• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:50405f7b61cfc4b053b348588af8e0fd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<strong><a href=\"/node/71310\"><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" />    Home</a>   <a href=\"/node/76547\">Introduce</a>   <a href=\"/node/74454\">5  Kingdom</a>   <a href=\"/node/75027\">Reference </a>  <a href=\"/node/75026\">Who  Am  I ?</a></strong><strong>  </strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"122\" width=\"600\" src=\"/files/u31940/PlAne_copy.jpg\" border=\"0\" /> </strong>\n</div>\n<p>\n<strong>         สัตว์ในไฟลัมนี้มีลำตัวแบ่งเป็นปล้องอย่างแท้จริง (Segmentation) ภายในจะมีเยื่อบาง ๆ (Septum) มากั้นระหว่างปล้อง มีประมาณ 12,0000 ชนิด ดำรงชีวิตอยู่ในทะเล น้ำจืด และอยู่บนบกในดินที่ชื้นแฉะ <br />\n </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #4e3a21\"><strong>        <span style=\"color: #800080\">มีลักษณะสำคัญ</span> ดังนี้<br />\n1. <span style=\"color: #993366\">มีลำตัวยาวร่างกายแบ่งเป็นปล้องทั้งภายในและภายนอก<br />\n</span>2. <span style=\"color: #993366\">ร่างกายประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น</span> <br />\n3. <span style=\"color: #993366\">ผนังลำตัวปกคลุมด้วยสารคิวทิเคิลบางๆ</span> มีต่อมสร้างน้ำเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นอยู่เสมอ เป็นประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ผิวหนัง<br />\n4. <span style=\"color: #993366\">มีรยางค์ยื่นออกไปจากลำตัว</span>มีลักษณะเป็นแผ่นที่ขาคล้ายใบพายเรียกว่า พาราโพเดีย (Parapodia) พบในแม่เพรียง มีลักษณะเป็นเดือย (Setate) ยื่นออกจากลำตัวแต่ละปล้องเพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ และขุดรูซึ่งพบในไส้เดือนดินส่วนปลิงน้ำจืดและทากจะไม่มีเดือยและพาราโพเดียม<br />\n5. <span style=\"color: #993366\">มีระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์</span> คือมีปากและทวารหนักอยู่คนละข้างของลำตัว<br />\n6. <span style=\"color: #993366\">มีระบบหมุนเวียนเลือดโลหิตเป็นระบบปิด</span> (Closed cirulatory system) มีเส้นเลือดทอดไปตามยาวของลำตัว และมีเส้นเลือดแดงแขนงส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดมีสีแดงเนื่องจากมีฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) อยู่ในน้ำเลือดส่วนเซลล์เม็ดเลือดจะไม่มีฮีโมโกลบินจึงไม่มีสี ซึ่งแตกต่าง จากเลือดของคน ..ซึ่งมีสีแดงเนื่องจากเซลล์เม็ดเลือดมีฮีโมโกลบิน<br />\n7. <span style=\"color: #993366\">มีอวัยวะขับถ่าย </span>เรียกว่า เนฟริเดีย (Nephridia) โดยมีปล้องละ 1 คู่ มีหน้าที่ขับถ่ายของเสียออกจากช่องลำตัวและกระแสเลือด แล้วปล่อยออกนอกร่างกายทางรูขับถ่าย ....(Nephridiopore) ด้านข้างของปล้อง<br />\n8. <span style=\"color: #993366\">ผนังลำตัวประกอบด้วยกล้ามเนื้อตามขวาง</span> (Circular muscle) และกล้ามเนื้อตามยาว (Long muscle)<br />\n9. <span style=\"color: #993366\">ระบบประสาท</span> ประกอบด้วยปมประสาท 1 คู่ อยู่ทางด้านหัวทำหน้าที่คล้ายสมอง และมีเส้นประสาทวงแหวนล้อมรอบหลอดอาหาร ซึ่งจะเชื่อมต่อกับเส้นประสาทด้านท้อง ..(Ventral never cord)  ที่ทอดไปตามความยาวของลำตัวและแต่ละปล้องจะมีปมประสาทและแขนงตามขวางจากเส้นประสาทด้านท้องไปยังอวัยวะต่าง .เพื่อควบคุมงานของกล้ามเนื้อทำให้สามารถเคลื่อนที่ได้เร็ว นอกจากนี้สัตว์บางชนิดจะมีอวัยวะรับสัมผัสเกี่ยวกับกลิ่นและแสงด้วย<br />\n10. <span style=\"color: #993366\">การหายใจ</span> ส่วนใหญ่จะหายใจทางผิวหนังบางชนิดจะหายใจโดยใช้เหงือก<br />\n11. <span style=\"color: #993366\">การสืบพันธุ์</span> สัตว์ในไฟลัมนี้ส่วนใหญ่จะมีสองเพศในตัวเดียวกัน แต่บางชนิดจะแยกเพศ การสืบพันธุ์เป็นแบบอาศัยเพศโดยผสมข้ามตัวเนื่องจากไข่และอสุจิสุกไม่พร้อมกันไข่ได้รับการปฏิสนธิแล้วจะมาเจริญเติบโตภายนอกตัวแม่ถ้าเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำทะเล ..เช่น แม่เพรียง การเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยต้องผ่านระยะตัวอ่อนที่เรียกว่า โทรโคฟอร์ (Trochophore) ส่วนพวกที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดหรือบนบก เช่น ปลิงน้ำจืด และไส้เดือนดินและสร้างถุงฟักไข่ (Cocoon) เมื่อถุงปล่อยออกจากร่างกายหล่นตามพื้นที่อาศัยอยู่ ไข่จะฟักอยู่ในถุง และเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยโดยไม่ผ่านระยะตัวอ่อนโทรโคฟอร์</strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><span style=\"color: #4e3a21\"><strong>     <span style=\"color: #008000\">การจัดจำแนกหมวดหมู่</span> จำแนกออกได้ 2 ชั้น ดังนี้<br />\n1. <span style=\"color: #99cc00\">ชั้นโพลีคีตา</span> (Class Polychaeta) สัตว์ในชั้นนี้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำทะเล ลำตัวมีลักษณะเป็นปล้องมีแผ่นขาหรือพาราโพเดียมยื่นออกมาสองข้างลำตัว มีแต่เดือยเกือบทุกปล้องใช้สำหรับเคลื่อนที่ ส่วนหัวเห็นไม่ชัดเจน ไม่มีหนวดมีผิวหนังชุ่มชื้น เป็นสัตว์ที่มีสองเพศ อยู่ภายในตัวเดียวกัน แต่ผสมแบบข้ามตัว ไข่เมื่อเกิดการปฏิสนธิ แล้วจะหลุดออกมาอยู่ในถุงฟักลง สู่พื้นดิน ฟักเป็นตัวเต็มวัยโดยไม่ผ่านระยะโทรคอฟอร์ ตัวอย่างสัตว์ในชั้นนี้ได้แก่ ไส้เดือนดิน (Lumbricus terresteis)<br />\n2.<span style=\"color: #99cc00\">ชั้นไฮรูดิเนีย</span> (Class Hirudinea) เป้นสัตวืที่อาศัยอยู่บนบกและในน้ำจืดและน้ำทะเล มีลำตัวแบนในแนวบน-ล่าง มีปล้องชัดเจน ไม่มีพาราโพเดียมและเดือย ส่วนหัวเห็นไม่ชัดเจนไม่มีหนวด มีปุ่มโดเกาะอยู่ที่หัว (Anterior sucker) 1 ปุ่ม และด้านท้าย (Posterior sucker) อีก 1 ปุ่ม ปุ่มสำหรับเกาะตัวให้อาศัย และช่วยในการเคลื่อนที่ เป็นสัตว์ที่มี 2 เพศในตัวเดียวกัน การผสมเป็นแบบผสมข้ามตัว ไข่เมื่อปฏิสนธิแล้วจะหลุดออกมาอยู่ในถุงฟักตกลงพื้นดินเจริญเป็นตัวเต็มวัยโดยไม่ผ่านระยะตัวอ่อนโทรคอฟอร์ ดำรงชีวิตแบบปรสิตเกาะตัวให้อาศัยเพื่อดูดเลือด สัตว์ในชั้นนี้ได้แก่ ปลิงน้ำจืด (Hirudo medicinalis) และทาก (Haemadipsa)</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"134\" width=\"199\" src=\"/files/u31940/p_anne1.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/annelid.html\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://dit.dru.ac.th/biology/annelid.html</span></strong></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"229\" width=\"284\" src=\"/files/u31940/an-450-2.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.gulfspecimen.org/images/an-450-2.gif\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">http://www.gulfspecimen.org/images/an-450-2.gif</span></strong></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"><strong>ที่มาของข้อมูล</strong>  </span><a href=\"http://www.eschool.su.ac.th/school12/M4_2546/4-1/1_018/title%209.html\"><span style=\"color: #4e3a21\"><strong><span style=\"color: #47361e\">http://www.eschool.su.ac.th/school12/M4_2546/4-1/1_018/title%209.html</span></strong></span></a><span style=\"color: #47361e\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #47361e\"></span>\n</p>\n', created = 1726776609, expire = 1726863009, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:50405f7b61cfc4b053b348588af8e0fd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Say Hi!!! "Phylum Annelida" ~

รูปภาพของ sss27795

    Home   Introduce   5  Kingdom   Reference   Who  Am  I ? 

         สัตว์ในไฟลัมนี้มีลำตัวแบ่งเป็นปล้องอย่างแท้จริง (Segmentation) ภายในจะมีเยื่อบาง ๆ (Septum) มากั้นระหว่างปล้อง มีประมาณ 12,0000 ชนิด ดำรงชีวิตอยู่ในทะเล น้ำจืด และอยู่บนบกในดินที่ชื้นแฉะ 
 

        มีลักษณะสำคัญ ดังนี้
1. มีลำตัวยาวร่างกายแบ่งเป็นปล้องทั้งภายในและภายนอก
2. ร่างกายประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
3. ผนังลำตัวปกคลุมด้วยสารคิวทิเคิลบางๆ มีต่อมสร้างน้ำเมือกทำให้ผิวหนังชุ่มชื้นอยู่เสมอ เป็นประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ผิวหนัง
4. มีรยางค์ยื่นออกไปจากลำตัวมีลักษณะเป็นแผ่นที่ขาคล้ายใบพายเรียกว่า พาราโพเดีย (Parapodia) พบในแม่เพรียง มีลักษณะเป็นเดือย (Setate) ยื่นออกจากลำตัวแต่ละปล้องเพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ และขุดรูซึ่งพบในไส้เดือนดินส่วนปลิงน้ำจืดและทากจะไม่มีเดือยและพาราโพเดียม
5. มีระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ คือมีปากและทวารหนักอยู่คนละข้างของลำตัว
6. มีระบบหมุนเวียนเลือดโลหิตเป็นระบบปิด (Closed cirulatory system) มีเส้นเลือดทอดไปตามยาวของลำตัว และมีเส้นเลือดแดงแขนงส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เลือดมีสีแดงเนื่องจากมีฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) อยู่ในน้ำเลือดส่วนเซลล์เม็ดเลือดจะไม่มีฮีโมโกลบินจึงไม่มีสี ซึ่งแตกต่าง จากเลือดของคน ..ซึ่งมีสีแดงเนื่องจากเซลล์เม็ดเลือดมีฮีโมโกลบิน
7. มีอวัยวะขับถ่าย เรียกว่า เนฟริเดีย (Nephridia) โดยมีปล้องละ 1 คู่ มีหน้าที่ขับถ่ายของเสียออกจากช่องลำตัวและกระแสเลือด แล้วปล่อยออกนอกร่างกายทางรูขับถ่าย ....(Nephridiopore) ด้านข้างของปล้อง
8. ผนังลำตัวประกอบด้วยกล้ามเนื้อตามขวาง (Circular muscle) และกล้ามเนื้อตามยาว (Long muscle)
9. ระบบประสาท ประกอบด้วยปมประสาท 1 คู่ อยู่ทางด้านหัวทำหน้าที่คล้ายสมอง และมีเส้นประสาทวงแหวนล้อมรอบหลอดอาหาร ซึ่งจะเชื่อมต่อกับเส้นประสาทด้านท้อง ..(Ventral never cord)  ที่ทอดไปตามความยาวของลำตัวและแต่ละปล้องจะมีปมประสาทและแขนงตามขวางจากเส้นประสาทด้านท้องไปยังอวัยวะต่าง .เพื่อควบคุมงานของกล้ามเนื้อทำให้สามารถเคลื่อนที่ได้เร็ว นอกจากนี้สัตว์บางชนิดจะมีอวัยวะรับสัมผัสเกี่ยวกับกลิ่นและแสงด้วย
10. การหายใจ ส่วนใหญ่จะหายใจทางผิวหนังบางชนิดจะหายใจโดยใช้เหงือก
11. การสืบพันธุ์ สัตว์ในไฟลัมนี้ส่วนใหญ่จะมีสองเพศในตัวเดียวกัน แต่บางชนิดจะแยกเพศ การสืบพันธุ์เป็นแบบอาศัยเพศโดยผสมข้ามตัวเนื่องจากไข่และอสุจิสุกไม่พร้อมกันไข่ได้รับการปฏิสนธิแล้วจะมาเจริญเติบโตภายนอกตัวแม่ถ้าเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ำทะเล ..เช่น แม่เพรียง การเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยต้องผ่านระยะตัวอ่อนที่เรียกว่า โทรโคฟอร์ (Trochophore) ส่วนพวกที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดหรือบนบก เช่น ปลิงน้ำจืด และไส้เดือนดินและสร้างถุงฟักไข่ (Cocoon) เมื่อถุงปล่อยออกจากร่างกายหล่นตามพื้นที่อาศัยอยู่ ไข่จะฟักอยู่ในถุง และเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยโดยไม่ผ่านระยะตัวอ่อนโทรโคฟอร์

     การจัดจำแนกหมวดหมู่ จำแนกออกได้ 2 ชั้น ดังนี้
1. ชั้นโพลีคีตา (Class Polychaeta) สัตว์ในชั้นนี้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในน้ำทะเล ลำตัวมีลักษณะเป็นปล้องมีแผ่นขาหรือพาราโพเดียมยื่นออกมาสองข้างลำตัว มีแต่เดือยเกือบทุกปล้องใช้สำหรับเคลื่อนที่ ส่วนหัวเห็นไม่ชัดเจน ไม่มีหนวดมีผิวหนังชุ่มชื้น เป็นสัตว์ที่มีสองเพศ อยู่ภายในตัวเดียวกัน แต่ผสมแบบข้ามตัว ไข่เมื่อเกิดการปฏิสนธิ แล้วจะหลุดออกมาอยู่ในถุงฟักลง สู่พื้นดิน ฟักเป็นตัวเต็มวัยโดยไม่ผ่านระยะโทรคอฟอร์ ตัวอย่างสัตว์ในชั้นนี้ได้แก่ ไส้เดือนดิน (Lumbricus terresteis)
2.ชั้นไฮรูดิเนีย (Class Hirudinea) เป้นสัตวืที่อาศัยอยู่บนบกและในน้ำจืดและน้ำทะเล มีลำตัวแบนในแนวบน-ล่าง มีปล้องชัดเจน ไม่มีพาราโพเดียมและเดือย ส่วนหัวเห็นไม่ชัดเจนไม่มีหนวด มีปุ่มโดเกาะอยู่ที่หัว (Anterior sucker) 1 ปุ่ม และด้านท้าย (Posterior sucker) อีก 1 ปุ่ม ปุ่มสำหรับเกาะตัวให้อาศัย และช่วยในการเคลื่อนที่ เป็นสัตว์ที่มี 2 เพศในตัวเดียวกัน การผสมเป็นแบบผสมข้ามตัว ไข่เมื่อปฏิสนธิแล้วจะหลุดออกมาอยู่ในถุงฟักตกลงพื้นดินเจริญเป็นตัวเต็มวัยโดยไม่ผ่านระยะตัวอ่อนโทรคอฟอร์ ดำรงชีวิตแบบปรสิตเกาะตัวให้อาศัยเพื่อดูดเลือด สัตว์ในชั้นนี้ได้แก่ ปลิงน้ำจืด (Hirudo medicinalis) และทาก (Haemadipsa)

 

 

ที่มาของข้อมูล  http://www.eschool.su.ac.th/school12/M4_2546/4-1/1_018/title%209.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 534 คน กำลังออนไลน์