• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f784439a74c0d54ace55c0fceb4a3284' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"right\">\n<strong><a href=\"/node/71310\">Home</a>  <a href=\"/node/76547\"> Introduce</a> <a href=\"/node/74454\"> 5  Kingdom</a>   <a href=\"/node/75027\">Reference</a>   <a href=\"/node/75026\">Who  Am  I ?</a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"122\" width=\"600\" src=\"/files/u31940/PlCorda2.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<strong>          สัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตาเรียกว่าพวกคอร์เดต (Chordate) มีความสำคัญที่สุดและมีวิวัฒนาการสูงสุด มีการปรับตัวทั้งโครงสร้างภายนอก โครงสร้างทางกายวิภาค สรีรวิทยา พฤติกรรมมากกว่าสัตว์กลุ่มอื่นๆ สำหรับการกำเนิดของคอร์เดตนั้นยังไม่มีใครระบุได้แน่ชัด แต่เชื่อกันว่าคอร์เดตน่าจะวิวัฒนาการมาจากพวกเอไคโนเดิร์ม เนื่องจากการเจริญของตัวอ่อนของสัตว์กลุ่มนี้มีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ชัดเจน </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\">          <strong><span style=\"color: #3366ff\">ลักษณะร่วมกันของไฟลัมเอไคโนเดิร์มและไฟลัมคอร์ดาตา </span>มีดังนี้ <br />\n-  <span style=\"color: #00ccff\">มีโนโตคอร์ด</span> ซึ่งเป็นแกนค้ำจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิตหรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด <br />\n-  <span style=\"color: #00ccff\">มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง</span> (dorsal hollow nerve tube) เหนือทางเดินอาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง <br />\n-  <span style=\"color: #00ccff\">มีช่องเหงือก</span> (Grill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูงเช่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จะมีช่องเหงือกจอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น <br />\n-  <span style=\"color: #00ccff\">มีหาง</span>เป็นส่วนที่อยู่ถัดจากทวารหนัก อาจมีตลอดชีวิตหรือมีเฉพาะระยะเอมบริโอ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #47361e\"><strong>                  <span style=\"color: #9b3091\">สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) มีซับไฟลัมเดียว </span>คือ<br />\n         <span style=\"color: #c1749b\">ซับไฟลัมเวอร์เทบราตา</span> (Subphylum Vertebrata) ได้แก่สัตว์มีกระดูกสันหลังทั่วไป มีลักษณะต่างๆที่เพิ่มขึ้นจากพวกโพรโทคอร์เดตคือ มีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งเป็นข้อๆ ทำหน้าที่เป็นแกนของร่างกายแทนโนโตคอร์ด แต่บางชนิดยังมีโนโตคอร์ตอยู่  มีรยางค์เป็นคู่ๆ โดยทั่วไปแล้วมี 2 คู่ บางชนิดอาจไม่มีหรือมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง <br />\nมีหัวใจอยู่ทางด้านท้อง(ด้านหน้า) และมีอย่างน้อย 2 ห้อง ภายในเลือดมีเม็ดเลือดแดงที่มีเฮโมลโกลบินเป็นองค์ประกอบ <br />\nร่างกายแบ่งออกเป็นส่วนหัวและมักมีส่วนของคอด้วยกับส่วนลำตัว </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><strong>                <span style=\"color: #c1749b\"> </span><span style=\"color: #993366\">สัตว์ในซับไฟลัมเวอร์เทบราตา แบ่งออกเป็น 2 ซูเปอร์คลาส</span>  คือ <br />\n     --&gt; <span style=\"color: #b36b9d\">ซูเปอร์คลาสพิเซค</span> (Superclass Pisec) ได้แก่พวกปลาทั้งหลาย แบ่งได้เป็น 3 คลาสคือ </strong></span><span style=\"color: #47361e\"><br />\n<strong>                :) <span style=\"color: #ff99cc\">คลาสไซโตมาตา</span> (Class cyclotomata) ได้แก่ปลาปากกลม (Cyclotome) ที่รู้จักและพบกันอยู่ในปัจจุบัน คือ แลมเพรย์ (lamprey) และแฮกฟิส (Hagfish) รูปร่างคล้ายปลาไหล อาศัยอยู่ในทะเล มีกระดูกอ่อนและโนโตคอร์ดตอลดชีวิต ไม่มีกระดูกแข็ง ไม่มีขากรรไกร ไม่มีรยางค์เป็นคู่ ดำรชีวิตแบบเป็นปรสิตภายนอกของสัตว์น้ำขนาดใหญ่อื่นๆ ไม่พบในประเทศไทย โดยมากพบในยุโรปและอเมริกา <br />\n                :) <span style=\"color: #ff99cc\">คลาสคอนดริคไทอิส</span> (Class Chondricthyes) ได้แก่ ปลากระดูกอ่อนพวกปลาฉลาม ปลากระเบน ปลาฉนาก มีลักษณะสำคัญคือ กระดูกเป็นกระดูกอ่อนตลอดชีวิต มีขากรรไกร มีรยางค์ มีปากที่มีฟันอยู่ทางด้านล่าง ช่องเหงือกอยู่ทางด้านข้างหรือด้านล่าง มองเห็นได้ชันเจน มีลำไส้เวียน (Spiral valve) ช่วยถ่วงเวลาของอาหารให้อยู่ในลำไส้นานยิ่งขึ้น เพราะลำไส้สั้น ไม่มีกระเพาะลม เกล็ดแข็งแหลมคม ลูบดูจะสากมือ ปฏิสนธิภายในตัว ออกลูกเป็นตัวหรือไข่ <br />\n                :) <span style=\"color: #ff99cc\">คลาสออสติอิคไทอิส</span> (Class Osteichyes) ได้แก่พวกปลากระดูกแข็งทั้งหลาย เช่น ปลาทู ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาช่อน ม้าน้ำ ลักษณะสำคัญคือมีกระดูกแข็ง มีแผ่นปิดเหงือก (Operculum) ทำให้มองไม่เห็นเหงือก เกล็ดเรียงซ้อนกัน มีถุงลมช่วยในการลอยตัว บางชนิดใช้เป็นอวัยวะหายใจ เช่น ปลามีปอด ปากอยู่ด้านหน้าสุด และมีการปฏิสนธิภายนอกตัว ออกลูกเป็นไข่  ปลาโดยทั่วไปอาศัยอยู่ในน้ำแต่มีปลาบางชนิดพยายามที่จะมาอาศัยอยู่บนบกเช่นปลาตีน อาศัยอยู่บนบกได้ครั้งละนานๆ เนื่องจากมันมีเหงือกที่อุ้มน้ำได้ดี ทำให้เลือดได้รับก๊าซออกซิเจนอย่างเพียงพอ ปลามีปอด ในแอฟริกา ออสเตรเลีย และอเมริกา พวกนี้มีช่องเปิดใกล้ๆกับช่องปากและมีถุงลม ทำหน้าที่ได้เหมือนปอดในฤดูแล้ง <br />\n          <span style=\"color: #ff0000\">***</span> ปลามีประโยชน์ในแง่ของการเป็นอาหาร และเพื่อความสวยงาม แต่ปลาหลายๆชนิดก็เป็นอันตราย เช่นปลาฉลาม เป็นอันตรายต่อนักทัศนาจรและชาวประมง และปักเป้าทะเลเนื้อมีพิษ เมื่อกินเข้าไปทำให้เกิดอาหารเมาถึงตายได้ นอกจากนี้ยังมีปลาไหลไฟฟ้าและปลากระเบนไฟฟ้า สามารถปล่อยกระเสไฟฟ้าทำให้สัตว์อื่นบริเวณนั้นได้รับอันตรายได้ <span style=\"color: #ff0000\">***</span><br />\n</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong><span style=\"color: #47361e\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"125\" width=\"500\" src=\"/files/u31940/chordata-fish.jpg\" border=\"0\" /> </strong>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #47361e\"><a href=\"/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html\"><span style=\"color: #00ffff\"><strong>http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html</strong></span></a><strong> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><strong>          --&gt; <span style=\"color: #b36b9d\">ซูเปอร์คลาสเททระโพดา</span> (Superclass Tetrapoda)  พวกนี้มีรยางค์ 2 คู่ บางชนิดอาจไม่มีแต่อาจมีร่องรอยบางอย่างเหลืออยู่ ซึ่งแสดงว่าเคยมีรยางค์ด้วย หัวใจมี 3 หรือ 4 ห้อง ตามปกติหายใจด้วยปอดแต่บางชนิดอาจใช้ผิวหนังช่วยในการหายใจได้บ้าง </strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #47361e\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"125\" width=\"500\" src=\"/files/u31940/chordata-frog.jpg\" border=\"0\" /> </strong>\n</div>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html\"><span style=\"color: #00ffff\"><strong>http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html</strong></span></a><strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #47361e\">        <span style=\"color: #99cc00\">คลาสแอมฟิเบีย</span> (Class Amphibia) ได้แก่พวกสัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก ทั้งนี้เพราะมันอาศัยอยู่ทั้งบนบกและในน้ำ เช่น กบ เขียด ปาด อึ่งอ่าง คางคก ซาลามานเดอร์ งูดิน ลักษณะเฉพาะของสัตว์คลาสนี้คือมีผิวลำตัวชุ่มชื้น ไม่มีเกล็ด ปฏิสนธินอกตัว ออกไข่ในน้ำ ตัวอ่อนอยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก ตัวเต็มวัยหายใจด้วยปอดและผิวหนัง หัวใจ 3 ห้อง ประกอบด้วย ห้องรับเลือด (Atrium) 2ห้อง และห้องส่งเลือด (Ventricle) 1ห้อง เม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียสและเป็นสัตว์เลือดเย็น (Poikilothermous animal) วงจรชีวิตของสัตว์กลุ่มนี้ (กบ) มีการผสมพันธุ์และวางไข่ในน้ำ (ตามปกติตอนฤดูฝน) ไข่ไม่มีเปลือกแต่มีวุ้นหุ้มโดยรอบ เมื่อไข่ฟักตัวได้ตัวอ่อนเรียกว่าลูกอ๊อด เมื่อตัวอ่อนโตขึ้นเกิดมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ส่วนพวกงูดินและซาลามานเดอร์ถึงแม้จะมีรูปร่างคล้ายสัตว์เลื้อคลานแต่มีลักษณะ เฉพาะทั่วไปเป็นครึ่งน้ำครึ่งบก จึงจัดไว้ในคลาสนี้ <br />\n<span style=\"color: #ff0000\">  ***</span> สัตว์ในคลาสนี้มีประโยชน์ต่อมนุษย์เนื่องจากเป็นอาหารได้ และยังช่วยในการกำจัดแมลงที่เป็นศัตรูพืช </span><span style=\"color: #ff0000\">***</span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #47361e\"><img height=\"125\" width=\"500\" src=\"/files/u31940/chordata-uggg.jpg\" border=\"0\" /></span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html\"><span style=\"color: #00ffff\"><strong>http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html</strong></span></a><strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #47361e\">          <span style=\"color: #ff9900\">คลาสเรปทิเลีย</span> (Class Reptilia) ได้แก่พวกสัตว์เลื้อยคลาน เช่น เต่า ตะพาบน้ำ จิ้งจก กิ้งก่า ตะกวด ตัวเงินตัวทอง งู จระเข้ ลักษณะเฉพาะของสัตว์ในคลาสนี้คือผิวหนังมีเหล็ดแห้ง หายใจด้วยปอดตลอดชีวิต หัวใจมี 3 ห้อง ประกอบด้วยห้องรับเลือด 2 ห้อง และห้องส่งเลือด 1 ห้อง เม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียส ผสมพันธุ์ภายในตัว วางไข่บนบก ไข่มีขนาดใหญ่ <br />\n <span style=\"color: #ff0000\">***</span> สัตว์เลื้อยคลานมีประโยชน์คือเป็นอาหารได้บ้าง แต่มีโทษเช่น จระเข้ดุร้าย ทำอันตรายสัตว์อื่น งูหลายชนิดมีพิษร้ายแรง </span><span style=\"color: #ff0000\">***</span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"125\" width=\"500\" src=\"/files/u31940/chordata-bird.jpg\" border=\"0\" /> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html\"><span style=\"color: #00ffff\"><strong>http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html</strong></span></a><strong> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #47361e\">          <span style=\"color: #3366ff\">คลาสเอวีส</span> (Class Aves) ได้แก่พวกสัตว์ปีก เช่น นก เป็ด ไก่ ห่าน หงส์ ลักษณะเฉพาะคือ ผิวลำตัวปกคลุมด้วยขนซึ่งมีลักษณะเป็นแผง (Feather) หายใจด้วยปอด หัวใจมี4ห้อง เป็นสัตว์เลือดอุ่น (Homeothermous animal) อุณหภูมิของร่างกายไม่เปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อม มีจงอยปาก มีการผสมภายในตัวออกลูกเป็นไข่ นกมีถุงลมติดต่อกับปอดเพื่อช่วยในการหายใจและระบายความร้อน</span> </strong>\n</p>\n<p><span style=\"color: #47361e\"></span><span style=\"color: #47361e\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"125\" width=\"500\" src=\"/files/u31940/chordata-finally.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #47361e\"></span><a href=\"/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html\"><span style=\"color: #00ffff\"><strong>http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html</strong></span></a><strong> <o:p></o:p></strong><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><strong><span style=\"color: #4e3a21\"><span style=\"color: #800080\">         คลาสแมมมาเลีย</span> (Class Mammalia) ได้แก่พวกสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม เช่น จิงโจ้ แมว สุนัข ช้าง ม้า วัว ควาย วาฬ โลมา มนุษย์ <br />\nลักษณะสำคัญประจำคลาสคือ มีต่อมน้ำนมสร้างน้ำนมเลี้ยงลูกอ่อน ผิวหนังมีขนที่มีลักษณะเป็นเส้น (Hair) ปกคลุม หัวใจ4ห้อง เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียส เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีกระบังลมกั้นระหว่างช่องอกและช่องท้อง ช่วยในการหายใจ หายใจด้วยปอด </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><strong><span style=\"color: #4e3a21\">แบ่งเป็น 2 ซับคลาสคือ</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\">   ---&gt;  </span><strong><span style=\"color: #4e3a21\"><span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #cc99ff\">ซับคลาสโพรโทเทเรีย</span> (Subclass Prototheria) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่ออกลูกเป็นไข่ ไม่มีมดลูก ไม่มีหัวนม ได้แก่ตุ่นปากเป็ด (Platypus) ต่อมน้ำนมไม่ค่อยเจริญมีการรวมกันของท่อน้ำนมเป็นกลุ่มบริเวณหน้าท้อง ลูกที่ฟักออกจากไข่จะเลียน้ำนมบริเวณหน้าท้องกิน <br />\n   ---&gt;  <span style=\"color: #cc99ff\">ซับคลาสเทเรีย</span> (Subclass Theria) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ออกลูกเป็นตัว แบ่งได้เป็นสองพวกคือ <br />\n            :] <em>เมทาเทเรีย</em>  (Metatheria) ได้แก่ จิงโจ้ โอพอสซัม มีต่อมน้ำนมและหัวนม มีถุงหน้าท้องสำหรับเลี้ยงลูกอ่อนในระยะหนึ่ง <br />\n            :] <em>ยูเทเรีย</em> (Eutheria) พวกนี้มีรกเป็นทางติดต่อระหว่างแม่กับลูกที่อยู่ในมดลูก จึงมักเรียว่าสัตว์มีรก ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทั่วไป เช่น แมว วัว ค้างคาว กวาง เสือ สุนัข ลิง คน <br />\n</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #4e3a21\"><span style=\"color: #47361e\"></span></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"475\" width=\"376\" src=\"/files/u31940/breeds.jpg\" border=\"0\" />   <img height=\"90\" width=\"90\" src=\"/files/u31940/F-JuR15.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://bioweb.uwlax.edu/bio203/s2009/nyberg_mich/breeds.jpg\"><span style=\"color: #00ffff\">http://bioweb.uwlax.edu/bio203/s2009/nyberg_mich/breeds.jpg</span></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\">ที่มาของข้อมูล </span></strong><a href=\"/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html\"><span style=\"color: #4e3a21\"><strong><span style=\"color: #800000\">http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre\'er_style/5Chordata.html</span></strong></span></a><span style=\"color: #47361e\"> </span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726776642, expire = 1726863042, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f784439a74c0d54ace55c0fceb4a3284' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Say Hi!!! "Phylum Chordada"

รูปภาพของ sss27795

Home   Introduce  5  Kingdom   Reference   Who  Am  I ?

          สัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตาเรียกว่าพวกคอร์เดต (Chordate) มีความสำคัญที่สุดและมีวิวัฒนาการสูงสุด มีการปรับตัวทั้งโครงสร้างภายนอก โครงสร้างทางกายวิภาค สรีรวิทยา พฤติกรรมมากกว่าสัตว์กลุ่มอื่นๆ สำหรับการกำเนิดของคอร์เดตนั้นยังไม่มีใครระบุได้แน่ชัด แต่เชื่อกันว่าคอร์เดตน่าจะวิวัฒนาการมาจากพวกเอไคโนเดิร์ม เนื่องจากการเจริญของตัวอ่อนของสัตว์กลุ่มนี้มีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ก็ยังไม่สามารถสรุปได้ชัดเจน

          ลักษณะร่วมกันของไฟลัมเอไคโนเดิร์มและไฟลัมคอร์ดาตา มีดังนี้
มีโนโตคอร์ด ซึ่งเป็นแกนค้ำจุนหรือพยุงกายเกิดขึ้นในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิตหรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์ชั้นสูงมีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งแทนโนโตคอร์ด
มีไขสันหลังเป็นหลอดยาวกลวงอยู่ทางด้านหลัง (dorsal hollow nerve tube) เหนือทางเดินอาหารซึ่งแตกต่างจากสัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง
มีช่องเหงือก (Grill slit) ในระยะใดระยะหนึ่งของชีวิต หรือตลอดชีวิต ในพวกสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูงเช่น สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จะมีช่องเหงือกจอนเป็นตัวอ่อนเท่านั้น
มีหางเป็นส่วนที่อยู่ถัดจากทวารหนัก อาจมีตลอดชีวิตหรือมีเฉพาะระยะเอมบริโอ


                  สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) มีซับไฟลัมเดียว คือ
         ซับไฟลัมเวอร์เทบราตา (Subphylum Vertebrata) ได้แก่สัตว์มีกระดูกสันหลังทั่วไป มีลักษณะต่างๆที่เพิ่มขึ้นจากพวกโพรโทคอร์เดตคือ มีกระดูกอ่อนหรือกระดูกแข็งเป็นข้อๆ ทำหน้าที่เป็นแกนของร่างกายแทนโนโตคอร์ด แต่บางชนิดยังมีโนโตคอร์ตอยู่  มีรยางค์เป็นคู่ๆ โดยทั่วไปแล้วมี 2 คู่ บางชนิดอาจไม่มีหรือมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง
มีหัวใจอยู่ทางด้านท้อง(ด้านหน้า) และมีอย่างน้อย 2 ห้อง ภายในเลือดมีเม็ดเลือดแดงที่มีเฮโมลโกลบินเป็นองค์ประกอบ
ร่างกายแบ่งออกเป็นส่วนหัวและมักมีส่วนของคอด้วยกับส่วนลำตัว

                 สัตว์ในซับไฟลัมเวอร์เทบราตา แบ่งออกเป็น 2 ซูเปอร์คลาส  คือ
     --> ซูเปอร์คลาสพิเซค (Superclass Pisec) ได้แก่พวกปลาทั้งหลาย แบ่งได้เป็น 3 คลาสคือ

                :) คลาสไซโตมาตา (Class cyclotomata) ได้แก่ปลาปากกลม (Cyclotome) ที่รู้จักและพบกันอยู่ในปัจจุบัน คือ แลมเพรย์ (lamprey) และแฮกฟิส (Hagfish) รูปร่างคล้ายปลาไหล อาศัยอยู่ในทะเล มีกระดูกอ่อนและโนโตคอร์ดตอลดชีวิต ไม่มีกระดูกแข็ง ไม่มีขากรรไกร ไม่มีรยางค์เป็นคู่ ดำรชีวิตแบบเป็นปรสิตภายนอกของสัตว์น้ำขนาดใหญ่อื่นๆ ไม่พบในประเทศไทย โดยมากพบในยุโรปและอเมริกา
                :) คลาสคอนดริคไทอิส (Class Chondricthyes) ได้แก่ ปลากระดูกอ่อนพวกปลาฉลาม ปลากระเบน ปลาฉนาก มีลักษณะสำคัญคือ กระดูกเป็นกระดูกอ่อนตลอดชีวิต มีขากรรไกร มีรยางค์ มีปากที่มีฟันอยู่ทางด้านล่าง ช่องเหงือกอยู่ทางด้านข้างหรือด้านล่าง มองเห็นได้ชันเจน มีลำไส้เวียน (Spiral valve) ช่วยถ่วงเวลาของอาหารให้อยู่ในลำไส้นานยิ่งขึ้น เพราะลำไส้สั้น ไม่มีกระเพาะลม เกล็ดแข็งแหลมคม ลูบดูจะสากมือ ปฏิสนธิภายในตัว ออกลูกเป็นตัวหรือไข่ 
                :) คลาสออสติอิคไทอิส (Class Osteichyes) ได้แก่พวกปลากระดูกแข็งทั้งหลาย เช่น ปลาทู ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาช่อน ม้าน้ำ ลักษณะสำคัญคือมีกระดูกแข็ง มีแผ่นปิดเหงือก (Operculum) ทำให้มองไม่เห็นเหงือก เกล็ดเรียงซ้อนกัน มีถุงลมช่วยในการลอยตัว บางชนิดใช้เป็นอวัยวะหายใจ เช่น ปลามีปอด ปากอยู่ด้านหน้าสุด และมีการปฏิสนธิภายนอกตัว ออกลูกเป็นไข่  ปลาโดยทั่วไปอาศัยอยู่ในน้ำแต่มีปลาบางชนิดพยายามที่จะมาอาศัยอยู่บนบกเช่นปลาตีน อาศัยอยู่บนบกได้ครั้งละนานๆ เนื่องจากมันมีเหงือกที่อุ้มน้ำได้ดี ทำให้เลือดได้รับก๊าซออกซิเจนอย่างเพียงพอ ปลามีปอด ในแอฟริกา ออสเตรเลีย และอเมริกา พวกนี้มีช่องเปิดใกล้ๆกับช่องปากและมีถุงลม ทำหน้าที่ได้เหมือนปอดในฤดูแล้ง 
          *** ปลามีประโยชน์ในแง่ของการเป็นอาหาร และเพื่อความสวยงาม แต่ปลาหลายๆชนิดก็เป็นอันตราย เช่นปลาฉลาม เป็นอันตรายต่อนักทัศนาจรและชาวประมง และปักเป้าทะเลเนื้อมีพิษ เมื่อกินเข้าไปทำให้เกิดอาหารเมาถึงตายได้ นอกจากนี้ยังมีปลาไหลไฟฟ้าและปลากระเบนไฟฟ้า สามารถปล่อยกระเสไฟฟ้าทำให้สัตว์อื่นบริเวณนั้นได้รับอันตรายได้ ***

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre'er_style/5Chordata.html

          --> ซูเปอร์คลาสเททระโพดา (Superclass Tetrapoda)  พวกนี้มีรยางค์ 2 คู่ บางชนิดอาจไม่มีแต่อาจมีร่องรอยบางอย่างเหลืออยู่ ซึ่งแสดงว่าเคยมีรยางค์ด้วย หัวใจมี 3 หรือ 4 ห้อง ตามปกติหายใจด้วยปอดแต่บางชนิดอาจใช้ผิวหนังช่วยในการหายใจได้บ้าง

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre'er_style/5Chordata.html

        คลาสแอมฟิเบีย (Class Amphibia) ได้แก่พวกสัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก ทั้งนี้เพราะมันอาศัยอยู่ทั้งบนบกและในน้ำ เช่น กบ เขียด ปาด อึ่งอ่าง คางคก ซาลามานเดอร์ งูดิน ลักษณะเฉพาะของสัตว์คลาสนี้คือมีผิวลำตัวชุ่มชื้น ไม่มีเกล็ด ปฏิสนธินอกตัว ออกไข่ในน้ำ ตัวอ่อนอยู่ในน้ำหายใจด้วยเหงือก ตัวเต็มวัยหายใจด้วยปอดและผิวหนัง หัวใจ 3 ห้อง ประกอบด้วย ห้องรับเลือด (Atrium) 2ห้อง และห้องส่งเลือด (Ventricle) 1ห้อง เม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียสและเป็นสัตว์เลือดเย็น (Poikilothermous animal) วงจรชีวิตของสัตว์กลุ่มนี้ (กบ) มีการผสมพันธุ์และวางไข่ในน้ำ (ตามปกติตอนฤดูฝน) ไข่ไม่มีเปลือกแต่มีวุ้นหุ้มโดยรอบ เมื่อไข่ฟักตัวได้ตัวอ่อนเรียกว่าลูกอ๊อด เมื่อตัวอ่อนโตขึ้นเกิดมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ส่วนพวกงูดินและซาลามานเดอร์ถึงแม้จะมีรูปร่างคล้ายสัตว์เลื้อคลานแต่มีลักษณะ เฉพาะทั่วไปเป็นครึ่งน้ำครึ่งบก จึงจัดไว้ในคลาสนี้
  *** สัตว์ในคลาสนี้มีประโยชน์ต่อมนุษย์เนื่องจากเป็นอาหารได้ และยังช่วยในการกำจัดแมลงที่เป็นศัตรูพืช
***

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre'er_style/5Chordata.html

          คลาสเรปทิเลีย (Class Reptilia) ได้แก่พวกสัตว์เลื้อยคลาน เช่น เต่า ตะพาบน้ำ จิ้งจก กิ้งก่า ตะกวด ตัวเงินตัวทอง งู จระเข้ ลักษณะเฉพาะของสัตว์ในคลาสนี้คือผิวหนังมีเหล็ดแห้ง หายใจด้วยปอดตลอดชีวิต หัวใจมี 3 ห้อง ประกอบด้วยห้องรับเลือด 2 ห้อง และห้องส่งเลือด 1 ห้อง เม็ดเลือดแดงมีนิวเคลียส ผสมพันธุ์ภายในตัว วางไข่บนบก ไข่มีขนาดใหญ่
 *** สัตว์เลื้อยคลานมีประโยชน์คือเป็นอาหารได้บ้าง แต่มีโทษเช่น จระเข้ดุร้าย ทำอันตรายสัตว์อื่น งูหลายชนิดมีพิษร้ายแรง
***

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre'er_style/5Chordata.html

          คลาสเอวีส (Class Aves) ได้แก่พวกสัตว์ปีก เช่น นก เป็ด ไก่ ห่าน หงส์ ลักษณะเฉพาะคือ ผิวลำตัวปกคลุมด้วยขนซึ่งมีลักษณะเป็นแผง (Feather) หายใจด้วยปอด หัวใจมี4ห้อง เป็นสัตว์เลือดอุ่น (Homeothermous animal) อุณหภูมิของร่างกายไม่เปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อม มีจงอยปาก มีการผสมภายในตัวออกลูกเป็นไข่ นกมีถุงลมติดต่อกับปอดเพื่อช่วยในการหายใจและระบายความร้อน

http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre'er_style/5Chordata.html

         คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia) ได้แก่พวกสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม เช่น จิงโจ้ แมว สุนัข ช้าง ม้า วัว ควาย วาฬ โลมา มนุษย์
ลักษณะสำคัญประจำคลาสคือ มีต่อมน้ำนมสร้างน้ำนมเลี้ยงลูกอ่อน ผิวหนังมีขนที่มีลักษณะเป็นเส้น (Hair) ปกคลุม หัวใจ4ห้อง เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียส เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีกระบังลมกั้นระหว่างช่องอกและช่องท้อง ช่วยในการหายใจ หายใจด้วยปอด

แบ่งเป็น 2 ซับคลาสคือ

   --->  ซับคลาสโพรโทเทเรีย (Subclass Prototheria) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่ออกลูกเป็นไข่ ไม่มีมดลูก ไม่มีหัวนม ได้แก่ตุ่นปากเป็ด (Platypus) ต่อมน้ำนมไม่ค่อยเจริญมีการรวมกันของท่อน้ำนมเป็นกลุ่มบริเวณหน้าท้อง ลูกที่ฟักออกจากไข่จะเลียน้ำนมบริเวณหน้าท้องกิน 
   --->  ซับคลาสเทเรีย (Subclass Theria) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ออกลูกเป็นตัว แบ่งได้เป็นสองพวกคือ 
            :] เมทาเทเรีย  (Metatheria) ได้แก่ จิงโจ้ โอพอสซัม มีต่อมน้ำนมและหัวนม มีถุงหน้าท้องสำหรับเลี้ยงลูกอ่อนในระยะหนึ่ง
            :] ยูเทเรีย (Eutheria) พวกนี้มีรกเป็นทางติดต่อระหว่างแม่กับลูกที่อยู่ในมดลูก จึงมักเรียว่าสัตว์มีรก ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทั่วไป เช่น แมว วัว ค้างคาว กวาง เสือ สุนัข ลิง คน

  

ที่มาของข้อมูล http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/09/2/cre'er_style/5Chordata.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 538 คน กำลังออนไลน์