• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fd3dc5734f269b86c66028b14f95b7e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #333300\"><span style=\"color: #333300\"><u>ธรรมเนียมการดื่มชา</u></span></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #333300\"></span></strong></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"315\" src=\"/files/u31525/tea_c.jpg\" height=\"320\" />\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #333300\">credit : <a href=\"/files/u31525/tea_c.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u31525/tea_c.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #688a00\"><span style=\"color: #333300\">อาฟเตอร์นูนที หรือมื้อน้ำชายามบ่าย <br />\n</span>        แอนนา 7th Duchess of Bedford เป็นเจ้าของความคิดของมื้อน้ำชายามบ่ายนี้ขึ้นในต้นศตวรรษที่ 18 แอนนาเสนอให้มีมื้อน้ำชาในช่วงราวสี่หรือห้าโมงเย็น เพื่อเป็นการรองท้องระหว่างอาหารมื้อเที่ยงและมื้อเย็น และในช่วงก่อนหน้านี้เล็กน้อยเอิร์ล ออฟ แซนวิชได้เป็นผู้คิดค้นการใส่ไส้ระหว่างขนมปังสองแผ่น มื้อน้ำชานี้ต่อมาสามารถนำมาใช้เป็นกิจกรรมทางสังคมอย่างหนึ่งได้เป็นอย่างดี และเริ่มเป็นแนวนิยมที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวิถีการดำเนินชีวิตของชาวอังกฤษ  </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #688a00\"><span style=\"color: #333300\">ที การ์เดน และ ที แดนซ์</span> <br />\n        เมื่อกระแสความนิยมการดื่มชาได้แพร่หลายออกไป การดื่มชายังได้กลายเป็นการพักผ่อนนอกบ้านอย่างหนึ่งของชาวอังกฤษ ราวปี ค.ศ. 1732 ในตอนเย็นมีการเต้นรำและชมการจุดพลุในสวน Vauxhall หรือ Ranelagh Gardens และจะมีการเสิร์ฟน้ำชาด้วย ดังนั้นจึงมี Tea gardens ให้บริการอยู่ทั่วสหราชอาณาจักรในวันเสาร์และวันอาทิตย์ โดยมีการเสิร์ฟน้ำชา เนื่องจากมีการเต้นรำสอดแทรกอยู่ในงานรื่นเริงนี้ดังนั้นจากการดื่มชาในสวนจึงได้มีการเริ่มมี tea dance ขึ้นมาด้วยและได้รับความนิยมและถือเป็นงานรื่นเริงที่ทันสมัย จนกระทั่งมาเสื่อมความนิยมลงในยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ยังมีการจัด tea dance ในสหราชอาณาจักร </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #688a00\"><span style=\"color: #333300\">Teetotal  </span><br />\n        ค่าเข้าสวนที่ทันสมัยอย่าง Vauxhall หรือ Ranalagh Gardens จะรวมค่าน้ำชาและขนมปังพร้อมเนยด้วย ซึ่งเป็นเครื่องดื่มต้อนรับหลังการแสดงเสร็จสิ้นลง แต่เนื่องจากมีการเจริญเติบโตของสังคมเมืองอย่างรวดเร็วในช่วงต้นศตวรรษที่ 18 จึงทำให้มีการปิดสวนลงและที่เดียวที่จะเสิร์ฟชาในตอนเย็นได้คือผับหรือโรงแรม ในปัจจุบันชาถือว่ามีบทบาทสำคัญในการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านการดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เกินพอดี (โดยเฉพาะเครื่องดื่มจำพวกจิน) และได้มีการจัดประชุมเรื่องน้ำชาอย่างแพร่หลายทั่ว สหราชอาณาจักรเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดื่มและเพื่อเป็นการหาเงินเข้ามาด้วย เชื่อกันว่าวลีที่ว่า \'teetotal\' (total abstinence from alcohol) น่าจะมาจากเครื่องดื่มชนิดนี้นั่นเอง </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #688a00\"><span style=\"color: #333300\">High tea</span><br />\n         ในสังคมแรงงานและเกษตรกรรม afternoon tea ได้กลายมาเป็น high tea โดยถือเป็นอาหารมื้อหนึ่งของวัน เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างมื้อน้ำชายามบ่ายเบาๆที่ดื่มกันในห้องนั่งเล่นของสุภาพสตรีกับอาหารมื้อเย็นที่รับประทานตอนหนึ่งทุ่มหรือสองทุ่ม high tea จะมีการเสิร์ฟเนื้อสัตว์ ขนมปัง เค้กและน้ำชาร้อนๆ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #688a00\"><strong><span style=\"color: #333300\">Tea breaks</span> <br />\n        Tea breaks เป็นวัฒนธรรมที่อยู่คู่กับสหราชอาณาจักรมาราวๆ 200 ปีแล้ว โดยในขั้นต้น คนงานจะทำงานตั้งแต่เวลาตีห้าหรือหกโมงเช้า นายจ้างจะให้มีการพักในช่วงเช้าโดยจะมีการเสิร์ฟชาและอาหาร นายจ้างบางคนให้พักอีกครั้งในตอนบ่ายด้วย  <br />\n  <br />\n       ในระหว่างปี ค.ศ. 1741 ถึง 1820 นักอุตสาหกรรม เจ้าของที่ดินและนักบวชต่างพยายามที่จะล้มเลิกการพักดื่มน้ำชานี้ โดยอ้างเหตุผลว่าการดื่มน้ำชาและการพักจะทำให้คนงานเฉื่อยชา แต่ตามแนวความคิดยุคใหม่นั้นกลับมองว่าการพักดื่มน้ำชานับเป็นสิ่งสำคัญและช่วยรักษาสมดุลย์ของร่างกายทำให้มีสุขภาพดี <br />\n</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><a href=\"/node/72333\">&gt;&gt; BACK &lt;&lt;</a></strong>\n</p>\n', created = 1725920149, expire = 1726006549, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fd3dc5734f269b86c66028b14f95b7e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธรรมเนียมการดื่มชา

รูปภาพของ sss27786

ธรรมเนียมการดื่มชา

credit : http://www.thaigoodview.com/files/u31525/tea_c.jpg

อาฟเตอร์นูนที หรือมื้อน้ำชายามบ่าย
        แอนนา 7th Duchess of Bedford เป็นเจ้าของความคิดของมื้อน้ำชายามบ่ายนี้ขึ้นในต้นศตวรรษที่ 18 แอนนาเสนอให้มีมื้อน้ำชาในช่วงราวสี่หรือห้าโมงเย็น เพื่อเป็นการรองท้องระหว่างอาหารมื้อเที่ยงและมื้อเย็น และในช่วงก่อนหน้านี้เล็กน้อยเอิร์ล ออฟ แซนวิชได้เป็นผู้คิดค้นการใส่ไส้ระหว่างขนมปังสองแผ่น มื้อน้ำชานี้ต่อมาสามารถนำมาใช้เป็นกิจกรรมทางสังคมอย่างหนึ่งได้เป็นอย่างดี และเริ่มเป็นแนวนิยมที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวิถีการดำเนินชีวิตของชาวอังกฤษ 

ที การ์เดน และ ที แดนซ์
        เมื่อกระแสความนิยมการดื่มชาได้แพร่หลายออกไป การดื่มชายังได้กลายเป็นการพักผ่อนนอกบ้านอย่างหนึ่งของชาวอังกฤษ ราวปี ค.ศ. 1732 ในตอนเย็นมีการเต้นรำและชมการจุดพลุในสวน Vauxhall หรือ Ranelagh Gardens และจะมีการเสิร์ฟน้ำชาด้วย ดังนั้นจึงมี Tea gardens ให้บริการอยู่ทั่วสหราชอาณาจักรในวันเสาร์และวันอาทิตย์ โดยมีการเสิร์ฟน้ำชา เนื่องจากมีการเต้นรำสอดแทรกอยู่ในงานรื่นเริงนี้ดังนั้นจากการดื่มชาในสวนจึงได้มีการเริ่มมี tea dance ขึ้นมาด้วยและได้รับความนิยมและถือเป็นงานรื่นเริงที่ทันสมัย จนกระทั่งมาเสื่อมความนิยมลงในยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ยังมีการจัด tea dance ในสหราชอาณาจักร

Teetotal 
        ค่าเข้าสวนที่ทันสมัยอย่าง Vauxhall หรือ Ranalagh Gardens จะรวมค่าน้ำชาและขนมปังพร้อมเนยด้วย ซึ่งเป็นเครื่องดื่มต้อนรับหลังการแสดงเสร็จสิ้นลง แต่เนื่องจากมีการเจริญเติบโตของสังคมเมืองอย่างรวดเร็วในช่วงต้นศตวรรษที่ 18 จึงทำให้มีการปิดสวนลงและที่เดียวที่จะเสิร์ฟชาในตอนเย็นได้คือผับหรือโรงแรม ในปัจจุบันชาถือว่ามีบทบาทสำคัญในการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านการดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เกินพอดี (โดยเฉพาะเครื่องดื่มจำพวกจิน) และได้มีการจัดประชุมเรื่องน้ำชาอย่างแพร่หลายทั่ว สหราชอาณาจักรเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดื่มและเพื่อเป็นการหาเงินเข้ามาด้วย เชื่อกันว่าวลีที่ว่า 'teetotal' (total abstinence from alcohol) น่าจะมาจากเครื่องดื่มชนิดนี้นั่นเอง

High tea
         ในสังคมแรงงานและเกษตรกรรม afternoon tea ได้กลายมาเป็น high tea โดยถือเป็นอาหารมื้อหนึ่งของวัน เป็นการพบกันครึ่งทางระหว่างมื้อน้ำชายามบ่ายเบาๆที่ดื่มกันในห้องนั่งเล่นของสุภาพสตรีกับอาหารมื้อเย็นที่รับประทานตอนหนึ่งทุ่มหรือสองทุ่ม high tea จะมีการเสิร์ฟเนื้อสัตว์ ขนมปัง เค้กและน้ำชาร้อนๆ

Tea breaks
        Tea breaks เป็นวัฒนธรรมที่อยู่คู่กับสหราชอาณาจักรมาราวๆ 200 ปีแล้ว โดยในขั้นต้น คนงานจะทำงานตั้งแต่เวลาตีห้าหรือหกโมงเช้า นายจ้างจะให้มีการพักในช่วงเช้าโดยจะมีการเสิร์ฟชาและอาหาร นายจ้างบางคนให้พักอีกครั้งในตอนบ่ายด้วย  
 
       ในระหว่างปี ค.ศ. 1741 ถึง 1820 นักอุตสาหกรรม เจ้าของที่ดินและนักบวชต่างพยายามที่จะล้มเลิกการพักดื่มน้ำชานี้ โดยอ้างเหตุผลว่าการดื่มน้ำชาและการพักจะทำให้คนงานเฉื่อยชา แต่ตามแนวความคิดยุคใหม่นั้นกลับมองว่าการพักดื่มน้ำชานับเป็นสิ่งสำคัญและช่วยรักษาสมดุลย์ของร่างกายทำให้มีสุขภาพดี

>> BACK <<

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 527 คน กำลังออนไลน์