• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d166fac4f2074d9839606dd13454ccc0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"right\">\n<strong><span style=\"color: #3f482e\">   </span><span style=\"color: #000080\"><a href=\"/node/71310\">Home</a>  <a href=\"/node/76547\">Introduce</a> <a href=\"/node/74454\"> 5  Kingdom</a>   <a href=\"/node/75027\">Reference  </a> <a href=\"/node/75026\">Who  Am  I ?</a></span></strong>   \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"200\" width=\"500\" src=\"/files/u31940/C_o_n_i_f_e_r_o_p_h_y_t_a_copy.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 409px; height: 152px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>ได้เเก่ พืชพวกสน เช่น สนสองใบ สนสามใบ มักพบในบริเวณที่มีอากาศหนาวเย็น เช่น ดอยอินทนนท์ ขุนตาล ภูกระดึง </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>         </strong><strong><span style=\"color: #800080\"> ลักษณะต้นสปอโรไฟต์ของพวกสน<br />\n</span>- เป็นพืชยืนต้นขนาดใหญ่ ต้นสูงชะลูด<br />\n- ใบมีลักษณะคล้ายรูเข็ม มีคิวติเคิลหนาปกคลุม เเละใบมักอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม<br />\n- มีอวัยวะสืบพันธุ์เรียกว่า โคน ( cone ) หรือ สโตรบิลัส ( strobilus ) ลักษณะเป็นเกล็ดหรือ เเผ่นเเข็งที่เรียงซ้อนกันเเน่น เปลี่ยนเเปลงมาจากใบที่เรียงซ้อนกัน ( สปอโรฟีลล์ )<br />\n- โคนมี 2 ชนิด คือ โคนตัวผู้ ทำหน้าที่สร้างไมโครสปอร์ที่จะเปลี่ยนเเปลงต่อไปเป็นละอองเรณูหรือเเกมีโทไฟต์เพศผู้ เเละโคนตัวเมีย ทำหน้าที่สร้างเมกะสปอร์ที่เปลี่ยนเเปลงไปเป็นเเกมีโทไฟต์เพศเมียที่สร้างไข่ภายในโอวูล <br />\n- เม็ดไม่มีผนังรังไข่หรือผลห่อหุ้ม เรียกว่า เมล็ดเปลือย ( naked seed ) เกิดขึ้นติดอยู่กับเเต่ละเกล็ดของโคนตัวเมีย</strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #b34188\">           การสืบพันธุ์</span><br />\n- มีการถ่ายละอองเกสรโดยลม เมื่อละอองเรณูตกลงบนโคนตัวเมียจะเจริญขึ้นเเละสร้างสเปิร์มกับหลอดละอองเรณูที่จะนำสเปิร์มไปปฏิสนธิกับไข่เกิดไซโกตขึ้นภายในโอวูล<br />\n- หลังปฏิสนธิ โอวูลเปลี่ยนเเปลงไปเป็นเมล็ด ไซโกตจะเจริญขึ้นกลายเป็นเอมบริโอ ที่จะเจริญต่อไปเป็น ต้นอ่อนของสปอโรไฟต์ ( young sporphyte ) ภายในเมล็ด<br />\n- เมล็ดที่เเก่จัด ปลิวไปตกในที่เหมาะสม งอกเป็นสปอโรไฟต์ต้นใหม่ ต้นเเกมีโทไฟต์ของสน มีขนาดเล็กมากเหลือเพียงไม่กี่เซลล์เเละอาศัยอยู่บนต้นสปอโรไฟต์ ได้เเก่<br />\n   --&gt; เเกมีโทไฟต์เพศผู้ คือ ละอองเรณูที่จะสร้างสเปิร์มเมื่อตกลงบนโคนตัวเมีย<br />\n   --&gt; เเกมีโทไฟต์เพศเมีย อยู่ภายในโอวูลทำหน้าที่สร้างรังไข่ </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">        :] </span> พืชพวกสนเจริญเติบโตเร็ว เพราะมีราไมคอไรซาอยู่ร่วมกับเซลล์รากเเบบภาวะที่ต้องพึ่งพาราเปลี่ยนเเปลงฟอสฟอรัสในดินให้อยู่ในรูปของสารที่รากสนดูดไปใช้ได้ <span style=\"color: #ff0000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ff0000\">***</span> เกร็ดความรู้  <span style=\"color: #ff0000\">***</span><br />\nอวัยวะสืบพันธุ์ของสน คือ โคนสองชนิด ได้เเก่โคนตัวผู้เเละโคนตัวเมีย ภายในเเต่ละเกล็ดของโคนตัวเมีย มีโอวูลที่จะสร้างเมกะสปอร์ ( n )  --&gt; เเกมีโทไฟต์เพศเมียซึ่งมีอาร์คีโกเนียมหลายอัน เเต่ละอันจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์คือไข่ ภายในเเต่ละเกล็ดของโคนตัวผู้ มีอับสปอร์ เรียกว่า ไมโครสปอร์เเรงเจีย ซึ่งภายในมีการเปลี่ยนเเปลงดังนี้ เซลล์เเม่<br />\nของไมโครสปอร์ ( 2n ) --&gt; ไมโครสปอร์ ( n ) --&gt; ละอองเรณู ( เเกมีโทไฟต์เพศผู้ที่ยังเจริญไม่เต็มที่ ) เมื่อถ่ายละอองเกสร ละอองเรณูเจริญขึ้นงอกเป็นหลอดเข้าไปในในไข่เเละสร้างสเปิร์ม เข้าไปปฏิสนธิกับไข่เกิดเอมบริโอภายในเมล็ด ที่จะงอกเป็นต้นสปอโรไฟต์ขนาดใหญ่</strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"496\" width=\"366\" src=\"/files/u31940/son.jpg\" border=\"0\" />   <span style=\"color: #0066cc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<br />\n<a href=\"http://www.weekendhobby.com/offroad/toyota/picture%5C1712255185541.jpg\"><span style=\"color: #00ffff\"><u><span style=\"color: #0066cc\">http://www.weekendhobby.com/offroad/toyota/picture%5C1712255185541.jpg</span></u></span></a>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #0066cc\"></span></u><strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<u><span style=\"color: #0066cc\"><img height=\"600\" width=\"400\" src=\"/files/u31940/son_2.jpg\" border=\"0\" /></span></u>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<br />\n<a href=\"http://www.212cafe.com/freewebboard/user_board/tonight/picture/05152_8.jpg\"><span style=\"color: #00ffff\"><u><span style=\"color: #0066cc\">http://www.212cafe.com/freewebboard/user_board/tonight/picture/05152_8.jpg</span></u></span></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/74422\"><img height=\"180\" width=\"419\" src=\"/files/u31940/nk-31_copy.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 305px; height: 108px\" /></a><a href=\"/node/74455\"><img height=\"180\" width=\"419\" src=\"/files/u31940/nk-32_copy.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 278px; height: 102px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\">               </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\">ที่มาของ</span><span style=\"color: #800000\">ข้อมูล</span></strong><span style=\"color: #800000\"> </span><a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/coniferophyta.html\"><strong><span style=\"color: #800000\"><u><span style=\"color: #0066cc\">http://dit.dru.ac.th/biology/coniferophyta.html</span></u></span></strong></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726778590, expire = 1726864990, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d166fac4f2074d9839606dd13454ccc0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Say Hi!!! "Coniferomycota"

รูปภาพของ sss27795

   Home  Introduce  5  Kingdom   Reference   Who  Am  I ?   

ได้เเก่ พืชพวกสน เช่น สนสองใบ สนสามใบ มักพบในบริเวณที่มีอากาศหนาวเย็น เช่น ดอยอินทนนท์ ขุนตาล ภูกระดึง

          ลักษณะต้นสปอโรไฟต์ของพวกสน
- เป็นพืชยืนต้นขนาดใหญ่ ต้นสูงชะลูด
- ใบมีลักษณะคล้ายรูเข็ม มีคิวติเคิลหนาปกคลุม เเละใบมักอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
- มีอวัยวะสืบพันธุ์เรียกว่า โคน ( cone ) หรือ สโตรบิลัส ( strobilus ) ลักษณะเป็นเกล็ดหรือ เเผ่นเเข็งที่เรียงซ้อนกันเเน่น เปลี่ยนเเปลงมาจากใบที่เรียงซ้อนกัน ( สปอโรฟีลล์ )
- โคนมี 2 ชนิด คือ โคนตัวผู้ ทำหน้าที่สร้างไมโครสปอร์ที่จะเปลี่ยนเเปลงต่อไปเป็นละอองเรณูหรือเเกมีโทไฟต์เพศผู้ เเละโคนตัวเมีย ทำหน้าที่สร้างเมกะสปอร์ที่เปลี่ยนเเปลงไปเป็นเเกมีโทไฟต์เพศเมียที่สร้างไข่ภายในโอวูล
- เม็ดไม่มีผนังรังไข่หรือผลห่อหุ้ม เรียกว่า เมล็ดเปลือย ( naked seed ) เกิดขึ้นติดอยู่กับเเต่ละเกล็ดของโคนตัวเมีย

           การสืบพันธุ์
- มีการถ่ายละอองเกสรโดยลม เมื่อละอองเรณูตกลงบนโคนตัวเมียจะเจริญขึ้นเเละสร้างสเปิร์มกับหลอดละอองเรณูที่จะนำสเปิร์มไปปฏิสนธิกับไข่เกิดไซโกตขึ้นภายในโอวูล
- หลังปฏิสนธิ โอวูลเปลี่ยนเเปลงไปเป็นเมล็ด ไซโกตจะเจริญขึ้นกลายเป็นเอมบริโอ ที่จะเจริญต่อไปเป็น ต้นอ่อนของสปอโรไฟต์ ( young sporphyte ) ภายในเมล็ด
- เมล็ดที่เเก่จัด ปลิวไปตกในที่เหมาะสม งอกเป็นสปอโรไฟต์ต้นใหม่ ต้นเเกมีโทไฟต์ของสน มีขนาดเล็กมากเหลือเพียงไม่กี่เซลล์เเละอาศัยอยู่บนต้นสปอโรไฟต์ ได้เเก่
   --> เเกมีโทไฟต์เพศผู้ คือ ละอองเรณูที่จะสร้างสเปิร์มเมื่อตกลงบนโคนตัวเมีย
   --> เเกมีโทไฟต์เพศเมีย อยู่ภายในโอวูลทำหน้าที่สร้างรังไข่

        :]  พืชพวกสนเจริญเติบโตเร็ว เพราะมีราไมคอไรซาอยู่ร่วมกับเซลล์รากเเบบภาวะที่ต้องพึ่งพาราเปลี่ยนเเปลงฟอสฟอรัสในดินให้อยู่ในรูปของสารที่รากสนดูดไปใช้ได้

     *** เกร็ดความรู้  ***
อวัยวะสืบพันธุ์ของสน คือ โคนสองชนิด ได้เเก่โคนตัวผู้เเละโคนตัวเมีย ภายในเเต่ละเกล็ดของโคนตัวเมีย มีโอวูลที่จะสร้างเมกะสปอร์ ( n )  --> เเกมีโทไฟต์เพศเมียซึ่งมีอาร์คีโกเนียมหลายอัน เเต่ละอันจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์คือไข่ ภายในเเต่ละเกล็ดของโคนตัวผู้ มีอับสปอร์ เรียกว่า ไมโครสปอร์เเรงเจีย ซึ่งภายในมีการเปลี่ยนเเปลงดังนี้ เซลล์เเม่
ของไมโครสปอร์ ( 2n ) --> ไมโครสปอร์ ( n ) --> ละอองเรณู ( เเกมีโทไฟต์เพศผู้ที่ยังเจริญไม่เต็มที่ ) เมื่อถ่ายละอองเกสร ละอองเรณูเจริญขึ้นงอกเป็นหลอดเข้าไปในในไข่เเละสร้างสเปิร์ม เข้าไปปฏิสนธิกับไข่เกิดเอมบริโอภายในเมล็ด ที่จะงอกเป็นต้นสปอโรไฟต์ขนาดใหญ่

  

               

ที่มาของข้อมูล http://dit.dru.ac.th/biology/coniferophyta.html

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 485 คน กำลังออนไลน์