว้างขวางมากขึ้น อีกทั้งยังมีนักเรียนไทยได้รับทุนการศึกษาไปเรียนในต่างประเทศ วงการวรรณกรรมจึงมีความคึกคักและเปลี่ยนไหวมากเป็นพิเศษ
 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงแนะนำให้หลวงสารประเสริฐ (ในเวลานั้น) หลวงสารประเสริฐยังไม่ได้แต่งหนังสือตามรับสั่ง เพราะยังหาเรื่องไม่ได้ แต่ครั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง "บ่อเกิดรามเกียรติ์" หลวงสารประเสริฐได้อ่าน นิทานเรื่องอิลราช ในอุตตรกัณฑ์แห่งรามายณะ ก็ชอบใจ และเอามาเป็นเนื้อหาที่จะแต่งหนังสือตามรับสั่งดังกล่าว

เรื่องย่อ
           ณ นครพลหิกา (แคว้นพลหิ) มีกษัตริย์องค์ ๑ ทรงนามว่าท้าวอิลราช เป็นโอรสพระกรรทมประชาบดีบรหมหมบุตร เป็นผู้ที่ทรงคุณธรรมอันประเสริฐ ครอบครองประชาชนด้วยเมตตาประหนึ่งเป็นบุตรของพระองค์ ทรงเดชานุภาพปราบได้ทั่วไป อยู่มาวันหนึ่งในฤดูวสันต์ ท้าวอิลราชได้เสด็จไปไล่เนื้อเล่นในป่า จนไปถึงตำบลซึ่งเป็นที่กำเนิดแห่งพระขันทกุมาร ในเวลานั้นพระอิศวรกำลังทราบสำราญอยู่ในที่รโหฐาน ณ เชิงเขาไกรลาส และได้ทรงจำแลงเป็นสตรีเพื่อล้อพระอุมาเล่น และบรรดาสัตว์และต้นไม้ก็กลายเป็นเพศหญิงไปหมด ท้าวอิลราชกับบริวารเดินล่วงที่รโหฐานนั้นเข้าไป ก็กลายเป็นสตรีไปหมด ท้าวอิลราชตกพระทัยจึ่งไปเฝ้าพระอิศวรทูลขออภัย ขอให้ได้กลับเป็นชายอย่างเดิม พระอิศวรก็ไม่โปรดประทานพ แต่พระอุมาตรัสว่าจะยอมประทานพรกึ่งหนึ่ง ท้าวอิลราชจึ่งทูลขอว่า ในเดือนหนึ่งขอให้เป็นสตรีอันมีรูปงามหานางใดเสมอเหมือนมิได้ แล้วให้เป็นบุรุษอีกเดือนหนึ่งสลับกันไป พระอุมาก็โปรดประทานพรตามปรารถนาและตรัสด้วยว่าเมื่อใดกลับเพศเป็นชายให้ลืม เหตุการณ์ทั้งปวงที่ได้เป็นไปในเวลาเป็นสตรี และเมื่อกลายเป็นสตรีก็ให้ลืมเวลาที่เป็นบุรุษ แต่นั้นมาราชานั้นก็เป็นบุรุษชื่อท้าวอิลราชเดือนหนึ่ง และกลายเป็นนางอิลาเดือนหนึ่งสลับกันอยู่ฉะนั้น

           ในเดือนต้น ระหว่างที่เป็นสตรีอยู่นั้น นางอิลากับบริวารซึ่งเป็นบุรุษกลายเป็นสตรีไปหมดนั้น พากันเที่ยวเล่นในป่าตามวิสัยสตรี วันหนึ่งนางอิลาพบพระพุธ ซึ่งกำลังบำเพ็ญพรตสมาธิอยู่ในสระอันหนึ่ง นางอิลากับบริวารพากันวักน้ำจ๋อมแจ๋ม พระพุธลืมเนตรขึ้นเห็นนางอิลาก็มีความรัก จึงขึ้นมาจากสระชวนนางไปยังอาศรม ไล่เลียงดูว่าเป็นลูกเต้าเหล่าใคร แต่ตัวนางอิลาก็บอกไม่ถูก เพราะตามพรพระอุมานางลืมเรื่องราวของตนในส่วนที่เป็นบุรุษนั้นหมด และนางบริวารก็บอกไม่ถูกเหมือนกัน พระพุธจึ่งเล็งดูด้วยญาณทราบเหตุทุกประการแล้ว จึงตรัสแก่นางบริวารว่า

          "เจ้าทั้งหลายจงเป็นกินรีและอาศัยอยู่ในเขานี้เถิด ตูจะหามูลผลาหารมาให้กินมิได้อดอยาก และตูจะหากิมบุรุษให้เป็นสามีเจ้าทั้งหลาย"

          ครั้งเมื่อพระพุธได้เห็นพวกกินรีไปพ้นแล้ว จึงตรัสชวนนางอิลาให้อยู่ด้วยกับพระองค์ เป็นชายาสืบไป จนครบกำหนดเดือนหนึ่ง นางอิลาก็กลายรูปเป็นท้าวอิลราชไป ท้าวอิลราชถามพระพุธว่า บริวารหายไปไหนหมด พระพุธก็ตอบว่าได้บังเกิดเหตุร้าย มีศิลาทรายลงมาทับพวกบริวารของท้าวอิลราชตายเสียหมดแล้ว แต่ส่วนท้าวอิลราชรอดตายเพราะได้เข้าอาศัยอยุ่ในอาศรมของพระพุธ (ตามพรพระอุมา ท้าวอิลราชเมื่อกลายรูปเป็นบุรุษอย่างเดิมแล้ว ก็ลืมบรรดาเหตุการณ์ที่ได้เป็นไปในขณะเมื่อเป็นสตรี ส่วนท้าวอิลราชเองนั้นก็มีเวลากลับคืนเป็นบุรุษได้แต่บิรวารมิได้รับพรเช่น นั้น จึ่งยังคงเป็นสตรีอยู่ตลอดเวลา พระพุธไม่อยากให้ท้าวอิลราชมีความโทมนัส จึ่งต้องกล่าวหลอกว่าบริวารตายเสียหมดแล้ว) ฝ่ายท้าวอิลราชครั้นได้ยินว่าบริวารตายหมดแล้วก็มีความเศร้าโศก และทูลพระพุธว่า จะยกราชสมบัติให้โอรสครองต่อไป ส่วนตนจะเข้าสู่ป่าเป็นโยคี พระพุธก็ชวนไว้ให้อยู่ด้วยกัน ท้าวอิลราชจึ่งตกลงอยู่ที่อาศรมพระพุธ บำเพ็ญพรตภาวนาอยู่ตลอดเดือนหนึ่ง แล้วก็กลับเพศเป็นสตรี และปฏิบัติพระพุธผู้เป็นสามีไปอีกเดือนหนึ่ง กลับไปกลับมาเช่นนี้จนถ้วนนพมาส นางอิลาก็ประสูติกุมารองค์หนึ่ง ซึ่งประพุธให้นามว่า ปุรุรพ

          เมื่อท้าวอิลราชกลับรูปเป็นบุรุษอีกแล้ว พระพุธจึ่งคำนึงถึงประโยชน์แห่งท้าวอิลราช เชิญพระมหาฤษีผู้มีชื่อมาหลายคนเพื่อปรึกษากันคิดหาทางที่จะแก้ไขให้ท้าวอิล ราชได้คงเป็นบุรุษตลอดเวลา ขณะที่ชุมนุมกันอยู่นั้น พระมหามุนีกรรทมเทพบุตร ผู้เป็นพระบิดาแห่งท้าวอิลราช ก็มายังอาศรมพระพุธพร้อมด้วยพระมุนีอื่นๆ อีก พระกรรมทมทราบเรื่องราวแล้วก็กล่าว่า มีทางแก้ได้แต่โดยอาศัยอานุภาพพระอิศวรเท่านั้นควรให้ทำพิธีอัศวเมธบูชาพระอิศวร จึ่งตกลงกันตั้งพิธีอัศวเมธ พระอิศวรพอพระทัยก็เสด็จลงมาประสาทพรให้ท้าวอิลราชได้เป็นบุรุษอยู่ต่อไป ไม่ต้องกลับเป็นสตรีอีก

          ครั้นเมื่อท้าวอิลราชกลับนครท้าวอิลราชกลับถึงนครพลหิกาทรง อภิเษกพระสสพินทุ์ให้ครองราชย์ในนครนั้น แล้วก็ไปสร้างนครใหม่เรียกกว่า ประดิษฐาน ให้เป็นที่สถิตพระปุรุรพ โอรสพระพุธนั้นสืบไป

  

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 280 คน กำลังออนไลน์