• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1c84047f3803b706a79adfeec70261cb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">4. Classical Period 550-440</span></span></b><span class=\"apple-converted-space\"><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">B.C.</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">โชไรเลส (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Choeriles) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">พีนีซุส (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Phrynichus)</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">พาตินุส (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Pratinas) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">และเธสพิส (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Thespis)</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ได้พัฒนาการร้องเพลงประกอบระบำที่เรียกว่าไดธีแรมบ์ (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Dithyramb) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">กล่าวคือได้มีการร้องเพลง</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><br />\n</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">โต้ตอบกับกลุ่มคอรัสทำให้การแสดงกลายรูปเป็นในลักษณะการสนทนาโต้ตอบกัน แทนที่จะเป็นการเล่าเรื่องโดยการบรรยายอยู่ฝ่ายเดียว พวกเขายังช่วยสร้างให้เกิดวัฒนธรรมของกรีกโบราณคือ การละคร (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Drama) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">เป็นรูปแบบการแสดงที่มีการผสมผสานศิลปะการเต้นรำและดนตรีเข้าด้วยกันได้อย่างสมดุลย์</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">          </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ในสมัยนี้ได้มีการสร้างโรงละครกลางแจ้ง ตั้งอยู่ระหว่างซอกเขาที่มีเนินลาดโอบล้อมอยู่สามด้านเป็นอัฒจันทร์ที่นั่งคนดูซึ่งจุคนได้เป็นจำนวนมากและยังเห็นการแสดงได้ชัดเจนไม่มีการบังกัน อัฒจันทร์คนดูนี้เซาะเป็นขั้นบันไดสูงขึ้นไปตามไหล่เขาที่ลาดชันโดยโอบล้อมบริเวณที่ใช้แสดงเป็นพื้นที่ราบอยู่ต่ำลงไปเป็นรูปวงกลมหรือครึ่งวงกลม ซึ่งเรียกบริเวณว่า ออร์เคสตรา (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Orchestra) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ใช้เป็นที่แสดงของพวกคอรัสซึ่งยังคงความนิยมติดมากับการแสดง</span></span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><br />\n</span></p>\n<p>\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p>\n<v:shape type=\"#_x0000_t75\" id=\"_x0000_s1026\" style=\"z-index: 1; position: absolute; margin-top: 68.35pt; width: 346.5pt; height: 220.5pt; margin-left: 34.5pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><w:wrap side=\"right\" type=\"square\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><br clear=\"all\" /><br />\n</span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><img height=\"294\" width=\"462\" src=\"/files/u31507/Chap4-7.jpg\" /></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">credit http://www.lks.ac.th/band/Chap4-7.jpeg</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"></span>\n</div>\n<p><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"></span><b><span style=\"font-family: \'Cordia New\'\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> 5. Hellinistic Period 440-330</span></span></b><span class=\"apple-converted-space\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">B.C.</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ลักษณะของการละครสมัยนี้เริ่มไม่ได้รับความนิยม เนื่องจากว่ามีการพัฒนารูปแบบใหม่ ๆ เข้ามาซึ่งเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการละคร ในสมัยนี้ศิลปะและบทประพันธ์ร้อยกรองต่าง ๆ มีการพัฒนาแยกออกจากดนตรีมีนักปราชญ์ทางดนตรีหลายคน การค้นพบกฎพื้นฐานของเสียงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาและคณิตศาสตร์ ซึ่งนักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์นามกระเดื่องของกรีกคือ ไพธากอรัส (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Pythagoras) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">เป็นผู้วาง กฎเกณฑ์ไว โดยการทดลองเกี่ยวกับการสั่นสะเทือนของเสียงจากความสั้น - ยาวของสายที่ขึงไว้ ไพธากอรัสค้นพบวิธีที่จะสร้างระยะขั้นคู่เสียงต่าง ๆ รวมทั้งระยะขั้นคู่ </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">8 </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ซึ่งเป็นหลักที่สำคัญของ</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><br />\n</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">บันไดเสียงของดนตรีตะวันตก นักคิดรุ่นต่อ ๆ มาได้พัฒนาทฤษฎีดนตรีของกรีกจนได้เป็นระบบที่สลับซับซ้อนที่รู้จักกันในนามของโมด (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Mode) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ซึ่งได้แก่บันไดเสียงทางดนตรีที่ใช้ในการชักจูงให้ผู้ฟังมีความรู้สึกต่าง ๆ กันออกไป บันไดเสียงเหล่านี้จึงมีการใช้ในการสร้างสรรค์ดนตรีเฉพาะตามกรณี จากโมดนี้เองชนชาติกรีกได้พัฒนาหลักการของอีธอส (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Doctrine of ethos) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ซึ่งเป็นความเชื่อในเรื่องของพลังแห่งสัจธรรมของดนตรีโดยกล่าวไว้ว่าพลังของดนตรีมีผลเกี่ยวเนื่องกับการแสดงออกถึงความชื่นชอบหรือความขัดแย้งกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ดนตรีเกี่ยวข้องกับความดีและความชั่วร้าย</span></span><span class=\"apple-converted-space\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"></span></span></p>\n<p><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">โดยทั่วไปโมดสามารถจัดได้เป็นสองจำพวกคือ โมดที่สื่อถึงความเงียบสงบ มีระเบียบ ใช้กับพิธีกรรมของเทพเจ้าอพอลโลและโมดที่สื่อถึงความป่าเถื่อนอึกทึกครึกโครมใช้กับพิธีกรรมของเทพเจ้าไดโอนีซัส ผลสะท้อนของแนวคิดที่กล่าวถึงนี้ทำให้ดนตรีของกรีกมีทั้งการแสดงออกถึงความซับซ้อนของท่วงทำนองจากการบรรเลงของเครื่องดนตรีล้วน ๆ ในการแสดงเพื่อการแข่งขันหรือในงานฉลอง</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><br />\n</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ต่าง ๆ และดนตรีที่แสดงออกถึงรูปแบบที่มีมาตรฐานซึ่งสัมพันธ์กับการบรรยายเรื่องราวตำนานของวีรบุรุษและการศึกษาสำหรับพวกสังคมชั้นสูงที่เต็มไปด้วยปรัชญาอันลึกซึ้งในหนังสือ </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Poetics </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">นั้น อริสโตเติล (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Aristotle) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ได้อธิบายว่าดนตรีมีอำนาจเหนือจิตใจมนุษย์อย่างไรบ้าง เขากล่าวว่าดนตรีเลียนแบบอารมณ์ต่าง ๆ ของมนุษย์ ฉะนั้นเมื่อมนุษย์ได้ยินดนตรีซึ่งเลียนแบบอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง ก็จะเกิดมีความรู้สึกคล้อยตามไปด้วยทฤษฎีดนตรีกรีกของ </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Aristoxenus </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">กลายเป็นพื้นฐานสำคัญของทฤษฎีดนตรีในปัจจุบันโดยได้เสนอผลงานระบบเสียงที่เรียกว่า เตตราคอร์ด (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Tetrachord) 3 </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ชนิด คือ </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Diatonic, Chromatic, </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">และ </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Enharmonic </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">โดยเสียงที่อยู่ภายในคู่ </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">4 </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">เพอร์เฟคจะถูกเรียกว่า </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Shade </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ดังตัวอย่าง</span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><img height=\"93\" width=\"366\" src=\"/files/u31507/Image63.gif\" /></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">credit  http://www.lks.ac.th/band/Image63.gif</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" id=\"_x0000_i1025\" style=\"width: 274.5pt; height: 69.75pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.lks.ac.th/band/Image63.gif\"></v:imagedata></span></v:shape><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">          </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ถ้าได้ยินดนตรีที่กระตุ้นอารมณ์ที่ทำให้จิตใจต่ำบ่อย ๆ เข้าก็ทำให้เขาพลอยมีจิตใจต่ำไปด้วยตรงกันข้ามถ้ามีโอกาสได้ฟังดนตรีที่ช่วยยกระดับจิตใจก็จะทำให้ผู้นั้นเป็นคนที่มีจิตใจสูง ดังนั้น เปลโตและอริสโตเติล มีความคิดเห็นตรงกันในข้อที่ว่าหลักสูตรการศึกษาควรประกอบด้วยวิชากีฬาและดนตรีที่ถูกต้อง เพื่อเป็นการฝึกทั้งร่างกายและจิตใจ เปลโตสอนว่า</span></span><span class=\"apple-converted-space\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></span><b><span style=\"font-family: \'Cordia New\'\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">“</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">การเรียนดนตรีอย่างเดียวทำให้อ่อนแอและเป็นคนมีปัญหา การเรียนกีฬาอย่างเดียวทำให้เป็นคนที่อารมณ์ก้าวร้าวและไม่ฉลาด</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">”</span></span></b><span class=\"apple-converted-space\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ยิ่งกว่านั้นเปลโตยังได้กำหนดไว้ว่า</span></span><span class=\"apple-converted-space\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">“</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ดนตรีที่เหมาะสมสำหรับการศึกษาไม่ควรมีลีลาที่ทำให้อารมณ์อ่อนไหวควรใช้ทำนองที่มีลีลาดอเรียน(</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Dorian)</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">และฟรีเจียน (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Phrygian)”<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" id=\"_x0000_i1026\" style=\"width: 298.5pt; height: 96pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><v:imagedata o:href=\"http://www.lks.ac.th/band/Image64.gif\"></v:imagedata></span></v:shape><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">  </span></span> </p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 12px\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><img height=\"128\" width=\"398\" src=\"/files/u31507/Image64.gif\" /></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 12px\"></span>credit   http://www.lks.ac.th/band/Image64.gif     </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">บันไดเสียงทั้งสองข้างต้นทำให้เกิดอารมณ์กล้าหาญและสุภาพเรียบร้อย เปลโตเชื่อว่าดนตรีมีอำนาจในการที่จะเปลี่ยนนิสัยของมนุษย์จนกระทั่งในบางกรณีสามารถรักษาโรคให้หายได้นี่คือทฤษฎีอีธอส (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Ethos) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ของดนตรี เปลโตยังเคยกล่าวไว้ว่า</span></span><span class=\"apple-converted-space\"><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></b></span><b><span style=\"font-family: \'Cordia New\'\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">“</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">จะให้ใครเป็นผู้เขียนกฎหมายก็แล้วแต่ ขอให้ข้าพเจ้าได้เป็นผู้แต่งเพลงประจำชาติก็แล้วกัน</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">”</span></span></b><span class=\"apple-converted-space\"><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></b></span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">นี่หมายถึงว่า กฎหมายเพียงแต่กำหนดขอบเขตความประพฤติของคนจากภายนอก แต่อีธอสของดนตรีสามารถเข้าถึงจิตใจมนุษย์ และคุมนิสัยจากภายในได้ จากการศึกษาหลักฐานต่าง ๆ สรุปได้ว่าดนตรีกรีกน่าจะเป็นดนตรีเน้นเสียงแนวเดียว (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Monophonic music) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">กล่าวคือเน้นเฉพาะแนวทำนองโดยไม่มีแนวประสานเสียง</span></span><span class=\"apple-converted-space\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><br />\n</span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ทำให้โครงสร้างของทำนองมีความสลับซับซ้อน ระยะขั้นคู่เสียงที่ใช้จะห่างกันน้อยกว่าครึ่งเสียงได้ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่าไมโครโทน (</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">Microtones) </span><span lang=\"TH\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">ดนตรีกรีกมีหลายรูปแบบ นับตั้งแต่ดนตรีที่บรรเลง ด้วยเครื่องดนตรีล้วน ๆ ไม่มีการร้องไปจนถึงการร้องบทกวีแต่รูปแบบที่นับว่าสำคัญ ได้แก่ การร้องหมู่ ซึ่งพบได้ในละครของกรีก ในระยะแรกการร้องหมู่ใช้ในการสรรเสริญพระเจ้าและวีรบุรุษซึ่งมักมีการเต้นรำประกอบเพลงร้องด้วย</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><o:p></o:p></span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"><span style=\"font-family: \'Cordia New\'; color: olive; font-size: 14pt\"></span></span><o:p><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'; color: #000000; font-size: small\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span></span></o:p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"> </span><v:shape type=\"#_x0000_t75\" id=\"_x0000_s1026\" style=\"z-index: 1; position: absolute; margin-top: 68.35pt; width: 346.5pt; height: 220.5pt; margin-left: 34.5pt\"></v:shape></p>\n<p align=\"center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/69896\"><img height=\"100\" width=\"200\" src=\"/files/u31507/previous.jpg\" border=\"0\" /><img height=\"100\" width=\"200\" src=\"/files/u31507/BACKHOME_0.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/73789\"><img height=\"100\" width=\"200\" src=\"/files/u31507/BACKHOME.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n', created = 1719802766, expire = 1719889166, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1c84047f3803b706a79adfeec70261cb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

(((((((((กรีก)))))))))))

รูปภาพของ sss28790

4. Classical Period 550-440 B.C.โชไรเลส (Choeriles) พีนีซุส (Phrynichus)พาตินุส (Pratinas) และเธสพิส (Thespis)ได้พัฒนาการร้องเพลงประกอบระบำที่เรียกว่าไดธีแรมบ์ (Dithyramb) กล่าวคือได้มีการร้องเพลง
โต้ตอบกับกลุ่มคอรัสทำให้การแสดงกลายรูปเป็นในลักษณะการสนทนาโต้ตอบกัน แทนที่จะเป็นการเล่าเรื่องโดยการบรรยายอยู่ฝ่ายเดียว พวกเขายังช่วยสร้างให้เกิดวัฒนธรรมของกรีกโบราณคือ การละคร (Drama) เป็นรูปแบบการแสดงที่มีการผสมผสานศิลปะการเต้นรำและดนตรีเข้าด้วยกันได้อย่างสมดุลย์
          ในสมัยนี้ได้มีการสร้างโรงละครกลางแจ้ง ตั้งอยู่ระหว่างซอกเขาที่มีเนินลาดโอบล้อมอยู่สามด้านเป็นอัฒจันทร์ที่นั่งคนดูซึ่งจุคนได้เป็นจำนวนมากและยังเห็นการแสดงได้ชัดเจนไม่มีการบังกัน อัฒจันทร์คนดูนี้เซาะเป็นขั้นบันไดสูงขึ้นไปตามไหล่เขาที่ลาดชันโดยโอบล้อมบริเวณที่ใช้แสดงเป็นพื้นที่ราบอยู่ต่ำลงไปเป็นรูปวงกลมหรือครึ่งวงกลม ซึ่งเรียกบริเวณว่า ออร์เคสตรา (Orchestra) ใช้เป็นที่แสดงของพวกคอรัสซึ่งยังคงความนิยมติดมากับการแสดง



credit http://www.lks.ac.th/band/Chap4-7.jpeg

 5. Hellinistic Period 440-330 B.C.ลักษณะของการละครสมัยนี้เริ่มไม่ได้รับความนิยม เนื่องจากว่ามีการพัฒนารูปแบบใหม่ ๆ เข้ามาซึ่งเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการละคร ในสมัยนี้ศิลปะและบทประพันธ์ร้อยกรองต่าง ๆ มีการพัฒนาแยกออกจากดนตรีมีนักปราชญ์ทางดนตรีหลายคน การค้นพบกฎพื้นฐานของเสียงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาและคณิตศาสตร์ ซึ่งนักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์นามกระเดื่องของกรีกคือ ไพธากอรัส (Pythagoras) เป็นผู้วาง กฎเกณฑ์ไว โดยการทดลองเกี่ยวกับการสั่นสะเทือนของเสียงจากความสั้น - ยาวของสายที่ขึงไว้ ไพธากอรัสค้นพบวิธีที่จะสร้างระยะขั้นคู่เสียงต่าง ๆ รวมทั้งระยะขั้นคู่ 8 ซึ่งเป็นหลักที่สำคัญของ
บันไดเสียงของดนตรีตะวันตก นักคิดรุ่นต่อ ๆ มาได้พัฒนาทฤษฎีดนตรีของกรีกจนได้เป็นระบบที่สลับซับซ้อนที่รู้จักกันในนามของโมด (Mode) ซึ่งได้แก่บันไดเสียงทางดนตรีที่ใช้ในการชักจูงให้ผู้ฟังมีความรู้สึกต่าง ๆ กันออกไป บันไดเสียงเหล่านี้จึงมีการใช้ในการสร้างสรรค์ดนตรีเฉพาะตามกรณี จากโมดนี้เองชนชาติกรีกได้พัฒนาหลักการของอีธอส (Doctrine of ethos) ซึ่งเป็นความเชื่อในเรื่องของพลังแห่งสัจธรรมของดนตรีโดยกล่าวไว้ว่าพลังของดนตรีมีผลเกี่ยวเนื่องกับการแสดงออกถึงความชื่นชอบหรือความขัดแย้งกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ดนตรีเกี่ยวข้องกับความดีและความชั่วร้าย 

โดยทั่วไปโมดสามารถจัดได้เป็นสองจำพวกคือ โมดที่สื่อถึงความเงียบสงบ มีระเบียบ ใช้กับพิธีกรรมของเทพเจ้าอพอลโลและโมดที่สื่อถึงความป่าเถื่อนอึกทึกครึกโครมใช้กับพิธีกรรมของเทพเจ้าไดโอนีซัส ผลสะท้อนของแนวคิดที่กล่าวถึงนี้ทำให้ดนตรีของกรีกมีทั้งการแสดงออกถึงความซับซ้อนของท่วงทำนองจากการบรรเลงของเครื่องดนตรีล้วน ๆ ในการแสดงเพื่อการแข่งขันหรือในงานฉลอง
ต่าง ๆ และดนตรีที่แสดงออกถึงรูปแบบที่มีมาตรฐานซึ่งสัมพันธ์กับการบรรยายเรื่องราวตำนานของวีรบุรุษและการศึกษาสำหรับพวกสังคมชั้นสูงที่เต็มไปด้วยปรัชญาอันลึกซึ้งในหนังสือ Poetics นั้น อริสโตเติล (Aristotle) ได้อธิบายว่าดนตรีมีอำนาจเหนือจิตใจมนุษย์อย่างไรบ้าง เขากล่าวว่าดนตรีเลียนแบบอารมณ์ต่าง ๆ ของมนุษย์ ฉะนั้นเมื่อมนุษย์ได้ยินดนตรีซึ่งเลียนแบบอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง ก็จะเกิดมีความรู้สึกคล้อยตามไปด้วยทฤษฎีดนตรีกรีกของ Aristoxenus กลายเป็นพื้นฐานสำคัญของทฤษฎีดนตรีในปัจจุบันโดยได้เสนอผลงานระบบเสียงที่เรียกว่า เตตราคอร์ด (Tetrachord) 3 ชนิด คือ Diatonic, Chromatic, และ Enharmonic โดยเสียงที่อยู่ภายในคู่ 4 เพอร์เฟคจะถูกเรียกว่า Shade ดังตัวอย่าง

 

credit  http://www.lks.ac.th/band/Image63.gif

          ถ้าได้ยินดนตรีที่กระตุ้นอารมณ์ที่ทำให้จิตใจต่ำบ่อย ๆ เข้าก็ทำให้เขาพลอยมีจิตใจต่ำไปด้วยตรงกันข้ามถ้ามีโอกาสได้ฟังดนตรีที่ช่วยยกระดับจิตใจก็จะทำให้ผู้นั้นเป็นคนที่มีจิตใจสูง ดังนั้น เปลโตและอริสโตเติล มีความคิดเห็นตรงกันในข้อที่ว่าหลักสูตรการศึกษาควรประกอบด้วยวิชากีฬาและดนตรีที่ถูกต้อง เพื่อเป็นการฝึกทั้งร่างกายและจิตใจ เปลโตสอนว่า การเรียนดนตรีอย่างเดียวทำให้อ่อนแอและเป็นคนมีปัญหา การเรียนกีฬาอย่างเดียวทำให้เป็นคนที่อารมณ์ก้าวร้าวและไม่ฉลาด ยิ่งกว่านั้นเปลโตยังได้กำหนดไว้ว่า ดนตรีที่เหมาะสมสำหรับการศึกษาไม่ควรมีลีลาที่ทำให้อารมณ์อ่อนไหวควรใช้ทำนองที่มีลีลาดอเรียน(Dorian)และฟรีเจียน (Phrygian)”  

credit   http://www.lks.ac.th/band/Image64.gif     

 บันไดเสียงทั้งสองข้างต้นทำให้เกิดอารมณ์กล้าหาญและสุภาพเรียบร้อย เปลโตเชื่อว่าดนตรีมีอำนาจในการที่จะเปลี่ยนนิสัยของมนุษย์จนกระทั่งในบางกรณีสามารถรักษาโรคให้หายได้นี่คือทฤษฎีอีธอส (Ethos) ของดนตรี เปลโตยังเคยกล่าวไว้ว่า จะให้ใครเป็นผู้เขียนกฎหมายก็แล้วแต่ ขอให้ข้าพเจ้าได้เป็นผู้แต่งเพลงประจำชาติก็แล้วกัน นี่หมายถึงว่า กฎหมายเพียงแต่กำหนดขอบเขตความประพฤติของคนจากภายนอก แต่อีธอสของดนตรีสามารถเข้าถึงจิตใจมนุษย์ และคุมนิสัยจากภายในได้ จากการศึกษาหลักฐานต่าง ๆ สรุปได้ว่าดนตรีกรีกน่าจะเป็นดนตรีเน้นเสียงแนวเดียว (Monophonic music) กล่าวคือเน้นเฉพาะแนวทำนองโดยไม่มีแนวประสานเสียง 
ทำให้โครงสร้างของทำนองมีความสลับซับซ้อน ระยะขั้นคู่เสียงที่ใช้จะห่างกันน้อยกว่าครึ่งเสียงได้ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่าไมโครโทน (Microtones) ดนตรีกรีกมีหลายรูปแบบ นับตั้งแต่ดนตรีที่บรรเลง ด้วยเครื่องดนตรีล้วน ๆ ไม่มีการร้องไปจนถึงการร้องบทกวีแต่รูปแบบที่นับว่าสำคัญ ได้แก่ การร้องหมู่ ซึ่งพบได้ในละครของกรีก ในระยะแรกการร้องหมู่ใช้ในการสรรเสริญพระเจ้าและวีรบุรุษซึ่งมักมีการเต้นรำประกอบเพลงร้องด้วย
 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 588 คน กำลังออนไลน์