• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bb051864fe362fea1421a69ae9739083' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nแนวความคิดประสบการณ์ด้านการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ\n</p>\n<p>\n1.  ชื่อเรื่อง<br />\n กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์(กิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ)  ระดับปฐมวัย<br />\n             <br />\n  -   ความสำคัญ<br />\n  กิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ  เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับความสนใจ  ความสามารถและสอดคล้องกับหลักพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างยิ่ง  กิจกรรมสร้างสรรค์ไม่เพียงแต่ส่งเสริมการประสานความสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือกับตา  และการผ่อนคลายความเครียดทางอารมณ์ที่อาจเกิดขึ้นเท่านั้น  แต่ยังเป็นการส่งเสริมความคิดอิสระ  ความคิดจินตนาการ  ฝึกการรู้จักทำงานด้วยตนเอง  และฝึกการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ทั้งความคิดและการกระทำ   ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานทางศิลปะ  และนำไปสู่การเรียน  เขียน  อ่าน  อย่างสร้างสรรค์ต่อไป\n</p>\n<p>\n -  แนวทางในการพัฒนา<br />\n  กำหนดแนวทางในการพัฒนา  โดยการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ  การวาดภาพในลักษณะต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมความคิดอิสระ  ความคิดริเริ่ม  กล้าคิด  กล้าแสดงออก  ส่งเสริมความคิดริเริ่ม  โดยเฉพาะความคิดอเนกนัย  ส่งเสริมให้เด็กเกิดความคิดจินตนาการ  ให้รู้จักการทำงานด้วยตนเองให้เด็กรู้จักการสร้างผลงาน\n</p>\n<p>\n2.  บทนำ<br />\n ชื่อ-สกุล<br />\n  นางธันยาภรณ์  เพชรโยธา   ตำแหน่ง  ครู  วิทยฐานะ  ครูชำนาญการ<br />\n ประวัติการศึกษา<br />\n  ปริญญาตรี  การศึกษาปฐมวัย     จาก วิทยาลัยครูยะลา<br />\n ความสำเร็จในอดีต<br />\n  -  ครูดีเด่น  กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  <br />\n   -  ปัญหาการเรียนการสอนที่พบ<br />\n   ปัญหาการเรียนการสอนที่พบ  เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  กิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ  พบปัญหาที่เป็นอุปสรรคในการจัดกิจกรรมที่สำคัญได้แก่  การทำกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ศิลปะของเด็ก  ผลงานที่ออกมาเป็นผลงานที่เอาอย่างกันหรือทำตามกัน  และขาดความมั่นใจในตนเอง  ไม่กล้าเสี่ยงไม่กล้าตัดสินใจลงมือกระทำใดใดมักคิดว่าตนเองทำไม่เป็น  ทำไม่ได้<br />\n  -  ความต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุง<br />\n   จากปัญหาการเรียนการสอนที่พบ  จึงต้องการก้ไขปรับปรุง  เพื่อส่งเสริมให้เด้กมีความคิดอิสระ  มั่นใจในตนเอง  กล้าคิดกล้าแสดงออก  มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  ส่งเสริมให้เด็กเกิดความคิดจินตนาการให้รู้จักการทำงานด้วยตนเอง  และรู้จักการสร้างผลงานขึ้น<br />\n3.   เนื้อเรื่อง<br />\n จัดกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์  โดยจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะการวาดภาพ  หมายถึง  การวาดภาพในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้<br />\n 1.  การวาดภาพตามใจชอบ  เป็นการให้โอกาสเด็กได้มีอิสระ  ในการเลือกวาดสิ่งที่เด็กพอใจและความสามารถวาดได้  หรือวาดภาพที่ประทับใจ<br />\n 2.  การวาดภาพจากประสบการณ์  เป็นกิจกรรมที่ให้เด็กวาดภาพจากประสบการณ์ที่เด็กได้รับ  หรือประสบการณ์จากการไปเที่ยวสถานที่ต่าง ๆ เช่น ทะเล  สวนสาธารณะ  ตลาด เป็นตน<br />\n 3.  การวาดภาพจากการฟังนิทาน  เป็นกิจกรรมที่ให้เด็กวาดภาพจากการฟังนิทานที่ครูเล่าให้ฟัง  ซึ่งเด็กจะแสดงออกทั้งความรู้สึกนึกคิด  ทางด้านสติปัญญา และความรู้สึกทางด้านจิตมใต  ถ่ายทอดออกมาเป็นผลงาน<br />\n 4.  การวาดภาพจากเสียงเพลง  ได้แก่  การให้เด็กฟังเพลงแล้ววาดภาพตามความนึกคิดของตนเป็นภาพที่เด็กประทับใจจากการฟังเพลง<br />\n 5.  การวาดภาพจากการแสดงบทบาทสมมติ  เป็นการวาดภาพจากการที่เด็กได้แสดงบทบาทสมมติ แล้วถ่ายทอดออกมาเป็นภาพ<br />\n 6.  การวาดภาพจากสิ่งเร้าที่กำหนด  โดยการต่อเติมภาพจากสิ่งเร้าที่สมบูรณ์  และสิ่งเร้าที่ไม่สมบูรณ์  การต่อเติมภาพในลักษณะเช่นนี้  เป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ได้ดี  เด็กเกิดจินตนาการยั่วยุและท้าทายให้อยากลองทำให้เสร็จ<br />\n-  แนวความคิด / ทฤษฎีที่ใช้<br />\n แนวคิดและงานวิจัยของนักการศึกษา  ทางความคิดสร้างสรรค์วิจัยแล้ว  เช่น  ศาสตราจารย์  ดร.อี พอล ทอเรนจ์ (T0rrance)  แห่งมหาวิทยาลัยจอเจียร์  และกิลฟอร์ด(Guilford)  นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน  ซึ่งกล่าวโดยสรุปพบว่า  เด็กทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย  ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กกำลังต้องการการพัฒนาอย่างยิ่ง  เด็กวัยนี้เป็นวัยช่างซักช่างถาม  อยากรู้อยากเป็นชอบตั้งคำถาม  ฉะนั้นหากวัยนี้ได้รับการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ที่ถูกต้องเหมาะสม  ก็ช่วยให้เด็กได้รู้จักพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้สูงขึ้น  จะเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในวัยต่อมา  ในทางตรงกันข้าม  หากเด็กไม่ได้รับการส่งเสริมแต่กลับถูกลิดรอนทางความคิดสร้างสรรค์  นอกจากความคิดสร้างสรรค์จะไม่พัฒนา  ความคิดสร้างสรรค์อาจสูญหายไป  ดังนั้นช่วงปฐมวัยจึงเป็นวัยหลักของปูพื้นฐานเพื่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์\n</p>\n<p>\n-  การวางแผนการทำงาน<br />\n 1.  ให้เด็กแต่ละคนเลือกวาดคน  เลือกวาดภาพในลักษณะต่าง ๆ ตามคำแนะนำที่ได้เสนอไว้ในแต่ละกิจกรรม<br />\n 2.  เมื่อเด็กวาดภาพนั้นเสร็จแล้ว  กระตุ้นให้เด็กตั้งชื่อภาพให้แปลก  และน่าสนใจ<br />\n 3.  ชักชวนให้เด็กสนทนา  หรืออธิบายจากผลงานที่เด็กสร้างขึ้น<br />\n 4.  เสนอผลงานเด็กด้วยการนำไปติดไว้ที่บอร์ด<br />\n <br />\n-  กระบวนการดำเนินงาน<br />\n ได้นำขั้นตอนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์  ของกรมวิชาการมาประยุกต์ใช้  ดังนี้<br />\n 1.  ขั้นปฐมนิเทศ<br />\n 2.  ขั้นประตุ้นให้เกิดความคิด<br />\n 3.  ขั้นสร้างความรู้ใหม่<br />\n 4.  ขั้นตรวจสอบความรู้ใหม่<br />\n 5.  ขั้นทบทวนใช้ความรู้ใหม่\n</p>\n<p>\n4.  บทสรุป<br />\n 4.1  ผลที่เกิดขึ้น<br />\n  -  ความสำเร็จของตนเอง<br />\n   เกิดความภาคภูมิใจที่ประสบความสำเร็จในการจัดิจกรรมการเรียนการสอนในระดับหนึ่ง  สามารถสร้างกิจกรรมให้เกิด  ได้สร้างพื้นฐานที่ดีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์  ตามความสามารถและศักยภาพของเด็กแต่ละบุคคล<br />\n  -  ความสำเร็จของนักเรียน<br />\n   หลังจากเด็กได้เรียนนู้จากการจัดกิจกรรมการวาดภาพในลักษณะต่างๆ เด็กสามารถสร้างผลงานที่เป็นอิสระทางความคิด  ด้วยความพอใจของตน  เกิดความคิดที่แปลกใหม่  ผลงานไม่ซ้ำกัน  เป็นการเริ่มต้นให้เด็กกล้าคิด  มีความั่นใจในตนเอง  กล้าคิด กล้าแสดงออก  รู้จักการทำงานด้วยตนเองมากขึ้น<br />\n 4.2  สรุปบทเรียนที่ได้<br />\n  -  ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น<br />\n   จากการจัดกิจกรรม  ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น  ในด้านตัวเด็ก  เด็กสามารถสร้างผลงานด้วยตนเองได้ตามศักยภาพของตนเองในด้านตัวครู  ครูควรเน้นความสำคัญของการจัดกิจกรรมที่ยั่วยุและกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์  คำนึงถึงบรรยากาศที่ส่งเสริมให้กล้าคิด  กล้าแสดงออก  ครูต้องค้นหาความสามารถทางด้านความคิดสร้างสรรค์  ภายในตัวเด็กจากพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เด็กพูด  กระทำ  และแสดงออก ด้วยการสังเกตอย่างใกล้ชิดเวลาเด็กทำกิจกรรม  ต้องสร้างความมั่นใจให้เกิดขึ้นกับเด็ก  ไม่เปรียบเทียบผลงานเด็กกับเพื่อน  และสร้างความมั่นใจให้เด็กเข้าใจว่าผลงานของเด็กแต่ละคนนั้นมีคุณค่า<br />\n        -  ได้แรงบันดาลใจเพื่อการดำเนินงาน<br />\n  แรงบันดาลใจในการทำงานเกิดจากความต้องการให้เด็กสร้างผลงานของตนเองไม่ลอกเลียนแบบหรือเอาอย่างผู้อื่น  เพื่อให้เด็กได้พัฒนาตนเองตามความสามารถและศักยภาพของตน<br />\n 4.3  ประโยชน์ที่ได้รับ<br />\n        -  ซึ่งเกิดขึ้นกับตนเองสามารถพัฒนาการเรียนการสอน  โดยการสร้างกิจกรรมที่มีความหลากหลาย  แปลกใหม่จากเดิม\n</p>\n<p>\n-  แนวการพัฒนาผู้เรียน<br />\n สามารถนำแนวทางการจัดกิจกรรมการวาดภาพไปใช้ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์<br />\nของเด็กในลักษณะการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กได้อีกหลากหลายกิจกรรม  เช่น  การปั้น  การฉีก-ปะ  ภาพและอื่น ๆ ได้อีก เป็นต้น\n</p>\n<p>\n-  การเผยแพร่กับบุคคลอื่นต่อไป<br />\n ได้แนะนำให้ครูอนุบาลในโรงเรียนนำกิจกรรมการวาดภาพในลักษณะต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นไป<br />\nจัดกิจกรรมกับเด็ก  สร้างความพึงพอใจให้กับเพื่อนครู  และเกิดมีความสุขและสนุกกับการเรียนร็\n</p>\n', created = 1718628275, expire = 1718714675, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bb051864fe362fea1421a69ae9739083' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์(กิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ) ระดับปฐมวัย

รูปภาพของ saowaree

แนวความคิดประสบการณ์ด้านการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

1.  ชื่อเรื่อง
 กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์(กิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ)  ระดับปฐมวัย
            
  -   ความสำคัญ
  กิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ  เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับความสนใจ  ความสามารถและสอดคล้องกับหลักพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างยิ่ง  กิจกรรมสร้างสรรค์ไม่เพียงแต่ส่งเสริมการประสานความสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือกับตา  และการผ่อนคลายความเครียดทางอารมณ์ที่อาจเกิดขึ้นเท่านั้น  แต่ยังเป็นการส่งเสริมความคิดอิสระ  ความคิดจินตนาการ  ฝึกการรู้จักทำงานด้วยตนเอง  และฝึกการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ทั้งความคิดและการกระทำ   ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานทางศิลปะ  และนำไปสู่การเรียน  เขียน  อ่าน  อย่างสร้างสรรค์ต่อไป

 -  แนวทางในการพัฒนา
  กำหนดแนวทางในการพัฒนา  โดยการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ  การวาดภาพในลักษณะต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมความคิดอิสระ  ความคิดริเริ่ม  กล้าคิด  กล้าแสดงออก  ส่งเสริมความคิดริเริ่ม  โดยเฉพาะความคิดอเนกนัย  ส่งเสริมให้เด็กเกิดความคิดจินตนาการ  ให้รู้จักการทำงานด้วยตนเองให้เด็กรู้จักการสร้างผลงาน

2.  บทนำ
 ชื่อ-สกุล
  นางธันยาภรณ์  เพชรโยธา   ตำแหน่ง  ครู  วิทยฐานะ  ครูชำนาญการ
 ประวัติการศึกษา
  ปริญญาตรี  การศึกษาปฐมวัย     จาก วิทยาลัยครูยะลา
 ความสำเร็จในอดีต
  -  ครูดีเด่น  กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 
   -  ปัญหาการเรียนการสอนที่พบ
   ปัญหาการเรียนการสอนที่พบ  เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  กิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ  พบปัญหาที่เป็นอุปสรรคในการจัดกิจกรรมที่สำคัญได้แก่  การทำกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ศิลปะของเด็ก  ผลงานที่ออกมาเป็นผลงานที่เอาอย่างกันหรือทำตามกัน  และขาดความมั่นใจในตนเอง  ไม่กล้าเสี่ยงไม่กล้าตัดสินใจลงมือกระทำใดใดมักคิดว่าตนเองทำไม่เป็น  ทำไม่ได้
  -  ความต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุง
   จากปัญหาการเรียนการสอนที่พบ  จึงต้องการก้ไขปรับปรุง  เพื่อส่งเสริมให้เด้กมีความคิดอิสระ  มั่นใจในตนเอง  กล้าคิดกล้าแสดงออก  มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  ส่งเสริมให้เด็กเกิดความคิดจินตนาการให้รู้จักการทำงานด้วยตนเอง  และรู้จักการสร้างผลงานขึ้น
3.   เนื้อเรื่อง
 จัดกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์  โดยจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะการวาดภาพ  หมายถึง  การวาดภาพในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
 1.  การวาดภาพตามใจชอบ  เป็นการให้โอกาสเด็กได้มีอิสระ  ในการเลือกวาดสิ่งที่เด็กพอใจและความสามารถวาดได้  หรือวาดภาพที่ประทับใจ
 2.  การวาดภาพจากประสบการณ์  เป็นกิจกรรมที่ให้เด็กวาดภาพจากประสบการณ์ที่เด็กได้รับ  หรือประสบการณ์จากการไปเที่ยวสถานที่ต่าง ๆ เช่น ทะเล  สวนสาธารณะ  ตลาด เป็นตน
 3.  การวาดภาพจากการฟังนิทาน  เป็นกิจกรรมที่ให้เด็กวาดภาพจากการฟังนิทานที่ครูเล่าให้ฟัง  ซึ่งเด็กจะแสดงออกทั้งความรู้สึกนึกคิด  ทางด้านสติปัญญา และความรู้สึกทางด้านจิตมใต  ถ่ายทอดออกมาเป็นผลงาน
 4.  การวาดภาพจากเสียงเพลง  ได้แก่  การให้เด็กฟังเพลงแล้ววาดภาพตามความนึกคิดของตนเป็นภาพที่เด็กประทับใจจากการฟังเพลง
 5.  การวาดภาพจากการแสดงบทบาทสมมติ  เป็นการวาดภาพจากการที่เด็กได้แสดงบทบาทสมมติ แล้วถ่ายทอดออกมาเป็นภาพ
 6.  การวาดภาพจากสิ่งเร้าที่กำหนด  โดยการต่อเติมภาพจากสิ่งเร้าที่สมบูรณ์  และสิ่งเร้าที่ไม่สมบูรณ์  การต่อเติมภาพในลักษณะเช่นนี้  เป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ได้ดี  เด็กเกิดจินตนาการยั่วยุและท้าทายให้อยากลองทำให้เสร็จ
-  แนวความคิด / ทฤษฎีที่ใช้
 แนวคิดและงานวิจัยของนักการศึกษา  ทางความคิดสร้างสรรค์วิจัยแล้ว  เช่น  ศาสตราจารย์  ดร.อี พอล ทอเรนจ์ (T0rrance)  แห่งมหาวิทยาลัยจอเจียร์  และกิลฟอร์ด(Guilford)  นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน  ซึ่งกล่าวโดยสรุปพบว่า  เด็กทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย  ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กกำลังต้องการการพัฒนาอย่างยิ่ง  เด็กวัยนี้เป็นวัยช่างซักช่างถาม  อยากรู้อยากเป็นชอบตั้งคำถาม  ฉะนั้นหากวัยนี้ได้รับการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ที่ถูกต้องเหมาะสม  ก็ช่วยให้เด็กได้รู้จักพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้สูงขึ้น  จะเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในวัยต่อมา  ในทางตรงกันข้าม  หากเด็กไม่ได้รับการส่งเสริมแต่กลับถูกลิดรอนทางความคิดสร้างสรรค์  นอกจากความคิดสร้างสรรค์จะไม่พัฒนา  ความคิดสร้างสรรค์อาจสูญหายไป  ดังนั้นช่วงปฐมวัยจึงเป็นวัยหลักของปูพื้นฐานเพื่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์

-  การวางแผนการทำงาน
 1.  ให้เด็กแต่ละคนเลือกวาดคน  เลือกวาดภาพในลักษณะต่าง ๆ ตามคำแนะนำที่ได้เสนอไว้ในแต่ละกิจกรรม
 2.  เมื่อเด็กวาดภาพนั้นเสร็จแล้ว  กระตุ้นให้เด็กตั้งชื่อภาพให้แปลก  และน่าสนใจ
 3.  ชักชวนให้เด็กสนทนา  หรืออธิบายจากผลงานที่เด็กสร้างขึ้น
 4.  เสนอผลงานเด็กด้วยการนำไปติดไว้ที่บอร์ด
 
-  กระบวนการดำเนินงาน
 ได้นำขั้นตอนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์  ของกรมวิชาการมาประยุกต์ใช้  ดังนี้
 1.  ขั้นปฐมนิเทศ
 2.  ขั้นประตุ้นให้เกิดความคิด
 3.  ขั้นสร้างความรู้ใหม่
 4.  ขั้นตรวจสอบความรู้ใหม่
 5.  ขั้นทบทวนใช้ความรู้ใหม่

4.  บทสรุป
 4.1  ผลที่เกิดขึ้น
  -  ความสำเร็จของตนเอง
   เกิดความภาคภูมิใจที่ประสบความสำเร็จในการจัดิจกรรมการเรียนการสอนในระดับหนึ่ง  สามารถสร้างกิจกรรมให้เกิด  ได้สร้างพื้นฐานที่ดีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์  ตามความสามารถและศักยภาพของเด็กแต่ละบุคคล
  -  ความสำเร็จของนักเรียน
   หลังจากเด็กได้เรียนนู้จากการจัดกิจกรรมการวาดภาพในลักษณะต่างๆ เด็กสามารถสร้างผลงานที่เป็นอิสระทางความคิด  ด้วยความพอใจของตน  เกิดความคิดที่แปลกใหม่  ผลงานไม่ซ้ำกัน  เป็นการเริ่มต้นให้เด็กกล้าคิด  มีความั่นใจในตนเอง  กล้าคิด กล้าแสดงออก  รู้จักการทำงานด้วยตนเองมากขึ้น
 4.2  สรุปบทเรียนที่ได้
  -  ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น
   จากการจัดกิจกรรม  ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น  ในด้านตัวเด็ก  เด็กสามารถสร้างผลงานด้วยตนเองได้ตามศักยภาพของตนเองในด้านตัวครู  ครูควรเน้นความสำคัญของการจัดกิจกรรมที่ยั่วยุและกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์  คำนึงถึงบรรยากาศที่ส่งเสริมให้กล้าคิด  กล้าแสดงออก  ครูต้องค้นหาความสามารถทางด้านความคิดสร้างสรรค์  ภายในตัวเด็กจากพฤติกรรมต่าง ๆ ที่เด็กพูด  กระทำ  และแสดงออก ด้วยการสังเกตอย่างใกล้ชิดเวลาเด็กทำกิจกรรม  ต้องสร้างความมั่นใจให้เกิดขึ้นกับเด็ก  ไม่เปรียบเทียบผลงานเด็กกับเพื่อน  และสร้างความมั่นใจให้เด็กเข้าใจว่าผลงานของเด็กแต่ละคนนั้นมีคุณค่า
        -  ได้แรงบันดาลใจเพื่อการดำเนินงาน
  แรงบันดาลใจในการทำงานเกิดจากความต้องการให้เด็กสร้างผลงานของตนเองไม่ลอกเลียนแบบหรือเอาอย่างผู้อื่น  เพื่อให้เด็กได้พัฒนาตนเองตามความสามารถและศักยภาพของตน
 4.3  ประโยชน์ที่ได้รับ
        -  ซึ่งเกิดขึ้นกับตนเองสามารถพัฒนาการเรียนการสอน  โดยการสร้างกิจกรรมที่มีความหลากหลาย  แปลกใหม่จากเดิม

-  แนวการพัฒนาผู้เรียน
 สามารถนำแนวทางการจัดกิจกรรมการวาดภาพไปใช้ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ของเด็กในลักษณะการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กได้อีกหลากหลายกิจกรรม  เช่น  การปั้น  การฉีก-ปะ  ภาพและอื่น ๆ ได้อีก เป็นต้น

-  การเผยแพร่กับบุคคลอื่นต่อไป
 ได้แนะนำให้ครูอนุบาลในโรงเรียนนำกิจกรรมการวาดภาพในลักษณะต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นไป
จัดกิจกรรมกับเด็ก  สร้างความพึงพอใจให้กับเพื่อนครู  และเกิดมีความสุขและสนุกกับการเรียนร็

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 545 คน กำลังออนไลน์