• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:87a431b3ea0284c415d3e893f9c17520' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>สาวกเทคโนโลยีพึงระวัง หมอเตือน!! อย่า \'ไฮเทค\' จนลืม \'โรคภัย\'</strong></p>\n<p><img class=\"detail-image\" src=\"http://www.thairath.co.th/media/content/2010/07/30/99960/hr1667/630.jpg\" alt=\"Pic_99960\" width=\"630\" height=\"378\" /></p>\n<div class=\"column-420 column-left\">\n<div class=\"entry\">\n<p>แนะใช้งานให้ถูกสุขลักษณะ เริ่มตั้งแต่ท่านั่ง ลุกขึ้นยืดเส้นสายทุก 10-15 นาที ยันใช้งานแต่พอดีควบคู่การออกกำลังกาย ช่วยป้องกันสารพัดอาการเจ็บปวดกล้ามเนื้อได้ชะงัก...<br /> <br /> นอกเหนือความสะดวกสบายที่มาพร้อมเทคโนโลยีและอุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ ที่ตอบสนองการใช้งานได้ง่ายเพียงปลายนิ้วสัมผัส เคยสังเกตบ้างหรือไม่ว่าเรายังได้รับของแถมเป็น สารพัดอาการเจ็บ ปวด เมื่อย ล้า โดยไม่รู้ตัว คงปฏิเสธลำบาก โดยเฉพาะผู้ที่ต้องใช้เวลาอยู่กับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ทั้งทำงาน ทั้งเล่นเกม วันนี้ ทีมข่าวไอทีออนไลน์ หาคำตอบพร้อมทางออกที่รับรองว่าทำได้ง่ายๆ เพียงเริ่มจากตัวคุณ มาฝาก...</p>\n<div class=\"picture \"><img class=\"detail-image\" src=\"http://www.thairath.co.th/media/content/2010/07/30/99960/l20/o2/420/574.jpg\" alt=\"\" width=\"420\" height=\"574\" />\n<p class=\"caption\">&nbsp;</p>\n</div>\n<p><br /> นายแพทย์พรอเนก ตาดทอง ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ (เฉพาะทางกระดูกสันหลัง) โรงพยาบาลเวชธานี เปิดเผยรายละเอียดว่า ปัจจุบันมีคนไข้เข้ารับการรักษาจากการใช้เทคโนโลยีผิดประเภทค่อนข้างมาก ทั้งที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเทคโนโลยีมีความน่าสนใจมากขึ้น จึงสามารถดึงดูดความสนใจจากผู้ใช้ให้อยู่กับเทคโนโลยีเหล่านั้นนานกว่าปกติ เมื่อนั่งอยู่ซัก 2-3 ชั่วโมง จะเริ่มมีอาการปวดหลังปวดคอ เนื่องจากอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานเกินไป ส่วนปัญหาสำคัญในกลุ่มวัยรุ่น คือ พฤติกรรม ซึ่งมักจะใช้เวลาและคลุกคลีอยู่กับสิ่งที่ตนสนใจจนเคยชินทั้งคอมพิวเตอร์และมือถือ สาเหตุหลักมาจากขาดการอบรมด้านบุคลิก ต่างจากในอดีตที่พ่อแม่และครูคอยกวดขันเกี่ยวกับท่านั่งท่าเดิน รวมถึงขาดการออกกำลังกาย โดยการออกกำลังกายทำให้กล้ามเนื้อให้แข็งแรง ร่างกายจึงสามารถทนต่อภาวะต่างๆ ได้ดีขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน ด้วยท่าทางไม่ถูกสุขลักษณะจึงก่อให้เกิดอาการปวดหลังปอคอ<br /> <br /> ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลเวชธานี เล่าให้ฟังต่อว่า ในอดีต พ่อแม่พาลูกมารับการรักษาเพราะลูกนั่งอ่านหนังสือ อ่านการ์ตูนนาน แต่ขณะนี้เป็นเพราะเด็กนั่งเล่นเกม แชท หรือคุยโทรศัพท์นาน อาการที่พบบ่อยคือปวดหลังและปวดคอ โดยอาการปวดคอจะพบได้บ่อยกับพนักงานออฟฟิศ ขณะที่อาการปวดหลังจะพบได้บ่อยในวัยรุ่นซึ่งไม่สมควรจะเกิดขึ้น มีหลายเคสที่พ่อแม่พาลูกมาพบแพทย์เนื่องจากเกรงว่าอาการปวดหลังจะลุกลามเป็นโรคอื่นๆ เช่น หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทและกังวลว่าจะต้องผ่าตัด ระหว่างฟังพ่อแม่เล่าอาการ ลูกก็นั่งตัวงอลงเรื่อยๆ โดยไม่ได้เกิดจากอาการปวด แต่เกิดจากบุคลิก</p>\n<div class=\"picture \"><img class=\"detail-image\" src=\"http://www.thairath.co.th/media/content/2010/07/30/99960/l20/o3/420/252.jpg\" alt=\"\" width=\"420\" height=\"252\" />\n<p class=\"caption\">&nbsp;</p>\n</div>\n<p><br /> \"ควรดูแลท่าทางการนั่งให้มาก เพราะการนั่งใช้กล้ามเนื้อหลังมากกว่าการยืนหรือเดิน หากนั่งหลังไม่ตรงก็จะยิ่งทำให้กล้ามเนื้อทำงานมากกว่าปกติ เมื่อกล้ามเนื้อทำงานเกินกำลังจึงส่งสัญญาณบอกด้วยการพลิกตัวหรือเปลี่ยนท่า แต่หากเรากำลังอินอยู่กับการทำงานหรือการแชทก็อาจไม่ได้รับสัญญาณดังกล่าว แต่เมื่อเลิกจากภารกิจนั้น รับรองว่าจะรู้สึกได้ถึงความปวดล้า การนวด การทำกายภาพ แม้แต่การทานยาตามที่แพทย์สั่ง ถือเป็นการแก้ปลายเหตุ เมื่อหายจากอาการเจ็บปวดและกลับมาใช้วิถีชีวิต มีพฤติกรรมแบบเดิมทำอย่างไรก็ไม่หาย สาเหตุหลักคือเราอยู่ในท่าทางที่ไม่ถูกสุขลักษณะเป็นเวลานานเกินไป จนบางครั้งอาจสร้างความเคยชินจนเป็นบุคลิก ทำให้แก้ไขได้ยากโดยเฉพาะวัยผู้ใหญ่\" นพ.พรอเนก กล่าว<br /> <br /> ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลเวชธานี แสดงความเป็นห่วงว่า กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือพนักงานออฟฟิศ โดยเฉพาะการนั่งทำงานกับโต๊ะที่มีลักษณะเป็นบล็อค นั่งลงไปแล้วมีท่าบังคับตายตัวยิ่งเป็็นการจำกัดท่าทาง ทำให้มีกล้ามเนื้อเพียงบางส่วนถูกใช้งานและใช้ซ้ำเป็นประจำ คำแนะนำเบื้องต้นคือแก้ไขจากตัวเอง เริ่มตั้งแต่การนั่ง เปลี่ยนเก้าอี้ให้เป็นแบบไม่มีพนักพิงเพื่อบังคับให้ต้องนั่งหลังตรง ปรับการตั้งหน้าจอคอมพิวเตอร์ รวมถึงหาเวลาไปออกกำลังกาย เนื่องจาก กล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อคอถือเป็นกล้ามเนื้อหลักของร่างกาย การออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาประเภทใดต่างก็เป็นประโยชน์ต่อกล้ามเนื้อทั้ง 2 ส่วน ภายใต้ข้อจำกัดให้เล่นอย่างสม่ำเสมอ<br /> <br /> \"คนทั่วไปมักรู้สึกว่าการปรับท่านั่งหรือออกกำลังกายจะไม่สามารถทำให้หายจากอาการปวด ไม่เหมือนสินค้าที่เห็นจากโฆษณา ทำให้ปัญหาไม่ถูกแก้ไขให้ตรงจุด ขอรับรองว่ามีโอกาสหายจากอาการปวดเหล่านั้นแน่นอน หากได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอในระยะเวลาช่วงหนึ่ง\" นพ.พรอเนก แนะนำ<br /> <br /> ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลเวชธานี ให้ความรู้ด้วยว่า การซื้อยาชุดมาทานเพื่อบรรเทาอาการปวดนั้น อยากทำความเข้าใจว่า ยาคือสารเคมี การทานยาจึงไม่ถือเป็นของดี ควรทานเท่าที่จำเป็นจริงๆ ขณะเดียกัน การซื้อยามาทานเองแล้วหายปวดอาจก่อให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจ เนื่องจากยาประเภทดังกล่าวสามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดได้ หากมีอาการปวดครั้งต่อไปก็จะเลือกซื้อยามารับประทานเอง โดยไม่คำนึงถึงผลข้างเคียง เช่น ฤทธิ์กัดกระเพาะ เมื่อทานยาดังกล่าวมาได้ระยะหนึ่งก็อาจเกิดอาการโรคกระเพาะ หรือกระเพาะทะลุได้ในที่สุด นอกจากนี้ ยังพบอาการเจ็บป่วยจากการใช้เทคโนโลยีอีกประเภท คือ นิ้วล็อก โดยเฉพาะเด็กรุ่น Thumb Generation ที่ใช้แต่นิ้วหัวแม่มือกดโทรศัพท์มือถือทั้งวัน เบื้องต้นอาจแนะนำให้ลองเปลี่ยนมือหรือทานยา เพื่อลดอาการปวดบวมบริเวณหัวแม่มือ<br /> <br /> ด้าน นายแพทย์รัฐวุฒิ รักษากุลเกียรติ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท อธิบายให้ฟังว่า สาเหตุเบื้องต้นในการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจทำให้เกิดอาการปวดหรือกล้ามเนื้ออักเสบ อาทิ ช่วงหัวไหล่ บั้นเอว หากเกิดอาการอักเสบและมีพฤติกรรมไม่ถูกสุขลักษณะเป็นเวลานาน ก็เป็นสาเหตุสู่การเจ็บป่วยแบบเรื้อรัง หรือนำไปสู่โรคกระดูกเสื่อม กระดูกทับเส้นได้ โดยส่วนตัวพบคนไข้ที่มีอาการผิดปกติจากการใช้เทคโนโลยีมีมานานกว่า 4-5 ปี โดยเฉพาะพนักงานออฟฟิศและผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานซึ่งพบได้บ่อยขึ้น รวมถึงกลุ่มแม่บ้านที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำ<br /> <br /> ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท เล่าต่อว่า ในต่างประเทศมีผลการศึกษารายงานเกี่ยวกับโรค BB Thumb ส่งผลให้ผู้ที่ใช้ผิดสุขลักษณะเกิดอาการนิ้วล็อก ส่วนตัวเคยพบคนไข้ที่มีอาการนิ้วล็อก แต่ไม่คิดว่ามีสาเหตุจากการแชทผ่านโทรศัพท์มือถือเพียงสาเหตุเดียว ขณะเดียวกัน พบว่าคนไข้ที่เข้ารับการรักษาจากการใช้เทคโนโลยีผิดวิธีมีช่วงอายุลดลง โดยส่วนมากจะมีพฤติกรรมการใช้ไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น เล่นคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน หรือวางโน้ตบุ๊กบนเตียงและก้มพิมพ์ ทำให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ หากเกิดอาการเจ็บหรือปวดกล้ามเนื้อส่วนๆ ต่าง ควรออกกำลังกายและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม หากยังไม่ดีขึ้นก็ควรขอคำปรึกษาจากแพทย์เพื่อป้องกันอาการเจ็บป่วยเรื้อรัง สิ่งที่สามารถปฏิบัติได้ง่ายที่สุดควรเริ่มตั้งแต่การนั่ง ควรนั่งให้เต็มก้นและยืดหลังตรง ปรับระดับหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้พอดีกับระดับสายตาทำให้เราไม่ต้องก้มหรือเงยหน้าจนเกินไป ส่วนการออกกำลังกายแบบง่ายๆ คือ การก้ม แอ่น หรือบิดตัวไปมา หากใช้โทรศัพท์เป็นเวลานานก็ควรมีอุปกรณ์เสริมหรือหูฟัง เพื่อหลีกเลี่ยงอาการปวดไหล่<br /> <br /> \"ทั้งนี้ มีผลการวิจัยระบุว่าการนั่งและโน้มตัวมาด้านหน้า ทำให้น้ำหนักลงไปสู่กระดูกสันหลังมากกว่าการนั่งโน้มตัวไปด้านหลัง ซึ่งทำให้กล้ามเนื้อต้องทำงานหนักขึ้น ส่วนคอแชทที่แชทผ่านคอมพิวเตอร์และมือถือ ก็อยากฝากว่าหากรักจะเล่นก็ต้องรักที่จะดูแลตัวเองด้วย\" นายแพทย์รัฐวุฒิ กล่าว<br /> <br /> ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ฝากข้อคิดด้วยว่า แม้เทคโนโลยีจะเป็นสิ่งอำนวยความสะดวก แต่การใช้ผิดประเภทอาจก่อให้เกิดอาการเจ็บป่วยจนนำไปสู่การป่วยเรื้อรังได้ ดังนั้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกสุขลักษณะจึงถือเป็นวิธีที่ทำได้ง่ายและดีที่สุด<br /> <br /> ใครที่คิดจะพักจากโปรแกรมงานที่สุดแสนจะเครียดเป็นหนักหนา เป็นหน้าจอเกมหลากประเภท แชทสารพัดรูปแบบ หรือแม้กระทั่งสรรหาความบันเทิงผ่านมิวสิควิิดีโอบนยูทูบ บอกได้เลยว่าคุณคิดผิด วิธีที่ดีและถูกต้องที่สุด คือ ลองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสียใหม่ เริ่มตั้งแต่การนั่ง การใช้ และออกกำลังกายร่วมด้วย ไม่เช่นนั้น ก็ต้องระวังเอาไว้ เพราะมันกำลังจะมา!! ...</p>\n<h4>ไทยรัฐออนไลน์</h4>\n<ul class=\"detail-info\">\n<li>โดย ทีมข่าวไอทีออนไลน์</li>\n<li>30 กรกฎาคม 2553, 08:00 น.</li>\n</ul>\n<p style=\"text-align: center;\">ทีมข่าวไอทีออนไลน์<br /> <a href=\"mailto:itdigest@thairath.co.th\" rel=\"nofollow\" target=\"_blank\"><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #0000ff;\">Itdigest@thairath.co.th</span></span></a></p>\n</div>\n</div>\n', created = 1728041816, expire = 1728128216, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:87a431b3ea0284c415d3e893f9c17520' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:93ca0de672b0f196cdb962644ddd557d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nอิๆ ขอคอมเมน โรคที่มากับคอมพิวเตอร์  คือ <b>เกี่ยวกับตา </b>เราต้องนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์อย่างนี้ทุกวันวันละหลายๆชั่วโมง  ส่วนของนันย์ตาคือกล้ามเนื้อตาจะหดตัวเอาน๊าทำบ่อยๆกล้ามเนื้อตาก็ทำงานหนักจนทำให้เกิดอาการล้านะจ่ะจึงเป็นต้นเหตุของ  สายตาสั้นเเละสายตายาว ด้ายค่ะๅ\n</p>\n<p>\n <b>สมอง  </b>การใช้คอมหาข้อมูลเเละเล่นเกมส์<b> </b>เราก็นำสมองของเราไปใช้ในการรับข่าวสารด้วย  จึงทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ\n</p>\n<p>\n<b>คอ </b>ทำให้มีอาการปวดเมื่อยคอ  คอตรึง\n</p>\n<p>\n<b>ไหล่ </b>ทำให้เกิดการอักเสบของกล้ามเนื้อไหล่\n</p>\n<p>\n<b>การนอน </b>นอนไม่เพียงพอสมองไม่เเจ่มใส\n</p>\n<p>\nเชื่อถือได้ค่ะ  ด้วยความปราถนาดีจาก  วีวี่\n</p>\n<p>\nนางสาว  สุวรรณี  ประสมทอง   ม.4/1\n</p>\n', created = 1728041816, expire = 1728128216, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:93ca0de672b0f196cdb962644ddd557d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สาวกเทคโนโลยีพึงระวัง หมอเตือน!! อย่า 'ไฮเทค' จนลืม 'โรคภัย'

รูปภาพของ ssspoonsak

สาวกเทคโนโลยีพึงระวัง หมอเตือน!! อย่า 'ไฮเทค' จนลืม 'โรคภัย'

Pic_99960

แนะใช้งานให้ถูกสุขลักษณะ เริ่มตั้งแต่ท่านั่ง ลุกขึ้นยืดเส้นสายทุก 10-15 นาที ยันใช้งานแต่พอดีควบคู่การออกกำลังกาย ช่วยป้องกันสารพัดอาการเจ็บปวดกล้ามเนื้อได้ชะงัก...

นอกเหนือความสะดวกสบายที่มาพร้อมเทคโนโลยีและอุปกรณ์ไฮเทคต่างๆ ที่ตอบสนองการใช้งานได้ง่ายเพียงปลายนิ้วสัมผัส เคยสังเกตบ้างหรือไม่ว่าเรายังได้รับของแถมเป็น สารพัดอาการเจ็บ ปวด เมื่อย ล้า โดยไม่รู้ตัว คงปฏิเสธลำบาก โดยเฉพาะผู้ที่ต้องใช้เวลาอยู่กับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ทั้งทำงาน ทั้งเล่นเกม วันนี้ ทีมข่าวไอทีออนไลน์ หาคำตอบพร้อมทางออกที่รับรองว่าทำได้ง่ายๆ เพียงเริ่มจากตัวคุณ มาฝาก...

 


นายแพทย์พรอเนก ตาดทอง ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ (เฉพาะทางกระดูกสันหลัง) โรงพยาบาลเวชธานี เปิดเผยรายละเอียดว่า ปัจจุบันมีคนไข้เข้ารับการรักษาจากการใช้เทคโนโลยีผิดประเภทค่อนข้างมาก ทั้งที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเทคโนโลยีมีความน่าสนใจมากขึ้น จึงสามารถดึงดูดความสนใจจากผู้ใช้ให้อยู่กับเทคโนโลยีเหล่านั้นนานกว่าปกติ เมื่อนั่งอยู่ซัก 2-3 ชั่วโมง จะเริ่มมีอาการปวดหลังปวดคอ เนื่องจากอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานเกินไป ส่วนปัญหาสำคัญในกลุ่มวัยรุ่น คือ พฤติกรรม ซึ่งมักจะใช้เวลาและคลุกคลีอยู่กับสิ่งที่ตนสนใจจนเคยชินทั้งคอมพิวเตอร์และมือถือ สาเหตุหลักมาจากขาดการอบรมด้านบุคลิก ต่างจากในอดีตที่พ่อแม่และครูคอยกวดขันเกี่ยวกับท่านั่งท่าเดิน รวมถึงขาดการออกกำลังกาย โดยการออกกำลังกายทำให้กล้ามเนื้อให้แข็งแรง ร่างกายจึงสามารถทนต่อภาวะต่างๆ ได้ดีขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน ด้วยท่าทางไม่ถูกสุขลักษณะจึงก่อให้เกิดอาการปวดหลังปอคอ

ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลเวชธานี เล่าให้ฟังต่อว่า ในอดีต พ่อแม่พาลูกมารับการรักษาเพราะลูกนั่งอ่านหนังสือ อ่านการ์ตูนนาน แต่ขณะนี้เป็นเพราะเด็กนั่งเล่นเกม แชท หรือคุยโทรศัพท์นาน อาการที่พบบ่อยคือปวดหลังและปวดคอ โดยอาการปวดคอจะพบได้บ่อยกับพนักงานออฟฟิศ ขณะที่อาการปวดหลังจะพบได้บ่อยในวัยรุ่นซึ่งไม่สมควรจะเกิดขึ้น มีหลายเคสที่พ่อแม่พาลูกมาพบแพทย์เนื่องจากเกรงว่าอาการปวดหลังจะลุกลามเป็นโรคอื่นๆ เช่น หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทและกังวลว่าจะต้องผ่าตัด ระหว่างฟังพ่อแม่เล่าอาการ ลูกก็นั่งตัวงอลงเรื่อยๆ โดยไม่ได้เกิดจากอาการปวด แต่เกิดจากบุคลิก

 


"ควรดูแลท่าทางการนั่งให้มาก เพราะการนั่งใช้กล้ามเนื้อหลังมากกว่าการยืนหรือเดิน หากนั่งหลังไม่ตรงก็จะยิ่งทำให้กล้ามเนื้อทำงานมากกว่าปกติ เมื่อกล้ามเนื้อทำงานเกินกำลังจึงส่งสัญญาณบอกด้วยการพลิกตัวหรือเปลี่ยนท่า แต่หากเรากำลังอินอยู่กับการทำงานหรือการแชทก็อาจไม่ได้รับสัญญาณดังกล่าว แต่เมื่อเลิกจากภารกิจนั้น รับรองว่าจะรู้สึกได้ถึงความปวดล้า การนวด การทำกายภาพ แม้แต่การทานยาตามที่แพทย์สั่ง ถือเป็นการแก้ปลายเหตุ เมื่อหายจากอาการเจ็บปวดและกลับมาใช้วิถีชีวิต มีพฤติกรรมแบบเดิมทำอย่างไรก็ไม่หาย สาเหตุหลักคือเราอยู่ในท่าทางที่ไม่ถูกสุขลักษณะเป็นเวลานานเกินไป จนบางครั้งอาจสร้างความเคยชินจนเป็นบุคลิก ทำให้แก้ไขได้ยากโดยเฉพาะวัยผู้ใหญ่" นพ.พรอเนก กล่าว

ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลเวชธานี แสดงความเป็นห่วงว่า กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือพนักงานออฟฟิศ โดยเฉพาะการนั่งทำงานกับโต๊ะที่มีลักษณะเป็นบล็อค นั่งลงไปแล้วมีท่าบังคับตายตัวยิ่งเป็็นการจำกัดท่าทาง ทำให้มีกล้ามเนื้อเพียงบางส่วนถูกใช้งานและใช้ซ้ำเป็นประจำ คำแนะนำเบื้องต้นคือแก้ไขจากตัวเอง เริ่มตั้งแต่การนั่ง เปลี่ยนเก้าอี้ให้เป็นแบบไม่มีพนักพิงเพื่อบังคับให้ต้องนั่งหลังตรง ปรับการตั้งหน้าจอคอมพิวเตอร์ รวมถึงหาเวลาไปออกกำลังกาย เนื่องจาก กล้ามเนื้อหลังและกล้ามเนื้อคอถือเป็นกล้ามเนื้อหลักของร่างกาย การออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาประเภทใดต่างก็เป็นประโยชน์ต่อกล้ามเนื้อทั้ง 2 ส่วน ภายใต้ข้อจำกัดให้เล่นอย่างสม่ำเสมอ

"คนทั่วไปมักรู้สึกว่าการปรับท่านั่งหรือออกกำลังกายจะไม่สามารถทำให้หายจากอาการปวด ไม่เหมือนสินค้าที่เห็นจากโฆษณา ทำให้ปัญหาไม่ถูกแก้ไขให้ตรงจุด ขอรับรองว่ามีโอกาสหายจากอาการปวดเหล่านั้นแน่นอน หากได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอในระยะเวลาช่วงหนึ่ง" นพ.พรอเนก แนะนำ

ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลเวชธานี ให้ความรู้ด้วยว่า การซื้อยาชุดมาทานเพื่อบรรเทาอาการปวดนั้น อยากทำความเข้าใจว่า ยาคือสารเคมี การทานยาจึงไม่ถือเป็นของดี ควรทานเท่าที่จำเป็นจริงๆ ขณะเดียกัน การซื้อยามาทานเองแล้วหายปวดอาจก่อให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจ เนื่องจากยาประเภทดังกล่าวสามารถบรรเทาอาการเจ็บปวดได้ หากมีอาการปวดครั้งต่อไปก็จะเลือกซื้อยามารับประทานเอง โดยไม่คำนึงถึงผลข้างเคียง เช่น ฤทธิ์กัดกระเพาะ เมื่อทานยาดังกล่าวมาได้ระยะหนึ่งก็อาจเกิดอาการโรคกระเพาะ หรือกระเพาะทะลุได้ในที่สุด นอกจากนี้ ยังพบอาการเจ็บป่วยจากการใช้เทคโนโลยีอีกประเภท คือ นิ้วล็อก โดยเฉพาะเด็กรุ่น Thumb Generation ที่ใช้แต่นิ้วหัวแม่มือกดโทรศัพท์มือถือทั้งวัน เบื้องต้นอาจแนะนำให้ลองเปลี่ยนมือหรือทานยา เพื่อลดอาการปวดบวมบริเวณหัวแม่มือ

ด้าน นายแพทย์รัฐวุฒิ รักษากุลเกียรติ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท อธิบายให้ฟังว่า สาเหตุเบื้องต้นในการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจทำให้เกิดอาการปวดหรือกล้ามเนื้ออักเสบ อาทิ ช่วงหัวไหล่ บั้นเอว หากเกิดอาการอักเสบและมีพฤติกรรมไม่ถูกสุขลักษณะเป็นเวลานาน ก็เป็นสาเหตุสู่การเจ็บป่วยแบบเรื้อรัง หรือนำไปสู่โรคกระดูกเสื่อม กระดูกทับเส้นได้ โดยส่วนตัวพบคนไข้ที่มีอาการผิดปกติจากการใช้เทคโนโลยีมีมานานกว่า 4-5 ปี โดยเฉพาะพนักงานออฟฟิศและผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานซึ่งพบได้บ่อยขึ้น รวมถึงกลุ่มแม่บ้านที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำ

ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท เล่าต่อว่า ในต่างประเทศมีผลการศึกษารายงานเกี่ยวกับโรค BB Thumb ส่งผลให้ผู้ที่ใช้ผิดสุขลักษณะเกิดอาการนิ้วล็อก ส่วนตัวเคยพบคนไข้ที่มีอาการนิ้วล็อก แต่ไม่คิดว่ามีสาเหตุจากการแชทผ่านโทรศัพท์มือถือเพียงสาเหตุเดียว ขณะเดียวกัน พบว่าคนไข้ที่เข้ารับการรักษาจากการใช้เทคโนโลยีผิดวิธีมีช่วงอายุลดลง โดยส่วนมากจะมีพฤติกรรมการใช้ไม่ถูกสุขลักษณะ เช่น เล่นคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน หรือวางโน้ตบุ๊กบนเตียงและก้มพิมพ์ ทำให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ หากเกิดอาการเจ็บหรือปวดกล้ามเนื้อส่วนๆ ต่าง ควรออกกำลังกายและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม หากยังไม่ดีขึ้นก็ควรขอคำปรึกษาจากแพทย์เพื่อป้องกันอาการเจ็บป่วยเรื้อรัง สิ่งที่สามารถปฏิบัติได้ง่ายที่สุดควรเริ่มตั้งแต่การนั่ง ควรนั่งให้เต็มก้นและยืดหลังตรง ปรับระดับหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้พอดีกับระดับสายตาทำให้เราไม่ต้องก้มหรือเงยหน้าจนเกินไป ส่วนการออกกำลังกายแบบง่ายๆ คือ การก้ม แอ่น หรือบิดตัวไปมา หากใช้โทรศัพท์เป็นเวลานานก็ควรมีอุปกรณ์เสริมหรือหูฟัง เพื่อหลีกเลี่ยงอาการปวดไหล่

"ทั้งนี้ มีผลการวิจัยระบุว่าการนั่งและโน้มตัวมาด้านหน้า ทำให้น้ำหนักลงไปสู่กระดูกสันหลังมากกว่าการนั่งโน้มตัวไปด้านหลัง ซึ่งทำให้กล้ามเนื้อต้องทำงานหนักขึ้น ส่วนคอแชทที่แชทผ่านคอมพิวเตอร์และมือถือ ก็อยากฝากว่าหากรักจะเล่นก็ต้องรักที่จะดูแลตัวเองด้วย" นายแพทย์รัฐวุฒิ กล่าว

ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ฝากข้อคิดด้วยว่า แม้เทคโนโลยีจะเป็นสิ่งอำนวยความสะดวก แต่การใช้ผิดประเภทอาจก่อให้เกิดอาการเจ็บป่วยจนนำไปสู่การป่วยเรื้อรังได้ ดังนั้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกสุขลักษณะจึงถือเป็นวิธีที่ทำได้ง่ายและดีที่สุด

ใครที่คิดจะพักจากโปรแกรมงานที่สุดแสนจะเครียดเป็นหนักหนา เป็นหน้าจอเกมหลากประเภท แชทสารพัดรูปแบบ หรือแม้กระทั่งสรรหาความบันเทิงผ่านมิวสิควิิดีโอบนยูทูบ บอกได้เลยว่าคุณคิดผิด วิธีที่ดีและถูกต้องที่สุด คือ ลองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสียใหม่ เริ่มตั้งแต่การนั่ง การใช้ และออกกำลังกายร่วมด้วย ไม่เช่นนั้น ก็ต้องระวังเอาไว้ เพราะมันกำลังจะมา!! ...

ไทยรัฐออนไลน์

  • โดย ทีมข่าวไอทีออนไลน์
  • 30 กรกฎาคม 2553, 08:00 น.

ทีมข่าวไอทีออนไลน์
Itdigest@thairath.co.th

อิๆ ขอคอมเมน โรคที่มากับคอมพิวเตอร์  คือ เกี่ยวกับตา เราต้องนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์อย่างนี้ทุกวันวันละหลายๆชั่วโมง  ส่วนของนันย์ตาคือกล้ามเนื้อตาจะหดตัวเอาน๊าทำบ่อยๆกล้ามเนื้อตาก็ทำงานหนักจนทำให้เกิดอาการล้านะจ่ะจึงเป็นต้นเหตุของ  สายตาสั้นเเละสายตายาว ด้ายค่ะๅ

 สมอง  การใช้คอมหาข้อมูลเเละเล่นเกมส์ เราก็นำสมองของเราไปใช้ในการรับข่าวสารด้วย  จึงทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ

คอ ทำให้มีอาการปวดเมื่อยคอ  คอตรึง

ไหล่ ทำให้เกิดการอักเสบของกล้ามเนื้อไหล่

การนอน นอนไม่เพียงพอสมองไม่เเจ่มใส

เชื่อถือได้ค่ะ  ด้วยความปราถนาดีจาก  วีวี่

นางสาว  สุวรรณี  ประสมทอง   ม.4/1

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 711 คน กำลังออนไลน์