• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ธรรมนัส “อย่าซื้อที่ ส.ป.ก.4-01 และใบ ภบท.5 ทำลายป่า”', 'node/230343', '', '18.227.111.58', 0, '273d4bc91573021fed1a39c92eacdc4f', 159, 1716130752) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:107c6585e6341eef944adf7cc5a9111f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Arial\">ที่อยู่อาศัยไม่ใช่ปัญหาเร่งด่วนตามคณะกรรมการปฏิรูปอ้าง <br />\n <br />\nดร.โสภณ พรโชคชัย<br />\n<a href=\"http://www.facebook.com/pornchokchai\" title=\"http://www.facebook.com/pornchokchai\">http://www.facebook.com/pornchokchai</a><br />\n <br />\n            ตามที่คณะกรรมการปฏิรูปที่มีนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นประธาน มีข้อสรุปประเด็นปัญหาหลักของประเทศ 14 ประเด็น โดยประเด็นแรกก็คือ “เรื่องที่อยู่อาศัยเป็นเรื่องเร่งด่วน” และตามด้วยปัญหาค่าจ้าง คุณภาพชีวิต แรงงาน สวัสดิการและการคุ้มครองทางสังคม การศึกษา หนี้สิน สาธารณสุข อิทธิพลเถื่อน ฯลฯ &lt;1&gt; นั้น ผู้เขียนในฐานะที่เคยสำรวจชุมชนแออัดทั่วเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และทุกจังหวัดทั่วประเทศมาแล้ว รวมทั้งสำรวจตลาดอสังหาริมทรัพย์ทุกประเภทมาตั้งแต่ พ.ศ.2537 เห็นว่า ข้อสรุปนี้อาจเป็นความเข้าใจคลาดเคลื่อน จึงขอเสนอข้อมูลเพื่อความกระจ่าง<br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Arial\">[img]http://www.area.co.th/images/img_clips/2010-08-09_clip_image002_0006.gif[/img]<br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Arial\">            1.   ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา สถานการณ์ที่อยู่อาศัยค่อนข้างดี สัดส่วนของประชากรเมืองซึ่งมักจะอยู่กันอย่างแออัดกว่า มีอยู่ค่อนข้างต่ำ คือมีเพียง 31% หรือหนึ่งในสามของประชากรทั้งประเทศเท่านั้น  จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่า แม้จำนวนประชากรเมืองจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2543-2547 แต่เป็นเพราะการยกฐานะเทศบาลขึ้นใหม่หลายแห่ง แต่ในช่วงปี 2547-2552 การเพิ่มขึ้นของประชากรเมืองน้อยมาก  นอกจากนี้อัตราการขยายตัวของประชากรของไทยก็ค่อนข้างต่ำ รวมทั้งความหนาแน่นของประชากรที่ค่อนข้างต่ำเช่นกัน  ที่สำคัญจำนวนที่อยู่อาศัยเพิ่มขึ้น ทำให้ไม่เกิดความขาดแคลนที่อยู่อาศัย และทำให้จำนวนประชากรต่อบ้านลดลงตามลำดับ ซึ่งสะท้อนถึงคุณภาพการอยู่อาศัยที่ดีขึ้น<br />\n  \n<div>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Arial\">[img]http://www.area.co.th/images/img_clips/20100809_clip_image004_0002.gif[/img]</span>\n</div>\n<div>\n            2. ในประเทศไทย ครัวเรือนส่วนใหญ่ถึงสามในสี่โดยประมาณ มีบ้านและที่ดินเป็นของตนเอง ซึ่งนับว่าสูงมาก  หากนับรวมผู้ที่มีบ้านบนที่ดินเช่าด้วยแล้ว ครัวเรือนที่มีบ้านจะสูงถึงสี่ในห้าของครัวเรือนทั้งหมด  นี่เป็นดัชนีที่ชี้ให้เห็นว่าปัญหาที่อยู่อาศัยในประเทศไทยแทบจะไม่มีเลย  ตลอดช่วง 7 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2543-2550) สัดส่วนของบ้านเช่าเพิ่มขึ้นจาก 11.1 เป็นเพียง 12.2% เท่านั้น  ซึ่งก็คงเป็นไปตามภาวะของเมืองยุคใหม่ที่มีการเช่าบ้านมากขึ้น แต่ก็แทบจะไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงนักในกรณีของประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา\n</div>\n<div>\n<div>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Arial\">[img]http://www.area.co.th/images/img_clips/20100809_clip_image006_0002.gif[/img]</span> \n</div>\n<div>\n<br />\n            3. เมื่อตรวจสอบดูจากค่าใช้จ่ายต่อเดือนของครัวเรือน พบว่า รายจ่ายสำหรับที่อยู่อาศัยมีสัดส่วนประมาณ 18% - 25% ของรายจ่ายทั้งหมด หรือเพียงหนึ่งในห้า – หนึ่งในสี่ของรายจ่ายทั้งหมดเท่านั้น ซึ่งนับว่าน้อยมาก สัดส่วนรายจ่ายด้านที่อยู่อาศัยโดยรวมกลับลดลงเล็กน้อย จาก 22% ในปี 2543 เป็น 20% ในปี 2550  การนี้แสดงให้เห็นว่าภาระของที่อยู่อาศัยคงมีไม่มากนักสำหรับครัวเรือนในประเทศไทย<br />\n <br />\n            4. จากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนล่าสุด ณ สิ้นปี พ.ศ. 2552 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า สัดส่วนของหนี้สินของครัวเรือนไทยลดลงจาก 63.3% ในปี 2550 เหลือ 60.9% ในปี 2552 แสดงว่าสถานการณ์หนี้ดีขึ้น และหนี้ในด้านที่อยู่อาศัยมีสัดส่วนเพียงหนึ่งในสามเท่านั้น &lt;2&gt; แสดงว่าภาระหนี้สินด้านที่อยู่อาศัยของประชาชนมีไม่มากนัก<br />\n <br />\n            5. สำหรับจำนวนที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนั้น มีอยู่ 4,325,791 หน่วย ณ ปี 2552 &lt;3&gt; ในขณะที่ปีที่กรุงเทพมหานครฉลองครบรอบ 200 ปีนั้น มีบ้านอยู่เพียง 1 ล้านหน่วยเท่านั้น  แสดงว่ามีการก่อสร้างที่อยู่อาศัยเกิดขึ้นมาก โดยเฉพาะบ้านจัดสรรและอาคารชุดภาคเอกชน ที่เกิดขึ้นจำนวนมาก  จนทดแทนชุมชนแออัดและชุมชนผู้มีรายได้น้อยอื่น  ณ ปี 2500 มีบ้านที่ต่ำกว่ามาตรฐานถึง 46% ของทั้งหมด &lt;4&gt;  ในขณะที่ปัจจุบันเหลือชุมชนแออัดในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไม่เกิน 5% ของที่อยู่อาศัยทั้งหมดเท่านั้น  สถานการณ์ที่อยู่อาศัยและการอยู่อาศัยของครัวเรือนไทยดีขึ้นอย่างเด่นชัดในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา<br />\n            จากข้อมูลทั้งหมดนี้ชี้ให้เห็นว่า ปัญหาที่อยู่ไม่สมควรถูกจัดเป็นปัญหาหลักหนึ่งใน 14 ปัญหาของประเทศแต่อย่างใด  หากรัฐบาลนำข้อมูลที่คลาดเคลื่อนนี้ไปใช้ ก็อาจเกิดโครงการที่ไม่เป็นประโยชน์ เช่น บ้านมั่นคง และบ้านเอื้ออาทร ที่ช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยเพียงบางส่วน โดยสิ้นเปลืองงบประมาณจำนวนมากเกินความจำเป็นนับพันนับหมื่นล้าน ทำให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรของประเทศชาติ<br />\n <br />\nอ้างอิง<br />\n&lt;1&gt;    มติชนออนไลน์ 2 สิงหาคม 2553 เวลา 20:51:39 น.: <a href=\"http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1280757171&amp;grpid&amp;catid=01\" title=\"http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1280757171&amp;grpid&amp;catid=01\">http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1280757171&amp;grpid&amp;catid=01</a><br />\n&lt;2&gt;    บทสรุปสำหรับผู้บริหาร การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2552 <a href=\"http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/socioExec52.pdf\" title=\"http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/socioExec52.pdf\">http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/socioExec52.pdf</a><br />\n&lt;3&gt;    ข้อมูลกรมการปกครอง <a href=\"http://203.113.86.149/xstat/pop52_1.html\" title=\"http://203.113.86.149/xstat/pop52_1.html\">http://203.113.86.149/xstat/pop52_1.html</a><br />\n&lt;4&gt;    Litchfield Whiting Browne and Associates et.al. (1960). Greater Bangkok Plan B.E. 2533 (1990). Bangkok, Department of Town and Country Planning. หน้า 84\n</div>\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n', created = 1716130761, expire = 1716217161, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:107c6585e6341eef944adf7cc5a9111f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ที่อยู่อาศัยไม่ใช่ปัญหาเร่งด่วนตามคณะกรรมการปฏิรูปอ้าง

รูปภาพของ pornchokchai
ที่อยู่อาศัยไม่ใช่ปัญหาเร่งด่วนตามคณะกรรมการปฏิรูปอ้าง
 
ดร.โสภณ พรโชคชัย
http://www.facebook.com/pornchokchai
 
            ตามที่คณะกรรมการปฏิรูปที่มีนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นประธาน มีข้อสรุปประเด็นปัญหาหลักของประเทศ 14 ประเด็น โดยประเด็นแรกก็คือ “เรื่องที่อยู่อาศัยเป็นเรื่องเร่งด่วน” และตามด้วยปัญหาค่าจ้าง คุณภาพชีวิต แรงงาน สวัสดิการและการคุ้มครองทางสังคม การศึกษา หนี้สิน สาธารณสุข อิทธิพลเถื่อน ฯลฯ <1> นั้น ผู้เขียนในฐานะที่เคยสำรวจชุมชนแออัดทั่วเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และทุกจังหวัดทั่วประเทศมาแล้ว รวมทั้งสำรวจตลาดอสังหาริมทรัพย์ทุกประเภทมาตั้งแต่ พ.ศ.2537 เห็นว่า ข้อสรุปนี้อาจเป็นความเข้าใจคลาดเคลื่อน จึงขอเสนอข้อมูลเพื่อความกระจ่าง
[img]http://www.area.co.th/images/img_clips/2010-08-09_clip_image002_0006.gif[/img]
            1.   ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา สถานการณ์ที่อยู่อาศัยค่อนข้างดี สัดส่วนของประชากรเมืองซึ่งมักจะอยู่กันอย่างแออัดกว่า มีอยู่ค่อนข้างต่ำ คือมีเพียง 31% หรือหนึ่งในสามของประชากรทั้งประเทศเท่านั้น  จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่า แม้จำนวนประชากรเมืองจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2543-2547 แต่เป็นเพราะการยกฐานะเทศบาลขึ้นใหม่หลายแห่ง แต่ในช่วงปี 2547-2552 การเพิ่มขึ้นของประชากรเมืองน้อยมาก  นอกจากนี้อัตราการขยายตัวของประชากรของไทยก็ค่อนข้างต่ำ รวมทั้งความหนาแน่นของประชากรที่ค่อนข้างต่ำเช่นกัน  ที่สำคัญจำนวนที่อยู่อาศัยเพิ่มขึ้น ทำให้ไม่เกิดความขาดแคลนที่อยู่อาศัย และทำให้จำนวนประชากรต่อบ้านลดลงตามลำดับ ซึ่งสะท้อนถึงคุณภาพการอยู่อาศัยที่ดีขึ้น
 
[img]http://www.area.co.th/images/img_clips/20100809_clip_image004_0002.gif[/img]
            2. ในประเทศไทย ครัวเรือนส่วนใหญ่ถึงสามในสี่โดยประมาณ มีบ้านและที่ดินเป็นของตนเอง ซึ่งนับว่าสูงมาก  หากนับรวมผู้ที่มีบ้านบนที่ดินเช่าด้วยแล้ว ครัวเรือนที่มีบ้านจะสูงถึงสี่ในห้าของครัวเรือนทั้งหมด  นี่เป็นดัชนีที่ชี้ให้เห็นว่าปัญหาที่อยู่อาศัยในประเทศไทยแทบจะไม่มีเลย  ตลอดช่วง 7 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2543-2550) สัดส่วนของบ้านเช่าเพิ่มขึ้นจาก 11.1 เป็นเพียง 12.2% เท่านั้น  ซึ่งก็คงเป็นไปตามภาวะของเมืองยุคใหม่ที่มีการเช่าบ้านมากขึ้น แต่ก็แทบจะไม่เห็นความเปลี่ยนแปลงนักในกรณีของประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมา
[img]http://www.area.co.th/images/img_clips/20100809_clip_image006_0002.gif[/img] 

            3. เมื่อตรวจสอบดูจากค่าใช้จ่ายต่อเดือนของครัวเรือน พบว่า รายจ่ายสำหรับที่อยู่อาศัยมีสัดส่วนประมาณ 18% - 25% ของรายจ่ายทั้งหมด หรือเพียงหนึ่งในห้า – หนึ่งในสี่ของรายจ่ายทั้งหมดเท่านั้น ซึ่งนับว่าน้อยมาก สัดส่วนรายจ่ายด้านที่อยู่อาศัยโดยรวมกลับลดลงเล็กน้อย จาก 22% ในปี 2543 เป็น 20% ในปี 2550  การนี้แสดงให้เห็นว่าภาระของที่อยู่อาศัยคงมีไม่มากนักสำหรับครัวเรือนในประเทศไทย
 
            4. จากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนล่าสุด ณ สิ้นปี พ.ศ. 2552 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า สัดส่วนของหนี้สินของครัวเรือนไทยลดลงจาก 63.3% ในปี 2550 เหลือ 60.9% ในปี 2552 แสดงว่าสถานการณ์หนี้ดีขึ้น และหนี้ในด้านที่อยู่อาศัยมีสัดส่วนเพียงหนึ่งในสามเท่านั้น <2> แสดงว่าภาระหนี้สินด้านที่อยู่อาศัยของประชาชนมีไม่มากนัก
 
            5. สำหรับจำนวนที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนั้น มีอยู่ 4,325,791 หน่วย ณ ปี 2552 <3> ในขณะที่ปีที่กรุงเทพมหานครฉลองครบรอบ 200 ปีนั้น มีบ้านอยู่เพียง 1 ล้านหน่วยเท่านั้น  แสดงว่ามีการก่อสร้างที่อยู่อาศัยเกิดขึ้นมาก โดยเฉพาะบ้านจัดสรรและอาคารชุดภาคเอกชน ที่เกิดขึ้นจำนวนมาก  จนทดแทนชุมชนแออัดและชุมชนผู้มีรายได้น้อยอื่น  ณ ปี 2500 มีบ้านที่ต่ำกว่ามาตรฐานถึง 46% ของทั้งหมด <4>  ในขณะที่ปัจจุบันเหลือชุมชนแออัดในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลไม่เกิน 5% ของที่อยู่อาศัยทั้งหมดเท่านั้น  สถานการณ์ที่อยู่อาศัยและการอยู่อาศัยของครัวเรือนไทยดีขึ้นอย่างเด่นชัดในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา
            จากข้อมูลทั้งหมดนี้ชี้ให้เห็นว่า ปัญหาที่อยู่ไม่สมควรถูกจัดเป็นปัญหาหลักหนึ่งใน 14 ปัญหาของประเทศแต่อย่างใด  หากรัฐบาลนำข้อมูลที่คลาดเคลื่อนนี้ไปใช้ ก็อาจเกิดโครงการที่ไม่เป็นประโยชน์ เช่น บ้านมั่นคง และบ้านเอื้ออาทร ที่ช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยเพียงบางส่วน โดยสิ้นเปลืองงบประมาณจำนวนมากเกินความจำเป็นนับพันนับหมื่นล้าน ทำให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรของประเทศชาติ
 
อ้างอิง
<1>    มติชนออนไลน์ 2 สิงหาคม 2553 เวลา 20:51:39 น.: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1280757171&grpid&catid=01
<2>    บทสรุปสำหรับผู้บริหาร การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2552 http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/service/survey/socioExec52.pdf
<3>    ข้อมูลกรมการปกครอง http://203.113.86.149/xstat/pop52_1.html
<4>    Litchfield Whiting Browne and Associates et.al. (1960). Greater Bangkok Plan B.E. 2533 (1990). Bangkok, Department of Town and Country Planning. หน้า 84

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 283 คน กำลังออนไลน์