• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:39cf1424b5e5a4f1de0bd91c95144d42' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b>จุลศักราช</b> (จ.ศ.) เป็น<a href=\"/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A\" title=\"ศักราช\"><span style=\"color: #0645ad\">ศักราช</span></a>ที่เริ่มเมื่อ <a href=\"/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._1181\" title=\"พ.ศ. 1181\"><span style=\"color: #0645ad\">พ.ศ. 1181</span></a> (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน (ผู้กำหนดให้ใช้จุลศักราช คือ <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%AC%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A8&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"พระยากาฬวรรณดิศ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">พระยากาฬวรรณดิศ</span></a> เมื่อคราวประชุมกษัตริย์ในล้านนา) ที่ได้ทำการประชุมเหล่ากษัตริย์ทำการลบศักราชปีมหาศักราช แล้วตั้งจุลศักราชขึ้นมาแทน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของ<a href=\"/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%B2\" title=\"พม่า\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\">พม่า</span></a> ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้น เป็นเวลาก่อนปีที่<a href=\"/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%AD\" title=\"พระเจ้าอโนรธามังช่อ\"><span style=\"color: #0645ad\">พระเจ้าอโนรธามังช่อ</span></a> จะประสูติ เมื่อไทยอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งใน<a href=\"/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B2\" title=\"อาณาจักรล้านนา\"><span style=\"color: #0645ad\">อาณาจักรล้านนา</span></a> <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B9%82%E0%B8%82%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง</span></a> และ<a href=\"/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8%A2%E0%B8%B2\" title=\"อาณาจักรอยุธยา\"><span style=\"color: #0645ad\">อาณาจักรอยุธยา</span></a> ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมา จึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี พ.ศ. จาก จ.ศ. ปฏิทินไทยให้ใช้ปี จ.ศ. บวก 1181 ก็จะได้ปี พ.ศ. (เว้นแต่ในช่วงต้นปีตามปฏิทินสุริยคติที่ยังไม่เถลิงศกจุลศักราชใหม่)\n</p>\n<p>\nในเอกสารโบราณของไทยจำนวนไม่น้อย นิยมอ้างเวลา โดยใช้จุลศักราช โดยใช้ควบคู่กับ<a href=\"/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3\" title=\"ปีนักษัตร\"><span style=\"color: #0645ad\">ปีนักษัตร</span></a> หรือ ระบุเฉพาะเลขตัวท้ายของจุลศักราช และปีนักษัตร ทำให้สามารถระบุปี ได้ในช่วงกว้างถึงรอบละ 60 ปี (มาจาก <a href=\"/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%99.\" title=\"ครน.\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #0645ad\">ครน.</span></a> ของรอบ 10 ปีจากเลขท้ายของจุลศักราช และรอบ 12 ปีของปีนักกษัตร)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/71651\"><img height=\"482\" width=\"417\" src=\"/files/u31272/B4127528-4427-4F6D-AFD0-576F23A86908_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 116px; height: 137px\" /></a>\n</p>\n', created = 1720857156, expire = 1720943556, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:39cf1424b5e5a4f1de0bd91c95144d42' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จุลศักราช

รูปภาพของ sss27590

จุลศักราช (จ.ศ.) เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1181 (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน (ผู้กำหนดให้ใช้จุลศักราช คือ พระยากาฬวรรณดิศ เมื่อคราวประชุมกษัตริย์ในล้านนา) ที่ได้ทำการประชุมเหล่ากษัตริย์ทำการลบศักราชปีมหาศักราช แล้วตั้งจุลศักราชขึ้นมาแทน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้น เป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อ จะประสูติ เมื่อไทยอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมา จึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี พ.ศ. จาก จ.ศ. ปฏิทินไทยให้ใช้ปี จ.ศ. บวก 1181 ก็จะได้ปี พ.ศ. (เว้นแต่ในช่วงต้นปีตามปฏิทินสุริยคติที่ยังไม่เถลิงศกจุลศักราชใหม่)

ในเอกสารโบราณของไทยจำนวนไม่น้อย นิยมอ้างเวลา โดยใช้จุลศักราช โดยใช้ควบคู่กับปีนักษัตร หรือ ระบุเฉพาะเลขตัวท้ายของจุลศักราช และปีนักษัตร ทำให้สามารถระบุปี ได้ในช่วงกว้างถึงรอบละ 60 ปี (มาจาก ครน. ของรอบ 10 ปีจากเลขท้ายของจุลศักราช และรอบ 12 ปีของปีนักกษัตร)

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 239 คน กำลังออนไลน์