• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0733d50c0281ced8b5fbdddad438d305' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><meta content=\"Word.Document\" name=\"ProgId\" /><br />\n<meta content=\"Microsoft Word 12\" name=\"Generator\" /><br />\n<meta content=\"Microsoft Word 12\" name=\"Originator\" /></p>\n<link href=\"file:///C:%5CUsers%5CCAF2%7E1%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml\" rel=\"File-List\" />\n<link href=\"file:///C:%5CUsers%5CCAF2%7E1%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx\" rel=\"themeData\" />\n<link href=\"file:///C:%5CUsers%5CCAF2%7E1%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml\" rel=\"colorSchemeMapping\" />\n<style>\n<!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:SimSun;\npanose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1;\nmso-font-alt:宋体;\nmso-font-charset:134;\nmso-generic-font-family:auto;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:3 680460288 22 0 262145 0;}\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n{font-family:\"Cambria Math\";\npanose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;\nmso-font-charset:1;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-format:other;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:0 0 0 0 0 0;}\n@font-face\n{font-family:AngsanaUPC;\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n{font-family:\"\\@SimSun\";\npanose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1;\nmso-font-charset:134;\nmso-generic-font-family:auto;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:3 680460288 22 0 262145 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-unhide:no;\nmso-style-qformat:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmargin:0cm;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\",\"serif\";\nmso-fareast-font-family:SimSun;\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";\nmso-fareast-language:ZH-CN;}\n.MsoChpDefault\n{mso-style-type:export-only;\nmso-default-props:yes;\nfont-size:10.0pt;\nmso-ansi-font-size:10.0pt;\nmso-bidi-font-size:10.0pt;\nmso-fareast-font-family:SimSun;\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page WordSection1\n{size:612.0pt 792.0pt;\nmargin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;\nmso-header-margin:36.0pt;\nmso-footer-margin:36.0pt;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.WordSection1\n{page:WordSection1;}\n--><!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:SimSun;\npanose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1;\nmso-font-alt:宋体;\nmso-font-charset:134;\nmso-generic-font-family:auto;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:3 680460288 22 0 262145 0;}\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n{font-family:\"Cambria Math\";\npanose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;\nmso-font-charset:1;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-format:other;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:0 0 0 0 0 0;}\n@font-face\n{font-family:AngsanaUPC;\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n{font-family:\"\\@SimSun\";\npanose-1:2 1 6 0 3 1 1 1 1 1;\nmso-font-charset:134;\nmso-generic-font-family:auto;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:3 680460288 22 0 262145 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-unhide:no;\nmso-style-qformat:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmargin:0cm;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\",\"serif\";\nmso-fareast-font-family:SimSun;\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";\nmso-fareast-language:ZH-CN;}\n.MsoChpDefault\n{mso-style-type:export-only;\nmso-default-props:yes;\nfont-size:10.0pt;\nmso-ansi-font-size:10.0pt;\nmso-bidi-font-size:10.0pt;\nmso-fareast-font-family:SimSun;\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page WordSection1\n{size:612.0pt 792.0pt;\nmargin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;\nmso-header-margin:36.0pt;\nmso-footer-margin:36.0pt;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.WordSection1\n{page:WordSection1;}\n--></style><p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ภาพพจน์<span>  </span></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">คือ คำหรือกลุ่มคำที่สร้างขึ้นจากกลวิธีในการใช้คำ<span>  </span>ทำให้เกิดภาพที่แจ่มชัดและลึกซึ้งขึ้นในใจของผู้อ่านและผู้ฟัง<span>  </span>การสร้างภาพพจน์เป็นศิลปะอย่างหนึ่งของการแต่งคำประพันธ์<span>  </span>ซึ่งผู้แต่งใช้กลวิธีการเปรียบเทียบคมคายในลักษณะต่างๆ ดังนี้</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><b>1.<span>  </span>อุปมา</b><span>  </span>ได้แก่<span>  </span>การเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกันหรือคล้ายกันโดยมีบุพบทหรือคำสันธานเชื่อม<span>  </span>เช่น<span>  </span>เหมือน<span>  </span>เปรียบ<span>  </span>ดุจ<span>  </span>ดัง<span>  </span>ประดุจ<span>  </span>เพียง<span>  </span>เฉก<span>  </span>ราว<span>  </span>ปาน<span>  </span>ประหนึ่ง<span>  </span>เหมือนดั่ง<span>  </span>ประเล่ห์<span>  </span>ฯลฯ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ตัวอย่าง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span><span>                </span>“ฉุกใจได้คิดสิการแล้ว<span>                        </span>ดังดวงแก้วตกต้องแผ่นผา</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ร้าวระยำช้ำจิตเจ็บอุรา<span>                                        </span>ประหนึ่งว่าจะวายชีวี”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>“โอ้ว่าดวงใจอยู่ไกลลิบ<span>                       </span>เหลือจะหยิบมาชมภิรมย์ขวัญ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>เหมือนดวงดาววาววาวอยู่ไกลครัน<span>  </span>ชิดสวรรค์สุดเอื้อมมาเชยชม”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><b>2.<span>  </span>อุปลักษณ์</b><span>   </span>คือ<span>  </span>การเปรียบเทียบที่กล่าวถึงอีกสิ่งหนึ่งโดยไม่ต้องมีคำเชื่อม<span>  </span>มักใช้กิริยา<span>  </span><b>“เป็น”</b><span>  </span>หรือ <b>“คือ”</b><span>  </span>นำหน้า</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>ตัวอย่าง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>“น้ำคือมรกตแลกมล<span>                           </span>เกิดแกมโฉมกล”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>คือปัทมราชมณี”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>“นานาประเทศล้วน<span>                            </span>นับถือ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ผู้ที่รู้หนังสือ<span>                                                         </span>แต่งได้</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ใครเกลียดอักษรคือ<span>                                             </span>คนป่า</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ใครเยาะกระวีไซร้</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span>                            </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">แน่แท้คนดง”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>“ฤๅแม่เป็นมณีดวง<span>        </span>เนตรด้วย”<span>                                                </span>“โกรธคืออัคคี<span>               </span>จ่อใจ”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>“ลมพัดคือพาต้อง<span>        </span>ตรากทรวง”<span>                                </span>“ชีวิตคือการต่อสู้<span>        </span>ศัตรูคือยากำลัง”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>“เพลินฟังวังเวงเพลงเรไร<span> </span><span>             </span>พิณพาทย์ไพรกล่อมขับสำหรับดง”<o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span><b>3.<span>  </span>อติพจน์<span>  </span>หรือ<span>  </span>อธิพจน์</b><span>  </span>คือการกล่าวเกินจริง </span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt\"><span> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">หรือเปรียบเทียบเกินความจริง<span>  </span>แต่ทำให้เห็นภาพพจน์เด่นชัด</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ตัวอย่าง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt\"><span>                   </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">“ตราบขุนคีรีข้น<span>                                   </span>ขาดสลาย<span>  </span>แลแม่</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>รักบ่หายตราบหาย<span>                                               </span>หกฟ้า</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><span>        </span>สุริยจันทรขจาย<span>                                                    </span>จากโลก<span>  </span>ไปฤๅ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ไฟแล่นล้างสี่หล้า<span>                                                </span>ห่อนล้างอาลัย”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>“เรียมร่ำน้ำเนตรถ้วม<span>                          </span>ถึงพรหม</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>พาเทพเจ้าตกจม<span>                                                   </span>จ่อมม้วย</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt\"><span>          </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">พระสุเมรุเปื่อยเป็นตม<span>                                       </span>ทบท่าว<span>   </span>ลงนา</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt\"><span>          </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">หากอกนิษฐ์พรหมฉ้วย<span>                                      </span>พี่ไว้จึงคง”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>“อายุยืนหมื่นเท่าเสาศิลา<span>                    </span>อยู่คู่ฟ้าดินได้ดังใจปอง”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>4.<span>  </span>สัญลักษณ์</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>  </span>คือ<span>  </span>การให้สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่งที่มีคุณสมบัติหรือลักษณะบางประการร่วมกันทำให้เกิดความเข้าใจได้กว้างขว้าง<span>  </span>ลึกซึ้ง<span>  </span>โดยไม่ต้องใช้คำอธิบาย</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span><b>สัญลักษณ์<span>                                                             </span>แทน</b></span><b><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>หงส์<span>                                                                       </span>คนชั้นสูง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>กา<span>                                                                           </span>คนชั้นต่ำ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>แก้ว<span>                                                                        </span>ของมีค่า<span>  </span>ความดีงาม</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>สุนัขจิ้งจอก<span>                                                           </span>คนเจ้าเล่ห์</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>สีดำ<span>                                                                        </span>ความตาย<span>  </span>ความมืด<span>  </span>ความชั่ว</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>สีขาว<span>                                                                      </span>ความดี<span>  </span>ความบริสุทธิ์<span>  </span>ความงาม</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>ตัวอย่าง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt\"><span>          </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">“อันน้ำตาลหวานไว้ข้างมด<span>                               </span>มดจะอดได้หรือน้องตรึกตรองดู”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>น้ำตาล<span>   </span></span><span style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">=</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span>  </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ผู้หญิงสาว<span>                      </span>มด<span>    </span></span><span style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">=<span lang=\"TH\"><span>  </span>ผู้ชาย</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“กาลวงว่าหงส์ให้ปลงใจ<span>                                   </span>ด้วยไม่ได้ดูหงอนแต่ก่อนมา”</span><span style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>กา<span>  </span></span><span style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">=<span lang=\"TH\"><span>  </span>คนชั้นต่ำ<span>                                  </span>หงส์<span>  </span></span>=<span lang=\"TH\"><span>  </span>คนชั้นสูง</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><b>5.<span>  </span>สัทพจน์</b><span>  </span>คือ<span>  </span>การใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ<span>   </span>เลียนเสียงสัตว์<span>  </span>เสียงดนตรี<span>  </span>ฯลฯ</span><span style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ตัวอย่าง<span>          </span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“<b>ต้อยตะริดติดตี่</b>เจ้าพี่เอ๋ย<span>                                   </span>จะละเลยเร่ร่อนไปนอนไหน</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>แอ้อี๋อ่อยสร้อยฟ้าสุมาลัย<span>                                            </span>แม้นเด็ดได้แล้วไม่ร้างให้ห่างเชย”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“<b>ครืนครืน</b>ใช่ฟ้าร้อง<span>                                           </span>เรียมครวญ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><b>หึ่งหึ่ง</b>ใช่ลมหวน<span>                                                         </span>พี่ไห้”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“<b>ตะแล้กแต้กแต้ก</b>จะแหลกแล้วจ้า<span>                    </span>กระด้งรีบมาเถอะรับข้าวไป”<o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><b>6.<span>  </span>บุคลาธิษฐาน<span>  </span>หรือ บุคคลวัต</b><span>  </span>คือ<span>  </span>การกล่าวสมมติให้สิ่งต่างๆ มีกิริยาอาการอย่างมนุษย์ หรือเปรียบเทียบโดยนำเอาสิ่งที่เป็นนามธรรมมาแปลงเป็นรูปธรรม</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>ตัวอย่าง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“เสียงซากอิฐปูนสะอื้น<span>                                      </span>สะเทือนพื้นพสุธาไหว”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“เมื่อฟ้าหลั่งน้ำตา<span>                                               </span>หมู่เมฆาพาหัวร่อ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>แผ่นดินร่วมยั่วล้อ<span>                                                        </span>ลมรุมด่าว่าซ้ำเติม”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“เมขลาเหาะลอยล่อแก้วอยู่แวววับ<span>   </span><span>               </span>รามสูรขยับแสงสายมณี<span>          </span>แวววาบวาวสว่าง<span>  </span><span>                     </span>อสูรขว้างขวานประการอยู่<span>            </span>เปรี้ยงๆเสียงสนั่นลั่นโลกวิจลจลาจล”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“ลมระเริงลู่หวิวพลิ้วระลอก<span>                             </span>สัพยอกยอดไม้ไปลิ่วล่อง”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><b>7.<span>  </span>ปฏิพากย์<span>  </span></b><span>   </span>คือ<span>  </span>การกล่าวคำเปรียบเทียบในเชิงขัดแย้ง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ตัวอย่าง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“หลั่งน้ำตาสะอื้นอย่างชื่นบาน”<span>                                      </span>“เป็นความมืดที่เวิ้งว้างสว่างไสว”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“เกิดแล้วก่อน<span>  </span>ล่อแล้วเร้น<span>  </span>เย็นแล้วร้อน”<span>                     </span>“ยิ่งเย็นเยียบยิ่งเดือดมิรู้ดับ”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>“ความขมขื่นอันชื่นหวาน”<span>                                               </span>“ถึงห่างไกลแต่ก็ใกล้ในคุณธรรม”<o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>8.<span>   </span><b>นาฏการ</b><span> </span><span>  </span>คือ<span>  </span>แสดงการเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ<span>  </span>ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต<span>  </span>เช่น </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ตัวอย่าง<span>                  </span>“นกยางเลียบเหยียบปลานขาหยิก<span>                    </span>เอาปากจิกบินฮือขึ้นเวหา”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><b>9.<span>  </span>อวพจน์<span>    </span></b>คือ<b><span>  </span></b>กล่าวถึงสิ่งที่น้อยกว่าความเป็นจริง<span>  </span>เช่น</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ตัวอย่าง<span>                  </span>“หมู่วิหคโผบินไปในนภา<span>                 </span>ชั่วพริบตาล่องลอยหายในสาย”ลม</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>10. <b>นามนัย</b><span>  </span>คือ<span>   </span>ใช้ชื่อส่วนประกอบที่เด่นของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งนั้นๆ ทั้งหมด<span>  </span>เช่น</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                </span>ตัวอย่าง<span>                  </span>“ว่านครรามินทร์<span>   </span>ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช<span>  </span>เยียววิวาทชิงฉัตร”</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>11. <b>อุปมานิทัศน์<span>    </span></b>คือ <b><span>  </span></b>การใช้เรื่องราว หรือ นิทานขนาดสั้นหรือขนาดยาวประกอบ<span>  </span>เช่น</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                                </span>หมูเห็นสีหราชท้า<span>                               </span>ชวนรบ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>กูสี่ตีนพบ<span>                                                              </span>ท่านไซร้</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>อย่ากลัวท่านอย่าหลบ<span>                                         </span>หลีกจาก<span>  </span>กูนา</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>ท่านสี่ตีนอย่าได้<span>                                                   </span>วากเว้นวางหนี</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                                </span>สีหราชร้องว่าโอ้<span>                                  </span>พาลหมู</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>ทรชาติครั้นเห็นกู<span>                                                </span>เกลียดใกล้</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>ฤๅมึงใคร่รบดนู<span>                                                    </span>มึงนาศ<span>  </span>เองนา</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                </span>กูเกลียดมึงกูให้<span>                                                    </span>พ่ายแพ้ภัยตัว</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>                                                                                                                </span>(โคลงโลกนิติ)</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span>12.<span>  </span><b>อลังการ</b></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 18pt\"><span>    </span></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\">เป็นคำที่ใช้ในวรรณคดีสันสกฤต<span>  </span>แปลว่า<span>  </span>การประดับ<span>  </span>การตกแต่ง<span>  </span>เครื่องประดับ<span>       </span>เครื่องตกแต่ง<span>   </span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span>        </span><span>  </span>อลังการในบทประพันธ์<span>  </span>จึงหมายถึงสิ่งที่ช่วยเสริมความงามและความไพเราะให้แก่บทประพันธ์หนึ่งๆ อาจจะเป็นการใช้คำ<span>  </span>ภาพพจน์<span>  </span>บทเปรียบเทียบและอื่นๆ<span>  </span>คำประพันธ์ประเภทกาวฺย<span>  </span>หรือ<span>  </span>มหากาวฺย<span>  </span>ถือว่าพรรณนาโวหารและบทอุปมาอุปไมยเป็นอลังการที่สำคัญที่สุดกวีพยายามประกวดประชันกันอย่างเต็มที่<span>  </span>ใช้คำอย่างวิจิตรบรรจง<span>  </span>พรรณนาภาพต่างๆ<span>  </span>อย่างละเอียดลออ<span>  </span>และสรรหาบทอุปมาอุปไมยที่แปลกๆใหม่ๆ และน่าสนใจ<span>  </span>เพื่อดึงดูดใจผู้อ่านให้เกิดความประทับใจและซาบซึ้งในงานของตน</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> </p>\n', created = 1718107765, expire = 1718194165, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0733d50c0281ced8b5fbdddad438d305' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ใบความรู้ เรื่อง โวหารภาพพจน์

รูปภาพของ silakrusamart



ภาพพจน์  คือ คำหรือกลุ่มคำที่สร้างขึ้นจากกลวิธีในการใช้คำ  ทำให้เกิดภาพที่แจ่มชัดและลึกซึ้งขึ้นในใจของผู้อ่านและผู้ฟัง  การสร้างภาพพจน์เป็นศิลปะอย่างหนึ่งของการแต่งคำประพันธ์  ซึ่งผู้แต่งใช้กลวิธีการเปรียบเทียบคมคายในลักษณะต่างๆ ดังนี้         1.  อุปมา  ได้แก่  การเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกันหรือคล้ายกันโดยมีบุพบทหรือคำสันธานเชื่อม  เช่น  เหมือน  เปรียบ  ดุจ  ดัง  ประดุจ  เพียง  เฉก  ราว  ปาน  ประหนึ่ง  เหมือนดั่ง  ประเล่ห์  ฯลฯ         ตัวอย่าง                                 “ฉุกใจได้คิดสิการแล้ว                        ดังดวงแก้วตกต้องแผ่นผา                 ร้าวระยำช้ำจิตเจ็บอุรา                                        ประหนึ่งว่าจะวายชีวี”                                 “โอ้ว่าดวงใจอยู่ไกลลิบ                       เหลือจะหยิบมาชมภิรมย์ขวัญ                 เหมือนดวงดาววาววาวอยู่ไกลครัน  ชิดสวรรค์สุดเอื้อมมาเชยชม”         2.  อุปลักษณ์   คือ  การเปรียบเทียบที่กล่าวถึงอีกสิ่งหนึ่งโดยไม่ต้องมีคำเชื่อม  มักใช้กิริยา  “เป็น”  หรือ “คือ”  นำหน้า         ตัวอย่าง                                 “น้ำคือมรกตแลกมล                           เกิดแกมโฉมกล”                 คือปัทมราชมณี”                                 “นานาประเทศล้วน                            นับถือ                 ผู้ที่รู้หนังสือ                                                         แต่งได้                 ใครเกลียดอักษรคือ                                             คนป่า                 ใครเยาะกระวีไซร้                            แน่แท้คนดง”                                 “ฤๅแม่เป็นมณีดวง        เนตรด้วย”                                                “โกรธคืออัคคี               จ่อใจ”                                 “ลมพัดคือพาต้อง        ตรากทรวง”                                “ชีวิตคือการต่อสู้        ศัตรูคือยากำลัง”                                 “เพลินฟังวังเวงเพลงเรไร              พิณพาทย์ไพรกล่อมขับสำหรับดง”                 3.  อติพจน์  หรือ  อธิพจน์  คือการกล่าวเกินจริง  หรือเปรียบเทียบเกินความจริง  แต่ทำให้เห็นภาพพจน์เด่นชัด                 ตัวอย่าง                    “ตราบขุนคีรีข้น                                   ขาดสลาย  แลแม่                 รักบ่หายตราบหาย                                               หกฟ้า                 สุริยจันทรขจาย                                                    จากโลก  ไปฤๅ                 ไฟแล่นล้างสี่หล้า                                                ห่อนล้างอาลัย”                                   “เรียมร่ำน้ำเนตรถ้วม                          ถึงพรหม                 พาเทพเจ้าตกจม                                                   จ่อมม้วย           พระสุเมรุเปื่อยเป็นตม                                       ทบท่าว   ลงนา           หากอกนิษฐ์พรหมฉ้วย                                      พี่ไว้จึงคง”                                 “อายุยืนหมื่นเท่าเสาศิลา                    อยู่คู่ฟ้าดินได้ดังใจปอง”         4.  สัญลักษณ์  คือ  การให้สิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึ่งที่มีคุณสมบัติหรือลักษณะบางประการร่วมกันทำให้เกิดความเข้าใจได้กว้างขว้าง  ลึกซึ้ง  โดยไม่ต้องใช้คำอธิบาย                 สัญลักษณ์                                                             แทน                 หงส์                                                                       คนชั้นสูง                 กา                                                                           คนชั้นต่ำ                 แก้ว                                                                        ของมีค่า  ความดีงาม                 สุนัขจิ้งจอก                                                           คนเจ้าเล่ห์                 สีดำ                                                                        ความตาย  ความมืด  ความชั่ว                 สีขาว                                                                      ความดี  ความบริสุทธิ์  ความงาม         ตัวอย่าง           “อันน้ำตาลหวานไว้ข้างมด                               มดจะอดได้หรือน้องตรึกตรองดู”                                 น้ำตาล   =  ผู้หญิงสาว                      มด    =  ผู้ชาย                 “กาลวงว่าหงส์ให้ปลงใจ                                   ด้วยไม่ได้ดูหงอนแต่ก่อนมา”                                 กา  =  คนชั้นต่ำ                                  หงส์  =  คนชั้นสูง         5.  สัทพจน์  คือ  การใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ   เลียนเสียงสัตว์  เสียงดนตรี  ฯลฯ         ตัวอย่าง                          ต้อยตะริดติดตี่เจ้าพี่เอ๋ย                                   จะละเลยเร่ร่อนไปนอนไหน         แอ้อี๋อ่อยสร้อยฟ้าสุมาลัย                                            แม้นเด็ดได้แล้วไม่ร้างให้ห่างเชย”                 ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง                                           เรียมครวญ         หึ่งหึ่งใช่ลมหวน                                                         พี่ไห้”                 ตะแล้กแต้กแต้กจะแหลกแล้วจ้า                    กระด้งรีบมาเถอะรับข้าวไป”         6.  บุคลาธิษฐาน  หรือ บุคคลวัต  คือ  การกล่าวสมมติให้สิ่งต่างๆ มีกิริยาอาการอย่างมนุษย์ หรือเปรียบเทียบโดยนำเอาสิ่งที่เป็นนามธรรมมาแปลงเป็นรูปธรรม         ตัวอย่าง                 “เสียงซากอิฐปูนสะอื้น                                      สะเทือนพื้นพสุธาไหว”                 “เมื่อฟ้าหลั่งน้ำตา                                               หมู่เมฆาพาหัวร่อ         แผ่นดินร่วมยั่วล้อ                                                        ลมรุมด่าว่าซ้ำเติม”                   “เมขลาเหาะลอยล่อแก้วอยู่แวววับ                  รามสูรขยับแสงสายมณี          แวววาบวาวสว่าง                       อสูรขว้างขวานประการอยู่            เปรี้ยงๆเสียงสนั่นลั่นโลกวิจลจลาจล”                 “ลมระเริงลู่หวิวพลิ้วระลอก                             สัพยอกยอดไม้ไปลิ่วล่อง”         7.  ปฏิพากย์     คือ  การกล่าวคำเปรียบเทียบในเชิงขัดแย้ง                 ตัวอย่าง                 “หลั่งน้ำตาสะอื้นอย่างชื่นบาน”                                      “เป็นความมืดที่เวิ้งว้างสว่างไสว”                 “เกิดแล้วก่อน  ล่อแล้วเร้น  เย็นแล้วร้อน”                     “ยิ่งเย็นเยียบยิ่งเดือดมิรู้ดับ”                 “ความขมขื่นอันชื่นหวาน”                                               “ถึงห่างไกลแต่ก็ใกล้ในคุณธรรม”         8.   นาฏการ   คือ  แสดงการเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ  ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต  เช่น                 ตัวอย่าง                  “นกยางเลียบเหยียบปลานขาหยิก                    เอาปากจิกบินฮือขึ้นเวหา”         9.  อวพจน์    คือ  กล่าวถึงสิ่งที่น้อยกว่าความเป็นจริง  เช่น                 ตัวอย่าง                  “หมู่วิหคโผบินไปในนภา                 ชั่วพริบตาล่องลอยหายในสาย”ลม         10. นามนัย  คือ   ใช้ชื่อส่วนประกอบที่เด่นของสิ่งหนึ่งแทนสิ่งนั้นๆ ทั้งหมด  เช่น                 ตัวอย่าง                  “ว่านครรามินทร์   ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช  เยียววิวาทชิงฉัตร”         11. อุปมานิทัศน์    คือ   การใช้เรื่องราว หรือ นิทานขนาดสั้นหรือขนาดยาวประกอบ  เช่น                                                 หมูเห็นสีหราชท้า                               ชวนรบ                                 กูสี่ตีนพบ                                                              ท่านไซร้                                 อย่ากลัวท่านอย่าหลบ                                         หลีกจาก  กูนา                                 ท่านสี่ตีนอย่าได้                                                   วากเว้นวางหนี                                                 สีหราชร้องว่าโอ้                                  พาลหมู                                 ทรชาติครั้นเห็นกู                                                เกลียดใกล้                                 ฤๅมึงใคร่รบดนู                                                    มึงนาศ  เองนา                                 กูเกลียดมึงกูให้                                                    พ่ายแพ้ภัยตัว                                                                                                                 (โคลงโลกนิติ)         12.  อลังการ    เป็นคำที่ใช้ในวรรณคดีสันสกฤต  แปลว่า  การประดับ  การตกแต่ง  เครื่องประดับ       เครื่องตกแต่ง             อลังการในบทประพันธ์  จึงหมายถึงสิ่งที่ช่วยเสริมความงามและความไพเราะให้แก่บทประพันธ์หนึ่งๆ อาจจะเป็นการใช้คำ  ภาพพจน์  บทเปรียบเทียบและอื่นๆ  คำประพันธ์ประเภทกาวฺย  หรือ  มหากาวฺย  ถือว่าพรรณนาโวหารและบทอุปมาอุปไมยเป็นอลังการที่สำคัญที่สุดกวีพยายามประกวดประชันกันอย่างเต็มที่  ใช้คำอย่างวิจิตรบรรจง  พรรณนาภาพต่างๆ  อย่างละเอียดลออ  และสรรหาบทอุปมาอุปไมยที่แปลกๆใหม่ๆ และน่าสนใจ  เพื่อดึงดูดใจผู้อ่านให้เกิดความประทับใจและซาบซึ้งในงานของตน

สร้างโดย: 
ว่าที่ร้อยตรีสามารถ อรุณวรรณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 497 คน กำลังออนไลน์