• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:01b2ec7b0fd1ace58a3fe29ba9ad66a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"color: #9966cc\"><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><u><span style=\"color: #ff0000\">ใบงานที่ 6</span></u> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\', serif\"></span></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #9966cc\"></span></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"color: #9966cc\"><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">1. ให้นักเรียนบอกความหมายและประเภทของการค้นหา</span></span></strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ตอบ</span> </u></span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 6pt 0cm 10pt; text-indent: 36pt; line-height: normal; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์สำหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> Search Engine Site <span lang=\"TH\">ซึ่งจะทำหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำหนด คลิกปุ่มค้นหา</span> (<span lang=\"TH\">หรือกดปุ่ม</span> Enter) <span lang=\"TH\">เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อ ๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที</span></span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 6pt 0cm 10pt; line-height: normal; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><u><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ประเภท</span></u><u><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> Search Engine</span></u></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 6pt 0cm 10pt; text-indent: 2cm; line-height: normal; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>1<span lang=\"TH\">.</span> Keyword Index   <span lang=\"TH\">เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความใน</span>Web Page<span lang=\"TH\">ที่ได้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ ๒๐๐</span>-<span lang=\"TH\">๓๐๐ ตัวอักษรแรกของ</span>Web Page<span lang=\"TH\">นั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา</span> HTML <span lang=\"TH\">ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคำสั่ง</span> Alt  <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นคำสั่งภายใน</span> TAG <span lang=\"TH\">คำสั่งของรูปภาพ แต่จะไม่นำคำสั่งของ</span> TAG <span lang=\"TH\">อื่นๆ ในภาษา</span> HTML <span lang=\"TH\">และคำสั่งในภาษา</span> JAVA <span lang=\"TH\">มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหาของ</span> Search Engine <span lang=\"TH\">ประเภทนี้จะให้ความสำคัญกับการเรียงลำดับข้อมูลก่อน</span>-<span lang=\"TH\">หลัง และความถี่ในการนำเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี</span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 6pt 0cm 10pt; text-indent: 2cm; line-height: normal; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>2<span lang=\"TH\">.</span> Subject Directories   <span lang=\"TH\">การจำแนกหมวดหมู่ข้อมูล</span> Search Engine <span lang=\"TH\">ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละ</span>Web Page <span lang=\"TH\">ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณา</span>Web Page <span lang=\"TH\">ซึ่งทำให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ</span> Search Engine <span lang=\"TH\">ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนำมาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือ</span>Web Page<span lang=\"TH\">ที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์</span> Search Engine <span lang=\"TH\">ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือ</span>Web Page<span lang=\"TH\">ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้</span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 6pt 0cm 10pt; text-indent: 2cm; line-height: normal; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>3<span lang=\"TH\">.</span> Metasearch Engines   <span lang=\"TH\">จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง</span> Search Engine <span lang=\"TH\">ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท</span> Natural Language (<span lang=\"TH\">ภาษาพูด</span>) <span lang=\"TH\">ดังนั้น หากจะใช้</span> Search Engine <span lang=\"TH\">แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย</span></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">2. ให้นักเรียนบอกเทคนิคในการค้นหาข้อมูล</span><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\', serif\"></span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><strong><span style=\"color: #3366ff\"><u>ตอบ</u></span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>1. <span lang=\"TH\">เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>          </span><span lang=\"TH\">ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>          </span><span lang=\"TH\">แบบ </span>Index <span lang=\"TH\">อย่างของ </span>sanook <span lang=\"TH\">เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่ม</span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span> </span><span>         </span><span lang=\"TH\">หาโดยใช้วิธีแบบ </span>Search Engine </strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>      </span>2. <span lang=\"TH\">ใช้คำมากกว่า </span>1 <span lang=\"TH\">คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น</span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>          </span>(<span lang=\"TH\">ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น </span>kanchanaburi+kemapat</strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>      </span>3. <span lang=\"TH\">ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>          </span>Search Engine <span lang=\"TH\">ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า</span></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>      </span>4. <span lang=\"TH\">ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ </span>Search Engine <span lang=\"TH\">ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำใน</span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>           </span><span lang=\"TH\">กลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น &quot;</span>kemapat school&quot; <span lang=\"TH\">เป็นต้น </span></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>      </span>5. <span lang=\"TH\">การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด </span>Search Engine <span lang=\"TH\">จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบ</span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>         </span><span lang=\"TH\">ไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่</span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>          </span><span lang=\"TH\">เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน </span></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>      </span>6. <span lang=\"TH\">ใช้ตัวเชื่อมทาง </span>Logic <span lang=\"TH\">หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ </span>3 <span lang=\"TH\">ตัวด้วยกันคือ </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>           </span>- AND <span lang=\"TH\">สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>                      </span>thailand and kanchanaburi <span lang=\"TH\">เป็นต้น </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>           </span>- OR <span lang=\"TH\">สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>           </span>- NOT <span lang=\"TH\">สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น </span>thailand and kanchanaburi not goft <span lang=\"TH\">หมายความว่า ให้ทำการหา</span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>                      </span><span lang=\"TH\">เว็บที่เกี่ยวข้องกับ </span>thailand <span lang=\"TH\">และ </span>kanchanaburi <span lang=\"TH\">แต่ต้องไม่มี </span>goft <span lang=\"TH\">เป็นต้น </span></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>      </span>7. <span lang=\"TH\">ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>                                                          </span><span>  </span>- (<span lang=\"TH\">ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>                                                            </span>() <span lang=\"TH\">ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (</span>pentium+computer)cpu </strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>      </span>8. <span lang=\"TH\">ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น </span>com* <span lang=\"TH\">เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า </span>com <span lang=\"TH\">ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ </span></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span>        </span><span>                           <span style=\"color: #ff66cc\">         </span></span><span style=\"color: #ff6699\">*tor <span lang=\"TH\">เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย </span>tor <span lang=\"TH\">ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ</span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"></span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\"> <span lang=\"TH\">3. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการค้นหา โดยใช้ </span>Web<span lang=\"TH\"> </span>Directory</span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\"><u>ตอบ</u></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\', serif\"></span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>Web Directory <span lang=\"TH\">หรือ</span> Blog Directory <span lang=\"TH\">คือ</span> <span lang=\"TH\">สารบัญเว็บไซต์ที่ให้คุณสามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล</span> <span lang=\"TH\">ด้วยหมวดหมู่ข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ในปริมาณมาก ๆ คล้าย ๆ</span> <span lang=\"TH\">กับสมุดหน้าเหลือง ซึ่งจะมีการสร้าง ดรรชนี มีการระบุหมวดหมู่ อย่างชัดเจน</span> <span lang=\"TH\">ซึ่งจะช่วยให้การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับการเปรียบเทียบอ้างอิง</span> <span lang=\"TH\">เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ ในขณะที่เราค้นหาข้อมูล เพราะว่าจะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ</span> Blog <span lang=\"TH\">มากมายที่มีเนื้อหาคล้าย</span> <span lang=\"TH\">ๆ กันในหมวดหมู่เดียวกัน ให้เราเลือกที่จะหาข้อมูลได้ อย่างตรงประเด็นที่สุด</span> (<span lang=\"TH\">ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา) ซึ่งจะยกตัวอย่างดังนี้</span> </strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>  ODP Web Directory <span lang=\"TH\">ชื่อดังของโลก</span> <span lang=\"TH\">ที่มี</span> Search Engine <span lang=\"TH\">มากมายใช้เป็นฐานข้อมูล</span> Directory</strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>  1. ODP <span lang=\"TH\">หรือ</span> Dmoz <span lang=\"TH\">ที่หลายๆ</span> <span lang=\"TH\">คนรู้จัก ซึ่งเป็น</span> Web Directory <span lang=\"TH\">ที่ใหญ่ที่สุดในโลก</span> Search Engine <span lang=\"TH\">หลาย</span> <span lang=\"TH\">ๆ แห่งก็ใช้ข้อมูลจากที่แห่งนี้เกือบทั้งสิ้น เช่น</span> Google, AOL, Yahoo, Netscape <span lang=\"TH\">และอื่น</span> <span lang=\"TH\">ๆ อีกมากมาย</span> ODP <span lang=\"TH\">มีการบันทึกข้อมูลประมาณ</span>80 <span lang=\"TH\">ภาษาทั่วโลก รวมถึงภาษาไทยเราด้วย (</span>URL : </strong></span><a href=\"http://www.dmoz.org/\" title=\"http://www.dmoz.org\"><u><span style=\"color: #ff6699; font-family: Angsana New\"><strong>http://www.dmoz.org</strong></span></u></a><span style=\"color: #ff6699\"><strong> )</strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>  2. <span lang=\"TH\">สารบัญเว็บไทย</span> SANOOK <span lang=\"TH\">ก็เป็น</span> Web Directory <span lang=\"TH\">ที่มีชื่อเสียงอีกเช่นกันและเป็นที่รู้จักมากที่สุดในเมืองไทย (</span>URL : </strong></span><a href=\"http://webindex.sanook.com/\" title=\"http://webindex.sanook.com\"><u><span style=\"color: #ff6699; font-family: Angsana New\"><strong>http://webindex.sanook.com</strong></span></u></a><span style=\"color: #ff6699\"><strong> )</strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong></strong></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>  3. Blog Directory <span lang=\"TH\">อย่าง</span> BlogFlux Directory <span lang=\"TH\">ที่มีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับบล็อกมากมายตามหมวดหมู่ต่าง</span> <span lang=\"TH\">ๆ หรือ</span> Blog Directory <span lang=\"TH\">อื่น</span> <span lang=\"TH\">ๆ ที่สามารถหาได้จาก</span>Make Many <span lang=\"TH\">แห่งนี้</span></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">4. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการค้นหา แบบทั่วไป</span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><u><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">ตอบ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\', serif\"></span></u></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span>การค้นหาแบบพื้นฐาน (Basic Search)</span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></span><span class=\"apple-style-span\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">เป็นการค้นหาสารสนเทศอย่างง่ายๆ ไม่ซับซ้อน โดยใช้คำโดดๆ หรือผสมเพียง</span></span><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"> </span></span><span class=\"apple-style-span\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\">1<span lang=\"TH\">คำ ในการสืบค้นข้อมูล โดยส่วนใหญ่การค้นหาแบบง่ายจะมีทางเลือกในการค้นหา ได้แก่</span></span></span></strong></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"><br />\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span class=\"apple-style-span\">             </span><span> 1.1 </span><span> ชื่อผู้แต่ง (Author)</span><span class=\"apple-style-span\"> <span lang=\"TH\">เป็นการค้นหาโดยใช้ชื่อของบุคคล กลุ่มบุคคล นามปากกา หรือชื่อหน่วยงาน/องค์กร ที่เป็นผู้แต่งหรือเขียนหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ ซึ่งมีหลักการค้นหาง่ายๆ ดังนี้</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                    </span><span> 1.1.1</span><span> ผู้แต่งคนไทย</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">เป็นการค้นหาชื่อบุคคล ตัวอย่างเช่น กุลธิดา</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ท้วมสุข</span> <span lang=\"TH\">ให้ตัดคำนำหน้าชื่อออก เช่น นาย นาง นางสาว หรือหากเป็นบุคคลที่มีบรรดาศักดิ์หรือฐานันดรศักดิ์ ให้ค้นด้วยชื่อ และต่อท้ายด้วยบรรดาศักดิ์หรือฐานันดรศักดิ์</span> <span lang=\"TH\">หากเป็นการค้นหาชื่อที่เป็น นามปากกา ฉายาหรือสมณศักดิ์ ให้ค้นหาตามนามปากกา ฉายา หรือสมณศักดิ์</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">             </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ยกตัวอย่างเช่น</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     -</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">นางกุลธิดา</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ท้วมสุข</span>  <span lang=\"TH\">ชื่อที่ใช้ค้น คือ</span>  <span lang=\"TH\">กุลธิดา</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ท้วมสุข</span>  (<span lang=\"TH\">ให้ตัดคำนำหน้าชื่อออก)</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     - <span lang=\"TH\">ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมท</span>   <span lang=\"TH\">ชื่อที่ใช้ค้น คือ</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">คึกฤทธิ์ ปราโมท</span>,</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ม.ร.ว.</span> </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\"> (<span lang=\"TH\">ให้เอาบรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์ มาต่อท้ายชื่อ)</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     -</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ร.ต.อ ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์</span>  </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ชื่อที่ใช้ค้น คือ</span>  <span lang=\"TH\">ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์</span></span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"> (<span lang=\"TH\">ให้ตัดยศหรือตำแหน่งออก)</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     -</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">พระยาอุปกิตติศิลปสาร</span>        </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ชื่อที่ใช้ค้น คือ</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">พระยาอุปกิตติศิลปสาร</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     - <span lang=\"TH\">ว.วชิรเมธี</span>           <span lang=\"TH\">ชื่อที่ใช้ค้น คือ</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ว.วชิรเมธี</span>    </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     -</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">พระครูวิมลคุณากร</span>     </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ชื่อที่ใช้ค้น คือ</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">พระครูวิมลคุณากร</span>               </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                    </span><span> 1.1.2</span><span> ผู้แต่งที่เป็นชาวต่างประเทศ</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ให้ค้นหาโดยใช้ ชื่อสกุล ตามด้วยชื่อกลางและชื่อต้น</span> </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">             </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ยกตัวอย่างเช่น</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     &quot;Judith G. Voet&quot;     </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ชื่อที่ใช้ค้น</span>     </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">คือ</span>    Voet, Judith G.</span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">           <span lang=\"TH\">หรือ</span>   Voet, Judith </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">           <span lang=\"TH\">หรือ</span>   Voet</span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                    </span><span> 1.1.3</span><span> ผู้แต่งที่เป็นหน่วยงาน/องค์กร</span><span class=\"apple-style-span\"> <span lang=\"TH\">ให้ค้นหาตามชื่อหน่วยงานหรือชื่อองค์กรนั้น เช่น การค้นหาชื่อหน่วยงานที่มีทั้งหน่วยงานใหญ่และหน่วยงานย่อย ให้ค้นหาโดยใช้ชื่อหน่วยงานใหญ่ก่อน แล้วตามด้วยชื่อหน่วยงานย่อย หากเป็นชื่อย่อ เมื่อค้นหาให้ใช้ชื่อเต็ม</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">             </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ยกตัวอย่างเช่น</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     -<span lang=\"TH\">สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชื่อที่ใช้ค้น คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สำนักวิทยบริการ</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     -</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ททท.</span> </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ชื่อที่ใช้ค้น คือ การท่องเที่ยวแห่ประเทศไทย</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">             </span><span> 1.2 </span><span> ชื่อเรื่อง (Title) </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">เป็นการค้นหาข้อมูล ด้วยชื่อเรื่อง เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ชื่อเรื่องสั้น นวนิยาย ชื่องานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ การค้นโดยใช้ชื่อเรื่องนี้ เป็นการค้นหาแบบเจาะจง ดังนั้นผู้ค้น ต้องรู้จักชื่อเรื่อง หลักการค้นหาด้วยชื่อเรื่องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ใช้หลักการเดียวกัน คือ ค้นหาตามชื่อนั้นๆ ได้เลย</span> <span lang=\"TH\">โดยระบบจะทำการค้นหาจากชื่อเรื่อง เริ่มจากอักษรตัวแรกและตัวถัดไปตามลำดับ</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">              </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ยกตัวอย่างเช่น</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     -</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">เพลงรักในสายลมหนาว</span>   (<span lang=\"TH\">ชอบดูมาก..ชึ้ง..แถมพระเอกหล๊อ..หล่อ)</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     -</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">อินเทอร์เน็ตสำหรับผู้เริ่มต้น</span>  (<span lang=\"TH\">เรื่องนี้ก็ชื่นชอบผู้แต่ง อ. ยืน ภู่วรวรรณ)</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">                     - Engineering Analysis  (<span lang=\"TH\">เรื่องนี้ไม่อ่าน เพราะเดี๋ยวเจ็บหัว)</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">             </span><span> 1.3 <span lang=\"TH\">หัวเรื่อง</span> (Subject Heading) </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">คือ คำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ</span></span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">             </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">หัวเรื่องที่ใช้ในการค้นหานั้น มาจากที่ไหนใครเป็นผู้กำหนดขึ้น</span>?</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">โดยปกติแล้วคำหรือวลีที่กำหนดให้เป็นหัวเรื่อง จะนำมาจากคู่มือหัวเรื่องที่ใช้กันเป็นมาตรฐานในห้องสมุดหรือหน่วยงานที่ให้บริการสารสนเทศ ทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ (โอย...เรื่องมันย๊าววว...ยาว...) ว่างๆ จะเล่าให้ฟังเกี่ยวกับหลักการให้หัวเรื่องต่อไป...เพื่อจะได้ค้นเก่งๆ</span>  </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">              <span lang=\"TH\">แต่ตอนนี้..เอาเป็นว่า ง่ายๆ สั้นๆ</span> <span lang=\"TH\">ให้นึกถึง หัวเรื่องใหญ่และเรื่องย่อยเอาไว้</span> <span lang=\"TH\">เช่น หัวเรื่องที่ต้องการค้นหา คือ คณิตศาสตร์ นี่คือหัวเรื่องใหญ่ ภายใต้หัวเรื่องใหญ่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ จะมีเรื่องย่อยๆ ซ่อนอยู่เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น</span> </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">             </span><span> 1.4 </span><span> คำสำคัญ (Keywords) </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">คือ</span> <span lang=\"TH\">การค้นหาด้วยคำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเรื่องที่ต้องการค้นหา โดยทั่วไปคำสำคัญจะมีลักษณะที่สั้น กะทัดรัด ได้ใจความ มีความหมาย เป็นคำนามหรือเป็นศัพท์เฉพาะในแต่ละสาขาวิชา</span></span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">             </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">จะกำหนดคำสำคัญอย่างไร</span>? <span lang=\"TH\">ง่ายๆ คือ กำหนดมาจากคำที่อยู่ในชื่อเรื่องและหัวเรื่องที่เราต้องการค้นหานั่นเอง</span> </span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">              <span lang=\"TH\">การค้นหาด้วยคำสำคัญนั้น</span> <span lang=\"TH\">ระบบจะทำการค้นหาคำที่ปรากฏอยู่ในชื่อเรื่อง ไม่ว่าจะอยู่ต้นเรื่อง กลางเรื่องหรือท้ายเรื่อง</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">              </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ยกตัวอย่าง</span> <span lang=\"TH\">การกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ค้นหา เช่น</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">              </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">รายงานการวิจัย</span> <span lang=\"TH\">เรื่อง</span> <span lang=\"TH\">การปรับปรุงคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิที่มีความสามารถในการทนแล้งโดยการใช้เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม</span></span><br />\n<span class=\"apple-style-span\">              </span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ผู้ค้น จะต้องดึงคำสำคัญที่อยู่ในชื่อเรื่องออกมา เพื่อใช้ค้นหา ซึ่งก็ไม่ยากหากดูข้อ</span></span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\">1.4</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">ประกอบ จากชื่อเรื่องดังกล่าว พบว่า มี</span></span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\">Keyword</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">หลักๆ อยู่</span></span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\">3</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">คำ</span> <span lang=\"TH\">ด้วยกัน คือ ข้าวหอมมะลิ</span>,</span><span class=\"apple-converted-space\"> </span><span class=\"apple-style-span\"><span lang=\"TH\">เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม นี่คือตัวอย่างง่ายๆ ของการกำหนดคำสำหรับใช้ค้นหา</span></span></strong></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\', serif\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #ff6699\"><strong> </strong></span></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 2.9pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"SV\">5</span><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\">. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการค้นหา แบบ </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\"><span style=\"color: #3366ff\">Metasearch</span>  </span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 2.9pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff6699\"><strong><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\', serif\"><u>ตอบ</u></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\', serif\" lang=\"TH\"></span></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 9pt\">\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6699\"><span><strong>Meta Search Engines(Parallel Search Engines, Mega Search<span class=\"apple-converted-space\"> </span>Engines, Multi-Threaded Search Engines)</strong></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 9pt\">\n<span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>   <span class=\"apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">มีมากมายหลายชื่อเช่นเดียวกับ </span>Search Engines <span lang=\"TH\">ทั่ว ๆ ไป เช่น </span>Dogpile, Inference Find <span lang=\"TH\">เป็นต้น ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุดหากสามารถใช้เครื่องมือประเภทนี้ค้นก่อนเป็นอันดับแรกช่วยประหยัดเวลาในการค้น เนื่องจากเครื่องมือชนิดนี้ทำหน้าที่เป็นตัวกลางที่ช่วยส่งคำถามต่อไปยัง</span>  Search Engines <span lang=\"TH\">ชื่อต่าง ๆ</span>  <span lang=\"TH\">ที่เป็นที่นิยมซึ่งรวบรวมไว้และส่งคำตอบกลับมาให้ แตกต่างจากการสืบค้นจากเครื่องมือช่วยค้นแต่ละชื่อหมายถึงค้นได้ทีละฐานข้อมูลซึ่งต้องใช้เวลามากและผลที่ได้ก็แตกต่างกันด้วย</span></strong></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 9pt\">\n<span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>   <span class=\"apple-converted-space\"> </span>Meta Search Engines <span lang=\"TH\">ไม่มีฐานข้อมูล </span>Web Page <span lang=\"TH\">เป็นของตนเอง แต่เป็นการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้มีกลไกช่วยค้นใน</span>  Search Engines <span lang=\"TH\">หรือ </span>Web Page <span lang=\"TH\">หลายชื่อในเวลาเดียวกัน (</span>Search multiple databases simutaneously via a single interface) <span lang=\"TH\">ฉะนั้นผลของการสืบค้นจะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่มาจากหลากหลาย</span>  Search Engines <span lang=\"TH\">ถือได้ว่าหากใช้  </span>Meta Search Engines <span lang=\"TH\">จะเป็นทางลัด (</span>Shortcut) <span lang=\"TH\">ช่วยให้เข้าถึงที่หมายเร็วขึ้น</span></strong></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 9pt\">\n<span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>   <span class=\"apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">คุณลักษณะ (</span>Features) <span lang=\"TH\">ที่สำคัญของ </span>Meta Search Engines <span lang=\"TH\">แต่ละชื่อซึ่งมีลักษณะคล้ายกัน คือ มีความเร็วในการสืบค้นเพราะการส่งคำถามไปแต่ละ </span>Search Engines <span lang=\"TH\">ให้ทำการค้นหาพร้อมกันในเวลาเดียวกัน และมีโปรเซสเซอร์ความเร็วสูงช่วยส่งผลข้อมูลกลับมาหน้าจอโดยรวดเร็วอีกทั้งใช้หลาย ๆ </span>Search Engines <span lang=\"TH\">ที่เป็นทีนิยมเป็นฐานข้อมูลในการค้น</span></strong></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 9pt\">\n<span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6699\"><strong>   <span class=\"apple-converted-space\"> </span><span lang=\"TH\">ส่วนคุณลักษณะที่แตกต่างของ </span>Meta Search Engines <span lang=\"TH\">ชื่อต่าง ๆ คือ การจัดเรียงผลของการสืบค้นจะแตกต่างกันไป ความสามารถในการลบทิ้งของข้อมูลที่ซ้ำกัน</span>  <span lang=\"TH\">ความสามารถในการสืบค้นแบบซับซ้อน เช่น</span>  <span lang=\"TH\">การค้นด้วยกลุ่มคำ วลี</span>  <span lang=\"TH\">การค้นด้วย </span>Boolean logic (and, or, not) <span lang=\"TH\">การใช้</span>  truncation  <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span></strong></span></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1726713763, expire = 1726800163, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:01b2ec7b0fd1ace58a3fe29ba9ad66a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ใบงานที่ 6 :)*

รูปภาพของ blm18461p

ใบงานที่ 6  

1. ให้นักเรียนบอกความหมายและประเภทของการค้นหา

ตอบ 

การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจะต้องใช้เว็บไซต์สำหรับการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า Search Engine Site ซึ่งจะทำหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน คำหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่กำหนด คลิกปุ่มค้นหา (หรือกดปุ่ม Enter) เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อ ๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที

ประเภท Search Engine

1. Keyword Index   เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในWeb Pageที่ได้ผ่านการสำรวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ ๒๐๐-๓๐๐ ตัวอักษรแรกของWeb Pageนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคำสั่ง Alt  ซึ่งเป็นคำสั่งภายใน TAG คำสั่งของรูปภาพ แต่จะไม่นำคำสั่งของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และคำสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา วิธีการค้นหาของ Search Engine ประเภทนี้จะให้ความสำคัญกับการเรียงลำดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการนำเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดยวิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้คำนึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่าต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ได้ผลดี

2. Subject Directories   การจำแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละWeb Page ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณาWeb Page ซึ่งทำให้การจัดหมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนำมาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือWeb Pageที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือWeb Pageที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้

3. Metasearch Engines   จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถเชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสำคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคำประเภท Natural Language (ภาษาพูดดังนั้น หากจะใช้ Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย

 

2. ให้นักเรียนบอกเทคนิคในการค้นหาข้อมูล 

ตอบ

1. เลือกรูปแบบการค้นหาให้ตรงกับสิ่งที่คุณต้องการมากที่สุด ส่วนจะเลือกใช้วิธีไหนก็ตามแต่คุณจะเห็นว่า เหมาะสม

          ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการจะค้นหาข้อมูลที่มีลักษณะทั่วไป ไม่ชี้ เฉพาะเจาะจง ก็ควรเลือกบริการสืบค้นข้อมูล

          แบบ Index อย่างของ sanook เพราะ โอกาสที่จะเจอนั้น เปอร์เซ็นต์สูงกว่าจะมานั่งสุ่ม

          หาโดยใช้วิธีแบบ Search Engine

 

      2. ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาด แคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น

          (ย่อมจะดีกว่าหาคำเดียวโดดๆ) เช่น kanchanaburi+kemapat

 

      3. ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของ ภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้

          Search Engine ที่ให้บริการใหล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้น่าจะเป็นที่น่าพอใจกว่า

 

      4. ใส่เครื่องหมายคำพูดครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเรา ต้องการผลการค้นหาที่มีคำใน

           กลุ่มนั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น "kemapat school" เป็นต้น

 

      5. การขึ้นต้นของตัวอักษรตัวเล็กเท่ากันหมด Search Engine จะเข้าใจว่าเราต้องการ ให้มันค้นหาคำดังกล่าวแบบ

         ไม่ต้องสนใจว่าตัวอักษรที่ได้จะมีขนาดเล็กหรือใหญ่ ดังนั้นหากคุณต้องการอยากที่จะให้มันค้นหาคำตรงตามแบบที่

          เขียนไว้ก็ให้ใช้ตัว อักษรใหญ่แทน

 

      6. ใช้ตัวเชื่อมทาง Logic หรือตรรกศาสตร์เข้ามาช่วยค้นหา มีอยู่ 3 ตัวด้วยกันคือ

           - AND สั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆ มาแสดงด้วยเท่านั้น! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น

                      thailand and kanchanaburi เป็นต้น

           - OR สั่งให้หาโดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปมาแสดง

           - NOT สั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น thailand and kanchanaburi not goft หมายความว่า ให้ทำการหา

                      เว็บที่เกี่ยวข้องกับ thailand และ kanchanaburi แต่ต้องไม่มี goft เป็นต้น

 

      7. ใช้เครื่องหมายบวกลบคัดเลือกคำ + หน้าคำที่ต้องการจริงๆ

                                                            - (ลบ)ใช้นำหน้าคำที่ไม่ต้องการ

                                                            () ช่วยแยกกลุ่มคำ เช่น (pentium+computer)cpu

 

      8. ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ

                                            *tor เป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ

 3. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการค้นหา โดยใช้ Web Directory

ตอบ

Web Directory หรือ Blog Directory คือ สารบัญเว็บไซต์ที่ให้คุณสามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวดหมู่ข่าวสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ในปริมาณมาก ๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลือง ซึ่งจะมีการสร้าง ดรรชนี มีการระบุหมวดหมู่ อย่างชัดเจน ซึ่งจะช่วยให้การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับการเปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ ในขณะที่เราค้นหาข้อมูล เพราะว่าจะมีเว็บไซต์มากมาย หรือ Blog มากมายที่มีเนื้อหาคล้าย ๆ กันในหมวดหมู่เดียวกัน ให้เราเลือกที่จะหาข้อมูลได้ อย่างตรงประเด็นที่สุด (ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา) ซึ่งจะยกตัวอย่างดังนี้ 

  ODP Web Directory ชื่อดังของโลก ที่มี Search Engine มากมายใช้เป็นฐานข้อมูล Directory

  1. ODP หรือ Dmoz ที่หลายๆ คนรู้จัก ซึ่งเป็น Web Directory ที่ใหญ่ที่สุดในโลก Search Engine หลาย ๆ แห่งก็ใช้ข้อมูลจากที่แห่งนี้เกือบทั้งสิ้น เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และอื่น ๆ อีกมากมาย ODP มีการบันทึกข้อมูลประมาณ80 ภาษาทั่วโลก รวมถึงภาษาไทยเราด้วย (URL : http://www.dmoz.org )

  2. สารบัญเว็บไทย SANOOK ก็เป็น Web Directory ที่มีชื่อเสียงอีกเช่นกันและเป็นที่รู้จักมากที่สุดในเมืองไทย (URL : http://webindex.sanook.com )

  3. Blog Directory อย่าง BlogFlux Directory ที่มีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับบล็อกมากมายตามหมวดหมู่ต่าง ๆ หรือ Blog Directory อื่น ๆ ที่สามารถหาได้จากMake Many แห่งนี้

 

4. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการค้นหา แบบทั่วไป

ตอบ

การค้นหาแบบพื้นฐาน (Basic Search) เป็นการค้นหาสารสนเทศอย่างง่ายๆ ไม่ซับซ้อน โดยใช้คำโดดๆ หรือผสมเพียง 1คำ ในการสืบค้นข้อมูล โดยส่วนใหญ่การค้นหาแบบง่ายจะมีทางเลือกในการค้นหา ได้แก่
              1.1  ชื่อผู้แต่ง (Author) เป็นการค้นหาโดยใช้ชื่อของบุคคล กลุ่มบุคคล นามปากกา หรือชื่อหน่วยงาน/องค์กร ที่เป็นผู้แต่งหรือเขียนหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ ซึ่งมีหลักการค้นหาง่ายๆ ดังนี้
                     1.1.1 ผู้แต่งคนไทย เป็นการค้นหาชื่อบุคคล ตัวอย่างเช่น กุลธิดา  ท้วมสุข ให้ตัดคำนำหน้าชื่อออก เช่น นาย นาง นางสาว หรือหากเป็นบุคคลที่มีบรรดาศักดิ์หรือฐานันดรศักดิ์ ให้ค้นด้วยชื่อ และต่อท้ายด้วยบรรดาศักดิ์หรือฐานันดรศักดิ์ หากเป็นการค้นหาชื่อที่เป็น นามปากกา ฉายาหรือสมณศักดิ์ ให้ค้นหาตามนามปากกา ฉายา หรือสมณศักดิ์
              ยกตัวอย่างเช่น
                     - นางกุลธิดา  ท้วมสุข  ชื่อที่ใช้ค้น คือ  กุลธิดา  ท้วมสุข  (ให้ตัดคำนำหน้าชื่อออก)
                     - ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมท   ชื่อที่ใช้ค้น คือ  คึกฤทธิ์ ปราโมท, ม.ร.ว. 
 (ให้เอาบรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์ มาต่อท้ายชื่อ)
                     - ร.ต.อ ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์   ชื่อที่ใช้ค้น คือ  ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์  (ให้ตัดยศหรือตำแหน่งออก)
                     - พระยาอุปกิตติศิลปสาร         ชื่อที่ใช้ค้น คือ  พระยาอุปกิตติศิลปสาร  
                     - ว.วชิรเมธี           ชื่อที่ใช้ค้น คือ  ว.วชิรเมธี    
                     - พระครูวิมลคุณากร      ชื่อที่ใช้ค้น คือ  พระครูวิมลคุณากร               
                     1.1.2 ผู้แต่งที่เป็นชาวต่างประเทศ ให้ค้นหาโดยใช้ ชื่อสกุล ตามด้วยชื่อกลางและชื่อต้น 
              ยกตัวอย่างเช่น
                     "Judith G. Voet"      ชื่อที่ใช้ค้น      คือ    Voet, Judith G.
           หรือ   Voet, Judith 
           หรือ   Voet
                     1.1.3 ผู้แต่งที่เป็นหน่วยงาน/องค์กร ให้ค้นหาตามชื่อหน่วยงานหรือชื่อองค์กรนั้น เช่น การค้นหาชื่อหน่วยงานที่มีทั้งหน่วยงานใหญ่และหน่วยงานย่อย ให้ค้นหาโดยใช้ชื่อหน่วยงานใหญ่ก่อน แล้วตามด้วยชื่อหน่วยงานย่อย หากเป็นชื่อย่อ เมื่อค้นหาให้ใช้ชื่อเต็ม
              ยกตัวอย่างเช่น
                     -สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชื่อที่ใช้ค้น คือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สำนักวิทยบริการ
                     - ททท.  ชื่อที่ใช้ค้น คือ การท่องเที่ยวแห่ประเทศไทย
              1.2  ชื่อเรื่อง (Title) เป็นการค้นหาข้อมูล ด้วยชื่อเรื่อง เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ชื่อเรื่องสั้น นวนิยาย ชื่องานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ การค้นโดยใช้ชื่อเรื่องนี้ เป็นการค้นหาแบบเจาะจง ดังนั้นผู้ค้น ต้องรู้จักชื่อเรื่อง หลักการค้นหาด้วยชื่อเรื่องทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ใช้หลักการเดียวกัน คือ ค้นหาตามชื่อนั้นๆ ได้เลย โดยระบบจะทำการค้นหาจากชื่อเรื่อง เริ่มจากอักษรตัวแรกและตัวถัดไปตามลำดับ
               ยกตัวอย่างเช่น
                     - เพลงรักในสายลมหนาว   (ชอบดูมาก..ชึ้ง..แถมพระเอกหล๊อ..หล่อ)
                     - อินเทอร์เน็ตสำหรับผู้เริ่มต้น  (เรื่องนี้ก็ชื่นชอบผู้แต่ง อ. ยืน ภู่วรวรรณ)
                     - Engineering Analysis  (เรื่องนี้ไม่อ่าน เพราะเดี๋ยวเจ็บหัว)
              1.3 หัวเรื่อง (Subject Heading) คือ คำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ บทความ งานวิจัย วิทยานิพนธ์หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ 
              หัวเรื่องที่ใช้ในการค้นหานั้น มาจากที่ไหนใครเป็นผู้กำหนดขึ้น? โดยปกติแล้วคำหรือวลีที่กำหนดให้เป็นหัวเรื่อง จะนำมาจากคู่มือหัวเรื่องที่ใช้กันเป็นมาตรฐานในห้องสมุดหรือหน่วยงานที่ให้บริการสารสนเทศ ทั้งในประเทศไทยและในต่างประเทศ (โอย...เรื่องมันย๊าววว...ยาว...) ว่างๆ จะเล่าให้ฟังเกี่ยวกับหลักการให้หัวเรื่องต่อไป...เพื่อจะได้ค้นเก่งๆ  
              แต่ตอนนี้..เอาเป็นว่า ง่ายๆ สั้นๆ ให้นึกถึง หัวเรื่องใหญ่และเรื่องย่อยเอาไว้ เช่น หัวเรื่องที่ต้องการค้นหา คือ คณิตศาสตร์ นี่คือหัวเรื่องใหญ่ ภายใต้หัวเรื่องใหญ่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ จะมีเรื่องย่อยๆ ซ่อนอยู่เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น 
              1.4  คำสำคัญ (Keywords) คือ การค้นหาด้วยคำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเรื่องที่ต้องการค้นหา โดยทั่วไปคำสำคัญจะมีลักษณะที่สั้น กะทัดรัด ได้ใจความ มีความหมาย เป็นคำนามหรือเป็นศัพท์เฉพาะในแต่ละสาขาวิชา 
              จะกำหนดคำสำคัญอย่างไรง่ายๆ คือ กำหนดมาจากคำที่อยู่ในชื่อเรื่องและหัวเรื่องที่เราต้องการค้นหานั่นเอง 
              การค้นหาด้วยคำสำคัญนั้น ระบบจะทำการค้นหาคำที่ปรากฏอยู่ในชื่อเรื่อง ไม่ว่าจะอยู่ต้นเรื่อง กลางเรื่องหรือท้ายเรื่อง
               ยกตัวอย่าง การกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ค้นหา เช่น
               รายงานการวิจัย เรื่อง การปรับปรุงคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิที่มีความสามารถในการทนแล้งโดยการใช้เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม
               ผู้ค้น จะต้องดึงคำสำคัญที่อยู่ในชื่อเรื่องออกมา เพื่อใช้ค้นหา ซึ่งก็ไม่ยากหากดูข้อ 1.4 ประกอบ จากชื่อเรื่องดังกล่าว พบว่า มี Keyword หลักๆ อยู่ 3 คำ ด้วยกัน คือ ข้าวหอมมะลิ, เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม นี่คือตัวอย่างง่ายๆ ของการกำหนดคำสำหรับใช้ค้นหา

 

5. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการค้นหา แบบ Metasearch  

ตอบ

Meta Search Engines(Parallel Search Engines, Mega Search Engines, Multi-Threaded Search Engines)

    มีมากมายหลายชื่อเช่นเดียวกับ Search Engines ทั่ว ๆ ไป เช่น Dogpile, Inference Find เป็นต้น ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุดหากสามารถใช้เครื่องมือประเภทนี้ค้นก่อนเป็นอันดับแรกช่วยประหยัดเวลาในการค้น เนื่องจากเครื่องมือชนิดนี้ทำหน้าที่เป็นตัวกลางที่ช่วยส่งคำถามต่อไปยัง  Search Engines ชื่อต่าง ๆ  ที่เป็นที่นิยมซึ่งรวบรวมไว้และส่งคำตอบกลับมาให้ แตกต่างจากการสืบค้นจากเครื่องมือช่วยค้นแต่ละชื่อหมายถึงค้นได้ทีละฐานข้อมูลซึ่งต้องใช้เวลามากและผลที่ได้ก็แตกต่างกันด้วย

    Meta Search Engines ไม่มีฐานข้อมูล Web Page เป็นของตนเอง แต่เป็นการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้มีกลไกช่วยค้นใน  Search Engines หรือ Web Page หลายชื่อในเวลาเดียวกัน (Search multiple databases simutaneously via a single interface) ฉะนั้นผลของการสืบค้นจะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่มาจากหลากหลาย  Search Engines ถือได้ว่าหากใช้  Meta Search Engines จะเป็นทางลัด (Shortcut) ช่วยให้เข้าถึงที่หมายเร็วขึ้น

    คุณลักษณะ (Features) ที่สำคัญของ Meta Search Engines แต่ละชื่อซึ่งมีลักษณะคล้ายกัน คือ มีความเร็วในการสืบค้นเพราะการส่งคำถามไปแต่ละ Search Engines ให้ทำการค้นหาพร้อมกันในเวลาเดียวกัน และมีโปรเซสเซอร์ความเร็วสูงช่วยส่งผลข้อมูลกลับมาหน้าจอโดยรวดเร็วอีกทั้งใช้หลาย ๆ Search Engines ที่เป็นทีนิยมเป็นฐานข้อมูลในการค้น

    ส่วนคุณลักษณะที่แตกต่างของ Meta Search Engines ชื่อต่าง ๆ คือ การจัดเรียงผลของการสืบค้นจะแตกต่างกันไป ความสามารถในการลบทิ้งของข้อมูลที่ซ้ำกัน  ความสามารถในการสืบค้นแบบซับซ้อน เช่น  การค้นด้วยกลุ่มคำ วลี  การค้นด้วย Boolean logic (and, or, not) การใช้  truncation  เป็นต้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 471 คน กำลังออนไลน์