• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bb6b1ee1603bacaf6ac83578bb4f1940' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<span><span style=\"font-family: arial,sans-serif; color: #cc0033\"><span style=\"line-height: 15px; font-size: small\"></span></span></span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"left\">\n<u><b><span><span style=\"font-family: arial,sans-serif; color: #cc0033\"><span style=\"line-height: 15px; font-size: small\"><br />\n<span style=\"color: #000000\">ประวัติศาสตร์อียิปต์โบราณ</span><br />\n</span></span></span></b></u>\n</p>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<span><span style=\"font-family: arial,sans-serif; color: #cc0033\"><span style=\"line-height: 15px; font-size: small\"></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u32004/65.jpeg\" width=\"142\" height=\"208\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">          ที่มา : http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:jRzaY-P-LUuYyM:http://www.feedmewp.com/wp-content/uploads/2009/03/20090319-feedmewp-pyramids-iphone.jpg&amp;t=1</span><br />\n<span style=\"color: #000000\"><br />\n</span>\n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #000000\">     </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<p>\n</p>\n<div>\n<span style=\"color: #000000\"><span><span style=\"font-family: arial,sans-serif; color: #cc0033\"><span style=\"line-height: 15px; font-size: small\">อียิปต์ เป็นประเทศที่อยู่ทางตอนบนของอาฟริกา มีแน่น้ำไนล์เป็นเส้นเลือดคอยหล่อเลี้ยงดินแดนนี้ ให้อุดมสมบูรณ์ จนกล่าวได้ว่านับเป็นอีกหนึ่งอารยธรรมที่อุดมณ์สมบูรณ์<br />\nเกือบถึงที่สุดในยุค แรกๆ สองฟาก ฝั่งแน่น้ำไนล์เต็มไปด้วยความอุดมอย่างยิ่งยวดแม้ว่าน้ำจะท่วมทุกปีก็ตาม ผู้คนที่มาลงหลักปักฐานที่นี่มีหลักฐาน <br />\nเชื่อได้ว่ามีมาตั้งแต่ยุคสมัยหินเก่า และก็ยังเป็นไปได้อีกว่าผู้คนที่อยู่อาศัยที่นี่อยู่มาตั้งแต่สมัยหินเก่าจน ถึงสมัย ราชวงศ์ (ประมาณ 8000-3100) ปีก่อนศริศตกาลอีกด้วย <br />\nผู้คนแถบนี้นับว่าเป็นคนช่างคิดและมีวิยาการสูง พวกเขามีความสามารถในการควบคุมแม่น้ำไนล์ที่จะต้องเอ่อท่วมฝั่งทุกปี และยังสามารถมีกระบวนการทาง <br />\nเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น รู้เรื่องการผสมพันธุ์สัตว์อย่างเป็นระบบ การเก็บสะสมเมล็ดพันธุ์พืช ทำให้ ประเทศอียิปต์ในสมัยนั้นร่ำรวยขึ้นจนสามารถก่อสังคมขึ้น<br />\nอย่างมีประสิทธิภาพ สังคมอียิปต์โบราณนั้นมีการแบ่งหน้าที่ของชนชั้นอย่างชัดเจน มีชนชั้นพระที่คอยตอบสนองเรื่อง ความต้องการทางด้านจิตใจ มีนักรบคอยป้องกัน<br />\nดินแดน และยังสามารถถ่ายโอนแรงงานที่เป็นเกษตกรมา เป็นแรงงานกรรมกรเพื่อก่อสร้างสิ่งก่อสร้างอันยิ่งใหญ่เช่น ปิรามิดได้อย่างไม่ยากเย็น ดินแดนอียิปต์ <br />\nภายหลัง เมื่อกลายเป็นสังคมที่มีการปกครองโดยชั้นกษัตริย์ ยังมีการแบ่งแยกเป็นสองส่วนคืออียิปต์ตอนเหนือ และอียิปต์ ตอนใต้ บางที่อียิปต์ตอนเหนือก็เข้มแข็งมากกว่า <br />\nบางที่อียิปต์ตอนใต้ก็มีอำนาจมากกว่า เป็นลักษณะนี้อยู่นาน จนถึงสมัยกษัตริย์ เมเนส (นักอียิปต์วิทยาสันนิษฐานว่าเป็นพระองค์เดียวกันกับราชันต์แมงป่อง) <br />\nฟาโรห์จาก อียิปต์ตอนเหนือ ความสมดุลระหว่างสองเมืองก็เปลี่ยนแปลงไป ความเจริญก้าวหน้าเพิ่มมากขึ้น มีการพัฒนา อุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินผา เครื่องโลหะต่างๆ <br />\nและเริ่มมีอักษรเฮียโรกลิฟฟิคใช้กันแล้ว นอกจากนียังมีความ เชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย ดังนั้นจึงมีการคิดวิธีดองศพด้วยวิธีการทำมัมมี่ ช่วงเวลาที่ถือว่าเป็นความรุ่งเรือง<br />\nของอารธรรมอียิปต์ช่วงแรกคือช่วง อาณาจักรเก่า (2650-2150 ก่อนศริสตศักราช) เมืองหลวง เมือง แรกคือ ธีนิส ต่อมาเปลี่ยนไปอยู่ที่เมมฟิสในอียิปต์ตอนล่าง <br />\nฟาโรห์ซึ่งเป็น ตำแหน่งกษัตริย์ของนครเป็นผู้เดียวที่อาจจะสั่งให้มีการก่อสร้างปิรามิด เพื่อนเก็บศพของพระองค์ ต่อมา สังคมอียิปต์เริ่มสั่นคลอน เกิดสงครามระหว่าง<br />\nข้าหลวงในราชสำนัก แผ่นดินกลับแยกเป็นกลุ่มเล็กกลุ่มน้อย เหมือนเมื่อครั้งยังไม่เจริญทางด้านอารยธรรม แต่ก็ยังมีการรวมกันฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้งในช่วงอาณาจักรกลาง<br />\nเมื่อโครงการชลประธามฟายุมเกิดขึ้น และเมื่อฟาโรห์ขยายอำนาจของพระองค์ลงไปทางตอนใต้ทางนูเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือทางไซนาย แต่ถึงแม้ว่าอียิปต์<br />\nจะประสบความสำเร็จอย่างสูงในการรวบรวมและ ขยายดินแดน แต่ช่วงยุคนี้อียิปต์ยังต้องเผชิญต่อการอพยพของชนเผ่าฮิกซอส ชนชาวเอเชียซึ่งทำให้อียิปต์ต้องซบเซา<br />\nลงอีก กว่าจะผ่านช่วงเวลาที่ยากลำบากมาสู่การฟื้นตัวเต็มที่ก็ต้องผ่านมาถึง ราชวงศ์ที่ 17 อียิปต์ก็ลุกขึ้นมา โดดเด่นอีกครั้ง ช่วงนี้เป็นช่วงที่เรารู้จักกันในนามอาณาจักรใหม่<br />\n(1560-1085ก่อนค.ศ.) มันเป็นศรรตวรรษ ใหม่ของสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ไม่ว่าที่คาร์นัก อาบูเซมเบล หรือลักซอร์ หรือว่าเป็นสมบัติของตุตันคาเมน (ราชวงศ์ที่ 18) <br />\nหรือการเขียนหนังสือลงบนกระดาษปาปิรุสก็เกิดขึ้นในยุคนี้ หลังจากราชวงศ์ที่ 20 เป็นต้นมา อียิปต์เริ่มอ่อนแอลงเรื่อยๆ ทั้งจากความยุ่งเหยิงภายในและความ <br />\nที่ถูกรุกรานจากศัตรูภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง &quot;คนทะเล&quot; (อาจเป็นชาวเอเซียหรืออีเจี้ยน) ส่วนภายใน บัลลังก์ของฟาโรห์ก็ถูกครอบครองโดยราชวงศ์ลิเบียเป็นราชวงศ์ที่<br />\n22 และเอธิโอเปียเป็นราชวงศ์ที่ 25 นอกจากนี้ยังถูกพวกอัสซีเรียและบาบิโลเนียรุกรานและในที่สุดก็ตกอยู่ภายใต้ การปกครองของพวกเปอร์เอียิปต์ก็ได้ตก อยู่ภายใต้<br />\nการปกครอง ของนาย พลปโตเลมี (ปโตเลมีที่ 1เป็นชาวกรีกมาซีโดเนียน) พระองค์ได้นำวัฒนธรรมกรีกเข้ามาเผยแพร่และ ย้ายเมืองหลวงจากเมมฟิสไปยัง<br />\nอเล็กซานเดรีย โดยในเฉพาะในสมัยของปโตเลมีที่ 2 และ 3 ถือว่าเป็นซียในปี 525 ก่อน ค.ศต่อมาได้มีการรบพุ่งแย่งชิงดินแดนกันอยู่หลายครั้งจนในที่สุดยุคทอง<br />\nของอียิปต์เลยที่เดียว มีการขยายอาณาเขตออกไปส่งเสริมการเกษตรโนกานนำพืชพันธุ์ใหม่ๆเข้ามาทดลอง ปลูก เช่นข้าวสาลี มีการสร้างพิพิธพัณฑ์รวบรวมศิลปะกรีกไ<br />\nว้ในพระราชวัง สร้างหอสมุดที่ยิ่งใหญ่ทีสุดในยุคโบราณ การกำหนดให้หนึ่งปีมี 365 วัน และทุกๆ 4 ปีจะมี366วัน อียิปต์เจริญรุ่งเรืองขึ้นตามลำดับจนมาถึง<br />\nสมัยฟาโรห์ ์ปโตเลมีที่ 13 กับพระนางคลีโอพัตราที่ 7ซึ่งเป็นช่วงปลายราชวงศ์ อียิปต์ได้ตกเป็นของอาณาจักรโรมันโดย อ็อคเตเวียน(บุตรบุญธรรมของจูเลียส ซีซ่าร์<br />\n)ได้ยกทัพมาบดขยี้อียิปต์ได้ในที่สุด ครั้นจรรกวรรดิโรมันได้รวม อียิปต์เข้าเป็นดินแดนในที่สุด เมืองอเล็กซานเดรียนับว่ายังเจริญรุ่งเรืองอยู่มากได้เป็นหนึ่งในสามของศูนย์<br />\nกลาง ของศาสนาคริสต์ ต่อมาเมื่อคศ 7 เมื่อชาวอาหรับเข้ามาแทนที่ชาวโรมันได้ย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่กรุง ไคโร(เมืองหลวงอียิปต์ปัจจุบัน)เมืองอเล็กซานเดรียก็กลายเป็น<br />\nเมืองศูนย์กลาง การ ค้าขายระหว่างซีกโลกตะวันตก และตะวันออก เป็นต้นว่าเครื่องเทศ เครื่องแก้ว และของฟุ่มเฟือยทั้งหลาย<br />\n</span></span></span></span>\n</div>\n<div>\n \n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/73138\">                                                                                  กลับหน้าหลัก</a>\n</div>\n<p><a href=\"/node/73138\"></a><br />\n<span><span style=\"font-family: arial,sans-serif; color: #cc0033\"><span style=\"line-height: 15px; font-size: small\"><br />\n</span></span></span></p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span><span style=\"font-family: arial,sans-serif; color: #cc0033\"><span style=\"line-height: 15px; font-size: small\">\n<div>\n</div>\n<p></p></span></span></span><br />\n<span><span style=\"font-family: arial,sans-serif; color: #cc0033\"><span style=\"line-height: 15px; font-size: small\"></span></span></span>\n</div>\n<p>\n<span><span style=\"font-family: arial,sans-serif; color: #cc0033\"><span style=\"line-height: 15px; font-size: small\"><br />\n</span></span></span></p>\n<div>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n', created = 1727568612, expire = 1727655012, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bb6b1ee1603bacaf6ac83578bb4f1940' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์อียิปต์โบราณ

รูปภาพของ sss27506


ประวัติศาสตร์อียิปต์โบราณ

         ที่มา : http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:jRzaY-P-LUuYyM:http://www.feedmewp.com/wp-content/uploads/2009/03/20090319-feedmewp-pyramids-iphone.jpg&t=1

    

อียิปต์ เป็นประเทศที่อยู่ทางตอนบนของอาฟริกา มีแน่น้ำไนล์เป็นเส้นเลือดคอยหล่อเลี้ยงดินแดนนี้ ให้อุดมสมบูรณ์ จนกล่าวได้ว่านับเป็นอีกหนึ่งอารยธรรมที่อุดมณ์สมบูรณ์
เกือบถึงที่สุดในยุค แรกๆ สองฟาก ฝั่งแน่น้ำไนล์เต็มไปด้วยความอุดมอย่างยิ่งยวดแม้ว่าน้ำจะท่วมทุกปีก็ตาม ผู้คนที่มาลงหลักปักฐานที่นี่มีหลักฐาน
เชื่อได้ว่ามีมาตั้งแต่ยุคสมัยหินเก่า และก็ยังเป็นไปได้อีกว่าผู้คนที่อยู่อาศัยที่นี่อยู่มาตั้งแต่สมัยหินเก่าจน ถึงสมัย ราชวงศ์ (ประมาณ 8000-3100) ปีก่อนศริศตกาลอีกด้วย
ผู้คนแถบนี้นับว่าเป็นคนช่างคิดและมีวิยาการสูง พวกเขามีความสามารถในการควบคุมแม่น้ำไนล์ที่จะต้องเอ่อท่วมฝั่งทุกปี และยังสามารถมีกระบวนการทาง
เกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น รู้เรื่องการผสมพันธุ์สัตว์อย่างเป็นระบบ การเก็บสะสมเมล็ดพันธุ์พืช ทำให้ ประเทศอียิปต์ในสมัยนั้นร่ำรวยขึ้นจนสามารถก่อสังคมขึ้น
อย่างมีประสิทธิภาพ สังคมอียิปต์โบราณนั้นมีการแบ่งหน้าที่ของชนชั้นอย่างชัดเจน มีชนชั้นพระที่คอยตอบสนองเรื่อง ความต้องการทางด้านจิตใจ มีนักรบคอยป้องกัน
ดินแดน และยังสามารถถ่ายโอนแรงงานที่เป็นเกษตกรมา เป็นแรงงานกรรมกรเพื่อก่อสร้างสิ่งก่อสร้างอันยิ่งใหญ่เช่น ปิรามิดได้อย่างไม่ยากเย็น ดินแดนอียิปต์
ภายหลัง เมื่อกลายเป็นสังคมที่มีการปกครองโดยชั้นกษัตริย์ ยังมีการแบ่งแยกเป็นสองส่วนคืออียิปต์ตอนเหนือ และอียิปต์ ตอนใต้ บางที่อียิปต์ตอนเหนือก็เข้มแข็งมากกว่า
บางที่อียิปต์ตอนใต้ก็มีอำนาจมากกว่า เป็นลักษณะนี้อยู่นาน จนถึงสมัยกษัตริย์ เมเนส (นักอียิปต์วิทยาสันนิษฐานว่าเป็นพระองค์เดียวกันกับราชันต์แมงป่อง)
ฟาโรห์จาก อียิปต์ตอนเหนือ ความสมดุลระหว่างสองเมืองก็เปลี่ยนแปลงไป ความเจริญก้าวหน้าเพิ่มมากขึ้น มีการพัฒนา อุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินผา เครื่องโลหะต่างๆ
และเริ่มมีอักษรเฮียโรกลิฟฟิคใช้กันแล้ว นอกจากนียังมีความ เชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย ดังนั้นจึงมีการคิดวิธีดองศพด้วยวิธีการทำมัมมี่ ช่วงเวลาที่ถือว่าเป็นความรุ่งเรือง
ของอารธรรมอียิปต์ช่วงแรกคือช่วง อาณาจักรเก่า (2650-2150 ก่อนศริสตศักราช) เมืองหลวง เมือง แรกคือ ธีนิส ต่อมาเปลี่ยนไปอยู่ที่เมมฟิสในอียิปต์ตอนล่าง
ฟาโรห์ซึ่งเป็น ตำแหน่งกษัตริย์ของนครเป็นผู้เดียวที่อาจจะสั่งให้มีการก่อสร้างปิรามิด เพื่อนเก็บศพของพระองค์ ต่อมา สังคมอียิปต์เริ่มสั่นคลอน เกิดสงครามระหว่าง
ข้าหลวงในราชสำนัก แผ่นดินกลับแยกเป็นกลุ่มเล็กกลุ่มน้อย เหมือนเมื่อครั้งยังไม่เจริญทางด้านอารยธรรม แต่ก็ยังมีการรวมกันฟื้นฟูขึ้นมาอีกครั้งในช่วงอาณาจักรกลาง
เมื่อโครงการชลประธามฟายุมเกิดขึ้น และเมื่อฟาโรห์ขยายอำนาจของพระองค์ลงไปทางตอนใต้ทางนูเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือทางไซนาย แต่ถึงแม้ว่าอียิปต์
จะประสบความสำเร็จอย่างสูงในการรวบรวมและ ขยายดินแดน แต่ช่วงยุคนี้อียิปต์ยังต้องเผชิญต่อการอพยพของชนเผ่าฮิกซอส ชนชาวเอเชียซึ่งทำให้อียิปต์ต้องซบเซา
ลงอีก กว่าจะผ่านช่วงเวลาที่ยากลำบากมาสู่การฟื้นตัวเต็มที่ก็ต้องผ่านมาถึง ราชวงศ์ที่ 17 อียิปต์ก็ลุกขึ้นมา โดดเด่นอีกครั้ง ช่วงนี้เป็นช่วงที่เรารู้จักกันในนามอาณาจักรใหม่
(1560-1085ก่อนค.ศ.) มันเป็นศรรตวรรษ ใหม่ของสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่ไม่ว่าที่คาร์นัก อาบูเซมเบล หรือลักซอร์ หรือว่าเป็นสมบัติของตุตันคาเมน (ราชวงศ์ที่ 18)
หรือการเขียนหนังสือลงบนกระดาษปาปิรุสก็เกิดขึ้นในยุคนี้ หลังจากราชวงศ์ที่ 20 เป็นต้นมา อียิปต์เริ่มอ่อนแอลงเรื่อยๆ ทั้งจากความยุ่งเหยิงภายในและความ
ที่ถูกรุกรานจากศัตรูภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง "คนทะเล" (อาจเป็นชาวเอเซียหรืออีเจี้ยน) ส่วนภายใน บัลลังก์ของฟาโรห์ก็ถูกครอบครองโดยราชวงศ์ลิเบียเป็นราชวงศ์ที่
22 และเอธิโอเปียเป็นราชวงศ์ที่ 25 นอกจากนี้ยังถูกพวกอัสซีเรียและบาบิโลเนียรุกรานและในที่สุดก็ตกอยู่ภายใต้ การปกครองของพวกเปอร์เอียิปต์ก็ได้ตก อยู่ภายใต้
การปกครอง ของนาย พลปโตเลมี (ปโตเลมีที่ 1เป็นชาวกรีกมาซีโดเนียน) พระองค์ได้นำวัฒนธรรมกรีกเข้ามาเผยแพร่และ ย้ายเมืองหลวงจากเมมฟิสไปยัง
อเล็กซานเดรีย โดยในเฉพาะในสมัยของปโตเลมีที่ 2 และ 3 ถือว่าเป็นซียในปี 525 ก่อน ค.ศต่อมาได้มีการรบพุ่งแย่งชิงดินแดนกันอยู่หลายครั้งจนในที่สุดยุคทอง
ของอียิปต์เลยที่เดียว มีการขยายอาณาเขตออกไปส่งเสริมการเกษตรโนกานนำพืชพันธุ์ใหม่ๆเข้ามาทดลอง ปลูก เช่นข้าวสาลี มีการสร้างพิพิธพัณฑ์รวบรวมศิลปะกรีกไ
ว้ในพระราชวัง สร้างหอสมุดที่ยิ่งใหญ่ทีสุดในยุคโบราณ การกำหนดให้หนึ่งปีมี 365 วัน และทุกๆ 4 ปีจะมี366วัน อียิปต์เจริญรุ่งเรืองขึ้นตามลำดับจนมาถึง
สมัยฟาโรห์ ์ปโตเลมีที่ 13 กับพระนางคลีโอพัตราที่ 7ซึ่งเป็นช่วงปลายราชวงศ์ อียิปต์ได้ตกเป็นของอาณาจักรโรมันโดย อ็อคเตเวียน(บุตรบุญธรรมของจูเลียส ซีซ่าร์
)ได้ยกทัพมาบดขยี้อียิปต์ได้ในที่สุด ครั้นจรรกวรรดิโรมันได้รวม อียิปต์เข้าเป็นดินแดนในที่สุด เมืองอเล็กซานเดรียนับว่ายังเจริญรุ่งเรืองอยู่มากได้เป็นหนึ่งในสามของศูนย์
กลาง ของศาสนาคริสต์ ต่อมาเมื่อคศ 7 เมื่อชาวอาหรับเข้ามาแทนที่ชาวโรมันได้ย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่กรุง ไคโร(เมืองหลวงอียิปต์ปัจจุบัน)เมืองอเล็กซานเดรียก็กลายเป็น
เมืองศูนย์กลาง การ ค้าขายระหว่างซีกโลกตะวันตก และตะวันออก เป็นต้นว่าเครื่องเทศ เครื่องแก้ว และของฟุ่มเฟือยทั้งหลาย
 





มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 227 คน กำลังออนไลน์