• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d31247d5309b523cc490cc4974a339e2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<b>ศิลปะการเขียนพู่กันจีนและรัตนะทั้งสี่ในห้องหนังสือ </b>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u31504/W020070131360313465576.jpg\" height=\"367\" width=\"450\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\nที่มารูปภาพ  http://big5.showchina.org:81/gate/big5/www.showchina.org/rwzgxl/zgsf/200701/W020070131360313465576.JPG \n</p>\n<p>\nการเขียนพู่กันจีนเป็นศิลปะอันงดงามที่สืบทอดมาแต่โบราณของจีน ศิลปะการรังสรรค์ลายเส้นชนิดนี้ใช้พู่กันเป็นอุปกรณ์วาดลวดลายออกมาเป็นตัวอักษรจีน ศิลปะการเขียนพู่กันจีนมีกำเนิดในสมัยราชวงศ์ซางเมื่อ 3,000 ปีมาแล้ว ศิลปะชนิดนี้ไม่เพียงแต่มีคุณค่าด้านการใช้งานที่กว้างขวาง ขณะเดียวกันยังมีคุณค่าด้านความงามที่ไม่ด้อยไปกว่าศิลปะแขนงอื่น ศิลปะการเขียนพู่กันจีนมีลายเส้นและเค้าโครงที่เรียบง่าย แต่กลับสามารถสะท้อนให้เห็นความคิดอันซับซ้อนและหลากหลายของผู้เขียน ทั้งยังทำให้ผู้ชมได้สัมผัสและดื่มด่ำกับความงามอันเรียบง่ายด้วย ศิลปะแขนงนี้สะท้อนให้เห็นกฎเกณฑ์พื้นฐาน &quot;เอกภาพแห่งความแตกต่าง&quot; ของสรรพสิ่งและยังสะท้อนให้เห็นถึงจิตวิญญาณ อุปนิสัย การเรียนรู้และการเพาะบ่มทางจิตใจซึ่งเป็นสิ่งสำคัญของมนุษย์อีกด้วย\n</p>\n<p>\nในระยะเริ่มแรก (ตั้งแต่ราชวงศ์ซาง ราชวงศ์ฮั่น จนถึงยุคสามก๊ก) งานศิลปะแขนงนี้มีวิวัฒนาการตามวิวัฒนาการของตัวอักษรจีนเป็นลำดับดังนี้ ตัวอักษร เจี่ยกู่ตัวอักษรโบราณ(ตัวอักษรจิน) ตัวอักษรต้าจ้วน(ตัวอักษรโจ้ว) ตัวอักษรเสี่ยวจ้วน ตัวอักษรลี่ (ปาเฟิน) ตัวอักษรเฉ่าซู ตัวอักษรสิงซูและตัวอักษรเจิงซู\n</p>\n<p>\n&quot;เหวินฝางซื่อป่าว&quot; wénfángsìbǎo หรือรัตนะทั้งสี่ในห้องหนังสือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมซึ่งเป็นที่ภาคภูมิใจของชาวจีน &quot;เหวินฝาง&quot; wénfáng ก็คือ &quot;ซูฝาง&quot; shūfáng หรือห้องหนังสือ ชาวจีนสมัยโบราณเรียกอุปกรณ์เครื่องเขียนที่ใช้ในห้องหนังสือสี่ชนิด ได้แก่ พู่กัน หมึก กระดาษและที่ฝนหมึกว่า &quot;เหวินฝางซื่อป่าว&quot;\n</p>\n<p>\n(1) &quot;ปี่&quot; bǐ ก็คือ &quot;เหมาปี่&quot; máobǐ (พู่กัน) เป็นเครื่องเขียนที่มีเอกลัษณ์เฉพาะของจีน เนื่องจากส่วนพู่ของพู่กันทำจากขนแพะ ขนกระต่ายหรือขนของอีเห็น จึงเรียกเครื่องเขียนชนิดนี้ว่า &quot;เหมาปี่&quot; หรือเครื่องเขียนที่ทำจากขนสัตว์ ในสมัยชุนชิวก็มีการประดิษฐ์ &quot;เหมาปี่&quot; ขึ้นใช้แล้ว\n</p>\n<p>\n(2) &quot;ม่อ&quot; mò หมายถึงหมึกสีดำที่ใช้ในการเขียนหนังสือหรือวาดภาพ ส่วนใหญ่ทำจากเขม่าควันที่เกิดจากการเผาไม้สน\n</p>\n<p>\n(3) &quot;จื่อ&quot; zhǐ หรือกระดาษ กระดาษเป็นหนึ่งในสี่สิ่งประดิษฐ์สำคัญของจีนโบราณ ภายหลังสมัยราชวงศ์ถังและซ่ง ได้มีการผลิต &quot;เซวียนจื่อ&quot; xuānzhǐ ซึ่งเป็นกระดาษที่มีคุณภาพสูงขึ้น เซวียนจื่อมีคุณสมบัติพิเศษคือ สีกระดาษขาวสะอาด เนื้อกระดาษละเอียด นุ่มและเบา กระจายน้ำหมึกได้สม่ำเสมอและชัดเจน ไม่เปื่อยยุ่ยง่าย\n</p>\n<p>\n(4) &quot;เยี่ยน&quot; yàn หรือที่ฝนหมึกมีความเป็นมายาวนานถึง 5,000 ปี พบครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น จากนั้น &quot;เยี่ยน&quot; ก็ค่อยๆ เข้ามามีบทบาทในศิลปะการเขียนตัวอักษรจีนและการวาดภาพแบบโบราณ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div>\n<ul>\n<li><a href=\"/node/74307\"></a><br />\n<div style=\"text-align: center\">\n <a href=\"/node/74307\">\n<div style=\"text-align: center\">\n <img src=\"/files/u31504/images.jpg\" height=\"145\" width=\"244\" />\n </div>\n<p> </p></a>\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p></p>\n<ul>\n<li><a href=\"/node/74307\"></a><br />\n<div style=\"text-align: center\">\n <a href=\"/node/74307\">\'</a><a href=\"/node/70714\"><img src=\"/files/u31504/29230_____________.jpg\" height=\"206\" width=\"267\" /></a>\n </div>\n</li>\n</ul>\n</div>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727448513, expire = 1727534913, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d31247d5309b523cc490cc4974a339e2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศิลปะการเขียนพู่กันจีนรัตนะทั้งสี่ในห้องหนังสือและสำนวนจีนๆ

รูปภาพของ sss28804

 

ศิลปะการเขียนพู่กันจีนและรัตนะทั้งสี่ในห้องหนังสือ 

ที่มารูปภาพ  http://big5.showchina.org:81/gate/big5/www.showchina.org/rwzgxl/zgsf/200701/W020070131360313465576.JPG 

การเขียนพู่กันจีนเป็นศิลปะอันงดงามที่สืบทอดมาแต่โบราณของจีน ศิลปะการรังสรรค์ลายเส้นชนิดนี้ใช้พู่กันเป็นอุปกรณ์วาดลวดลายออกมาเป็นตัวอักษรจีน ศิลปะการเขียนพู่กันจีนมีกำเนิดในสมัยราชวงศ์ซางเมื่อ 3,000 ปีมาแล้ว ศิลปะชนิดนี้ไม่เพียงแต่มีคุณค่าด้านการใช้งานที่กว้างขวาง ขณะเดียวกันยังมีคุณค่าด้านความงามที่ไม่ด้อยไปกว่าศิลปะแขนงอื่น ศิลปะการเขียนพู่กันจีนมีลายเส้นและเค้าโครงที่เรียบง่าย แต่กลับสามารถสะท้อนให้เห็นความคิดอันซับซ้อนและหลากหลายของผู้เขียน ทั้งยังทำให้ผู้ชมได้สัมผัสและดื่มด่ำกับความงามอันเรียบง่ายด้วย ศิลปะแขนงนี้สะท้อนให้เห็นกฎเกณฑ์พื้นฐาน "เอกภาพแห่งความแตกต่าง" ของสรรพสิ่งและยังสะท้อนให้เห็นถึงจิตวิญญาณ อุปนิสัย การเรียนรู้และการเพาะบ่มทางจิตใจซึ่งเป็นสิ่งสำคัญของมนุษย์อีกด้วย

ในระยะเริ่มแรก (ตั้งแต่ราชวงศ์ซาง ราชวงศ์ฮั่น จนถึงยุคสามก๊ก) งานศิลปะแขนงนี้มีวิวัฒนาการตามวิวัฒนาการของตัวอักษรจีนเป็นลำดับดังนี้ ตัวอักษร เจี่ยกู่ตัวอักษรโบราณ(ตัวอักษรจิน) ตัวอักษรต้าจ้วน(ตัวอักษรโจ้ว) ตัวอักษรเสี่ยวจ้วน ตัวอักษรลี่ (ปาเฟิน) ตัวอักษรเฉ่าซู ตัวอักษรสิงซูและตัวอักษรเจิงซู

"เหวินฝางซื่อป่าว" wénfángsìbǎo หรือรัตนะทั้งสี่ในห้องหนังสือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมซึ่งเป็นที่ภาคภูมิใจของชาวจีน "เหวินฝาง" wénfáng ก็คือ "ซูฝาง" shūfáng หรือห้องหนังสือ ชาวจีนสมัยโบราณเรียกอุปกรณ์เครื่องเขียนที่ใช้ในห้องหนังสือสี่ชนิด ได้แก่ พู่กัน หมึก กระดาษและที่ฝนหมึกว่า "เหวินฝางซื่อป่าว"

(1) "ปี่" bǐ ก็คือ "เหมาปี่" máobǐ (พู่กัน) เป็นเครื่องเขียนที่มีเอกลัษณ์เฉพาะของจีน เนื่องจากส่วนพู่ของพู่กันทำจากขนแพะ ขนกระต่ายหรือขนของอีเห็น จึงเรียกเครื่องเขียนชนิดนี้ว่า "เหมาปี่" หรือเครื่องเขียนที่ทำจากขนสัตว์ ในสมัยชุนชิวก็มีการประดิษฐ์ "เหมาปี่" ขึ้นใช้แล้ว

(2) "ม่อ" mò หมายถึงหมึกสีดำที่ใช้ในการเขียนหนังสือหรือวาดภาพ ส่วนใหญ่ทำจากเขม่าควันที่เกิดจากการเผาไม้สน

(3) "จื่อ" zhǐ หรือกระดาษ กระดาษเป็นหนึ่งในสี่สิ่งประดิษฐ์สำคัญของจีนโบราณ ภายหลังสมัยราชวงศ์ถังและซ่ง ได้มีการผลิต "เซวียนจื่อ" xuānzhǐ ซึ่งเป็นกระดาษที่มีคุณภาพสูงขึ้น เซวียนจื่อมีคุณสมบัติพิเศษคือ สีกระดาษขาวสะอาด เนื้อกระดาษละเอียด นุ่มและเบา กระจายน้ำหมึกได้สม่ำเสมอและชัดเจน ไม่เปื่อยยุ่ยง่าย

(4) "เยี่ยน" yàn หรือที่ฝนหมึกมีความเป็นมายาวนานถึง 5,000 ปี พบครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น จากนั้น "เยี่ยน" ก็ค่อยๆ เข้ามามีบทบาทในศิลปะการเขียนตัวอักษรจีนและการวาดภาพแบบโบราณ

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 273 คน กำลังออนไลน์