• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4d858fb30b2bfc6a9c1dcb65e7ee6db7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"300\" width=\"583\" src=\"/files/u31498/h_________________________copy.jpg\" alt=\"กวีโวหาร\" border=\"0\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">กวีโวหาร</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<img height=\"461\" width=\"541\" src=\"/files/u31498/cartoon_001.jpg\" alt=\"แฝดสาว\" border=\"0\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"> ที่มา</span>  <a href=\"http://www.thaigoodview.com/files/u31498/cartoon_001.jpg\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u31498/cartoon_001.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u31498/cartoon_001.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">โวหารภาพพจน์ </span><span style=\"color: #cc99ff\">คือ กลวิธีการนำเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทำให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #ff99cc\">ลักษณะของโวหารภาพพจน์ </span><br />\n<span style=\"color: #3366ff\">1.อุปมา<br />\n2.อุปลักษณ์<br />\n3.ปฏิพากย์<br />\n4. อติพจน์<br />\n5.บุคลาธิษฐาน<br />\n6.สัญลักษณ์<br />\n7. นามนัย<br />\n8.สัทพจน์ </span><br />\n<span style=\"color: #ff99cc\"><br />\nอธิบาย</span><br />\n<span style=\"color: #800000\">1.อุปมาอุปมา<br />\nคือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คำเชื่อมที่มี ความหมายเช่นเดียวกับ คำว่า &quot; เหมือน &quot; เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ฯลฯ </span><br />\n<span style=\"color: #99ccff\">2.อุปลักษณ์<br />\nอุปลักษณ์ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบ สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง<br />\nอุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัย ให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญ อุปลักษณ์จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา </span><br />\n<span style=\"color: #800000\">3.ปฏิพากย์<br />\nคือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น </span><br />\n<span style=\"color: #99ccff\">4.อติพจน์<br />\nคือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึก ทำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง  ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวที่ทำให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่าง ชัดเจน</span><br />\n<span style=\"color: #800000\">5.บุคลาธิษฐาน<br />\nคือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว ์ โดยให้สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ (บุคลาธิษฐาน มาจากคำว่า บุคคล + อธิษฐาน หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล ) </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff99cc\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"367\" width=\"490\" src=\"/files/u31498/332377-2250099_attachment.jpg\" alt=\"กวีโวหาร\" border=\"0\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"> ที่มา</span> <a href=\"http://www.thaigoodview.com/files/u31498/332377-2250099_attachment.jpg\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u31498/332377-2250099_attachment.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u31498/332377-2250099_attachment.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99ccff\">6.สัญลักษณ์<br />\nเป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่งใช้กัน มานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป </span><br />\n<span style=\"color: #800000\">7.นามนัย<br />\nคือการใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใด สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆสัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด </span><br />\n<span style=\"color: #99ccff\">8.สัทพจน์<br />\nหมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียงลม เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/69912\"><img height=\"80\" width=\"87\" src=\"/files/u31498/diiv10x_1.gif\" alt=\"HOME\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #99ccff\"></span></p>\n', created = 1715657649, expire = 1715744049, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4d858fb30b2bfc6a9c1dcb65e7ee6db7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กวีโวหาร

รูปภาพของ sss28816
กวีโวหาร 
กวีโวหาร

แฝดสาว

 ที่มา  http://www.thaigoodview.com/files/u31498/cartoon_001.jpg

โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนำเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้พูด หรือเขียนให้แปลกออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทำให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน

ลักษณะของโวหารภาพพจน์
1.อุปมา
2.อุปลักษณ์
3.ปฏิพากย์
4. อติพจน์
5.บุคลาธิษฐาน
6.สัญลักษณ์
7. นามนัย
8.สัทพจน์


อธิบาย

1.อุปมาอุปมา
คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คำเชื่อมที่มี ความหมายเช่นเดียวกับ คำว่า " เหมือน " เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ฯลฯ

2.อุปลักษณ์
อุปลักษณ์ก็คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบ สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง
อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัย ให้เข้าใจเอาเอง ที่สำคัญ อุปลักษณ์จะไม่มีคำเชื่อมเหมือนอุปมา

3.ปฏิพากย์
คือการใช้ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกันมากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มีน้ำหนักมากยิ่งขึ้น

4.อติพจน์
คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สึก ทำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง  ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวที่ทำให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่าง ชัดเจน

5.บุคลาธิษฐาน
คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว ์ โดยให้สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ (บุคลาธิษฐาน มาจากคำว่า บุคคล + อธิษฐาน หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล )

กวีโวหาร

 ที่มา http://www.thaigoodview.com/files/u31498/332377-2250099_attachment.jpg

6.สัญลักษณ์
เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คำอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมาแทนจะเป็นคำที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความซึ่งใช้กัน มานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไป

7.นามนัย
คือการใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใด สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่ง คล้ายๆสัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมากล่าว ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด

8.สัทพจน์
หมายถึงภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียงลม เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ

HOME

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 485 คน กำลังออนไลน์