• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c54662b19efe849b696c993205428a2f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nการกำหนดวันข้างขึ้น ข้างแรม ของปฏิทินไทย นอกจากคำนึงถึงดิถี (รูปร่างความเป็นเสี้ยว) ของดวงจันทร์แล้ว ยังคำนึงถึง รูปแบบที่เข้าใจง่าย จัดทำได้ง่าย เพื่อให้จัดงานได้ตรงกัน ด้วยเหตุนี้ ผู้คำนวณปฏิทินจึงต้องคิดรูปแบบการทดวัน และทดเดือนที่ง่ายต่อการจดจำ และการบันทึก 1 ปีของปฏิทินไทย ปกติมี 12 เดือน แต่จะมีราวร้อยละ 37 ที่มี 13 เดือน ซึ่งเรียกปีดังกล่าวนี้ว่า ปีอธิกมาส โดยที่ อธิก แปลว่า เพิ่ม, มาส แปลว่า เดือน มีเดือนแปด 2 ครั้ง ไม่ใช่ไปเพิ่มเป็นเดือนที่ 13 ส่วนปีที่มี 12 เดือน เรียกว่า ปกติมาส เดือนที่ 1 นิยมเรียกว่า เดือนอ้าย ส่วนเดือนที่ 2 เรียกว่าเดือน ยี่ โดยปกติ เดือนที่เป็นตัวเลขคี่ (เช่น อ้าย, 3, 5, 7, 9และ 11) จะมี 29 วัน ส่วนเดือนเลขคู่ (ยี่, 4, 6, 8, 10) จะมี 30วัน ดังนั้น ปีอธิกมาส จึงมี 29x6 + 30x7 = 384 วัน เสมอ ส่วนปีปกติมาส มี 2 พวก คือ พวกแรก จะมี 29x6 + 30x6 = 354 วัน เรียกว่า ปกติวาร กับพวกที่ 2 เป็นปีที่เพิ่มวันเข้าไป 1 วัน เป็นพิเศษ เรียกว่า อธิกวาร โดยที่ วาร แปลว่า วัน โดยเพิ่มในเดือน 7 ให้เป็น 30 วัน ดังนั้นปีอธิกวาร จึงมี 355วัน\n</p>\n<p>\nในการกำหนดปีปกติ ปีอธิกมาส ปีอธิกวาร ในปฏิทินไทย ตั้งแต่สุโขทัย สืบมาจนปัจจุบันนี้ จะวางตามพระคัมภีร์สุริยยาตรเป็นเสาหลักเทียบโดยมีสัดส่วนความแม่นยำตามตำรา ดังนี้ ปีปกติ 7,262,789 ปี : ปีอธิกมาส 6,125,521 ปี : ปีอธิกวาร 3,219,690 ปี โดยอธิกมาส 0 นับจากจุลศักราชแรกตกหรคุณ -282856310/6125521\n</p>\n<p>\nวันที่ 1 ของเดือน เรียกว่า วันขึ้น 1 ค่ำ หรือ ออก 1 ค่ำ (ขึ้นหรือออก แปลว่า ดวงจันทร์ กำลังสว่างเพิ่มขึ้น) วันที่ 16 ไม่ได้เรียกว่า วันขึ้น 16 ค่ำ หรือ ออก 16 ค่ำ แต่เรียกว่า วันแรม 1 ค่ำ (แรม หมายถึง ดวงจันทร์ กำลังสว่างลดลง) ในเดือนที่มี 29วันนี้ ก็จะมีสิ้นสุดแค่วันแรม 14 ค่ำ (ไม่มี วันแรม 15 ค่ำ) เวลาที่ใช้เปลี่ยนวันทางปฏิทินจันทรคติของไทย คือ เวลารุ่งเช้าของวันถัดไป ไม่ใช่เที่ยงคืน โดยมีการเสนอว่า ควรให้นิยามที่ชัดเจนของคำว่า “รุ่งเช้า” นี้ และเสนอว่า ควรใช้ค่าเฉลี่ยที่เวลาดวงอาทิตย์ขึ้น หรือเวลา 6 น. ของเส้นลองจิจูด 100 องศา ตะวันออก นั่นคือ เวลา 6:20 น. ตามเวลามาตรฐานของไทย วันพระ หรือธรรมสวนะ จัดขึ้น 4 วันในเดือนหนึ่ง ๆ คือ วันขึ้น 8 ค่ำ ขึ้น 15 ค่ำ แรม 8 ค่ำ และวันแรม สุดท้ายของเดือน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/71651\"><img height=\"482\" width=\"417\" src=\"/files/u31272/B4127528-4427-4F6D-AFD0-576F23A86908_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 125px; height: 151px\" /></a>\n</p>\n', created = 1720853687, expire = 1720940087, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c54662b19efe849b696c993205428a2f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การนับวันของปฏิทินไทย

รูปภาพของ sss27590

การกำหนดวันข้างขึ้น ข้างแรม ของปฏิทินไทย นอกจากคำนึงถึงดิถี (รูปร่างความเป็นเสี้ยว) ของดวงจันทร์แล้ว ยังคำนึงถึง รูปแบบที่เข้าใจง่าย จัดทำได้ง่าย เพื่อให้จัดงานได้ตรงกัน ด้วยเหตุนี้ ผู้คำนวณปฏิทินจึงต้องคิดรูปแบบการทดวัน และทดเดือนที่ง่ายต่อการจดจำ และการบันทึก 1 ปีของปฏิทินไทย ปกติมี 12 เดือน แต่จะมีราวร้อยละ 37 ที่มี 13 เดือน ซึ่งเรียกปีดังกล่าวนี้ว่า ปีอธิกมาส โดยที่ อธิก แปลว่า เพิ่ม, มาส แปลว่า เดือน มีเดือนแปด 2 ครั้ง ไม่ใช่ไปเพิ่มเป็นเดือนที่ 13 ส่วนปีที่มี 12 เดือน เรียกว่า ปกติมาส เดือนที่ 1 นิยมเรียกว่า เดือนอ้าย ส่วนเดือนที่ 2 เรียกว่าเดือน ยี่ โดยปกติ เดือนที่เป็นตัวเลขคี่ (เช่น อ้าย, 3, 5, 7, 9และ 11) จะมี 29 วัน ส่วนเดือนเลขคู่ (ยี่, 4, 6, 8, 10) จะมี 30วัน ดังนั้น ปีอธิกมาส จึงมี 29x6 + 30x7 = 384 วัน เสมอ ส่วนปีปกติมาส มี 2 พวก คือ พวกแรก จะมี 29x6 + 30x6 = 354 วัน เรียกว่า ปกติวาร กับพวกที่ 2 เป็นปีที่เพิ่มวันเข้าไป 1 วัน เป็นพิเศษ เรียกว่า อธิกวาร โดยที่ วาร แปลว่า วัน โดยเพิ่มในเดือน 7 ให้เป็น 30 วัน ดังนั้นปีอธิกวาร จึงมี 355วัน

ในการกำหนดปีปกติ ปีอธิกมาส ปีอธิกวาร ในปฏิทินไทย ตั้งแต่สุโขทัย สืบมาจนปัจจุบันนี้ จะวางตามพระคัมภีร์สุริยยาตรเป็นเสาหลักเทียบโดยมีสัดส่วนความแม่นยำตามตำรา ดังนี้ ปีปกติ 7,262,789 ปี : ปีอธิกมาส 6,125,521 ปี : ปีอธิกวาร 3,219,690 ปี โดยอธิกมาส 0 นับจากจุลศักราชแรกตกหรคุณ -282856310/6125521

วันที่ 1 ของเดือน เรียกว่า วันขึ้น 1 ค่ำ หรือ ออก 1 ค่ำ (ขึ้นหรือออก แปลว่า ดวงจันทร์ กำลังสว่างเพิ่มขึ้น) วันที่ 16 ไม่ได้เรียกว่า วันขึ้น 16 ค่ำ หรือ ออก 16 ค่ำ แต่เรียกว่า วันแรม 1 ค่ำ (แรม หมายถึง ดวงจันทร์ กำลังสว่างลดลง) ในเดือนที่มี 29วันนี้ ก็จะมีสิ้นสุดแค่วันแรม 14 ค่ำ (ไม่มี วันแรม 15 ค่ำ) เวลาที่ใช้เปลี่ยนวันทางปฏิทินจันทรคติของไทย คือ เวลารุ่งเช้าของวันถัดไป ไม่ใช่เที่ยงคืน โดยมีการเสนอว่า ควรให้นิยามที่ชัดเจนของคำว่า “รุ่งเช้า” นี้ และเสนอว่า ควรใช้ค่าเฉลี่ยที่เวลาดวงอาทิตย์ขึ้น หรือเวลา 6 น. ของเส้นลองจิจูด 100 องศา ตะวันออก นั่นคือ เวลา 6:20 น. ตามเวลามาตรฐานของไทย วันพระ หรือธรรมสวนะ จัดขึ้น 4 วันในเดือนหนึ่ง ๆ คือ วันขึ้น 8 ค่ำ ขึ้น 15 ค่ำ แรม 8 ค่ำ และวันแรม สุดท้ายของเดือน

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 242 คน กำลังออนไลน์