• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:46712faa0bbabe331379e88c7b550bc5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" border=\"0\" title=\"Cool\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" border=\"0\" title=\"Laughing\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" border=\"0\" title=\"Kiss\" />  <strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\">ฟ้าสางทางความลับสุดยอด..</span>......</span><span style=\"color: #800080\">ของท่านพุทธทาสภิกขุก<img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" border=\"0\" title=\"Kiss\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" border=\"0\" title=\"Innocent\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" border=\"0\" title=\"Cool\" /></span></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"78\" width=\"78\" src=\"/files/u33830/index.jpeg\" alt=\"ท่านพุทธทาส\" border=\"1\" />\n</div>\n<p>  </p>\n<p align=\"center\">\n<strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\"></span></u></em></strong></p>\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"425\" height=\"350\">\n <param name=\"width\" value=\"425\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/kCJMbgAgEy4\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"425\" height=\"350\" src=\"http://www.youtube.com/v/kCJMbgAgEy4\"></embed>\n</object><p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\">ฟ้าสางทางความลับสุดยอด </span></u></em></strong>\n</p>\n<p>\n• ชีวิตเป็นสิ่งที่พัฒนาได้ ตามประสงค์ โดยกฏอิทัปปัจจยตา <br />\nดังนั้น ชีวิตจึงเป็นสิ่งที่เราเติมธรรมะลงไปได้ตามที่เราต้องการ <br />\nโดยการปฏิบัติธรรม. (๑)\n</p>\n<p>\n• ถ้ามีการศึกษาที่เห็นแจ้งจากภายใน (เป็นสันทิฏฐืโก) แล้ว <br />\nก็ไม่มีทางที่จะเป็นทาสทางสติปัญญาของใคร แม้แต่ของพระพุทธเจ้า: <br />\nนี้เป็นหลักของพระพุทธศาสนา (ตามกาลามสูตรข้อสิบ)    (๒)\n</p>\n<p>\n• ถ้าใช้หลักกาลามสูตรเป็นเครื่องตัดสินว่า <br />\nเป็นสิ่งที่ควรรับถือเป็นหลักปฏิบัติแล้ว <br />\nก็ไม่ต้องคำนึงว่าเป็นคำสอนของใคร <br />\nเป็นของเดิมแท้หรือเป็นของใหม่ ฯลฯ <br />\nหรือว่ามีประวัติมาอย่างไร    (๓) </p>\n<p>• การมีธรรมะแท้จริง ก็คือ<br />\nสามารถดำรงตนอยู่เหนือปัญหา<br />\nหรือความทุกข์ทั้งปวง; <br />\nไม่เกี่ยวกับปริญญาบัตร ฯลฯ พิธีรีตอง <br />\nหรือ หลักปรัชญาชนิดฟิโลโซฟี่ใดๆ  (๔)</p>\n<p>• เรามีวิธีทำให้ชีวิตเป็นของเย็น <br />\nทุกอิริยาบถตามที่เราประสงค์จะมี <br />\nไม่ว่าในรูปแบบใดๆ : <br />\nเพื่อตนเอง - เพื่อสังคม - ตามธรรมชาติล้วนๆ   (๕)</p>\n<p>• การศึกษา - ศาสนา - วัฒนธรรม - ประเพณี - <br />\nการเมือง - การปกครอง - การเศรษฐกิจ - ศิลปะ ฯลฯ - <br />\nวิทยาการใดๆ จะถือว่าถูกต้องได้ <br />\nเฉพาะเมื่อพิสูจน์การดับทุกข์ได้ในตัวมันเอง      (๖)</p>\n<p>• การเรียน - การรู้ - การมีความรู้ - การปฏิบัติ - <br />\nการใช้ความรู้ให้สำเร็จประโยชน์ เหล่านี้ <br />\nมิใช่สิ่งเดียวกัน; ระวังการมี การใช้ ให้ถูกต้อง   (๗) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• ชีวิตเย็นเป็นนิพพาน ในปัจจุบัน คือ<br />\nไม่มีกิเลส เกิดขึ้นแผดเผาให้เร่าร้อน ทุกเวลานาที ทุกอิริยาบถ, <br />\nในความรู้สึกอย่างสันทิฏฐิโก (คือรู้สึกอยู่ภายในใจ) (๘)</p>\n<p>• มีชีวิตเย็นเป็นนิพพาน (นิพฺพุโต) ในปัจจุบันได้<br />\nโดยที่ทุกอย่างถูกต้องแล้ว พร้อมแล้ว ไม่ว่าสำหรับจะตายหรือจะอยู่; <br />\nเพราะไม่มีอะไรยึดถือไว้ว่า กู-ของกู     (๙)</p>\n<p>• กิจกรรมทางเพศเป็นของร้อน และเป็นเรื่อง &quot;บ้าวูบเดียว&quot;; <br />\nแต่คนและสัตว์ (แม้ต้นไม้?) ก็ตกเป็นทาสของมันยิ่งกว่าสิ่งใด  (๑๐)</p>\n<p>• อวัยวะสืบพันธุ์ มีไว้สำหรับผู้ต้องการสืบพันธุ์ <br />\nหรือผู้ต้องการรสอร่อยจากกามคุณ (กามอสฺสาท) <br />\nอันเป็นค่าจ้างให้สัตว์สืบพันธุ์ ด้วยความยากลำบากและน่าเกลียด; <br />\nแต่ไม่เป็นที่ต้องการของผู้จะอยู่อย่างสงบ  (๑๑)</p>\n<p>• เรื่องเพศหรือเกี่ยวกับเพศ <br />\nธรรมชาติสร้างมาสำหรับมนุษย์ - สัตว์ - พฤกษชาติ ไม่สูญพันธุ์ ; <br />\nไม่ใช่ของขวัญที่ใครจะเรียกร้อง <br />\nไม่ใช่ของควรบูชาในฐานะสิ่งสูงสุด ว่าเป็นกามเทพ เป็นต้น   (๑๒)</p>\n<p>• กามารมณ์เป็นค่าจ้างทางเพศ เพื่อการสืบพันธ์ <br />\nอันสกปรกเหน็ดเหนื่อยและน่าเกลียดจากธรรมชาติ, <br />\nมิใช่ของขวัญ หรือ หรรษทานจากเทพเจ้าแต่ประการใด <br />\nเลิกบูชากันเสียเถิด   (๑๓)</p>\n<p>• กามกิจก็เป็นหน้าที่ที่เป็นธรรมะอย่างหนึ่งด้วยเหมือนกัน; <br />\nแต่ต้องประพฤติกันอย่างถูกต้องและพอดี สำหรับอริยชนที่ครองเรือน (๑๔) </p>\n<p>• การสมรสด้วยจิตหรือทางวิญญาณ (เช่น ทิฏฐิตรงกัน) นั้น<br />\nเป็น &quot;พรหมสมรส&quot; ยังบริสุทธิ์ สะอาดดี ไม่ก่อให้เกิดทุกข์หรือปัญหาใดๆ ; <br />\nส่วนการสมรสทางกาย หรือเนื้อหนัง นั้น<br />\nสกปรก น่าเกลียด เหน็ดเหนื่อยเกินไป <br />\nจนไม่รู้ว่าอะไรเป็นการสมรส    (๑๕)</p>\n<p>• กามที่เกี่ยวกับเพศ เป็นได้ทั้งเทพเจ้าและปีศาจ <br />\nทั้งนี้แล้วแต่ผู้ประกอบกิจนั้น มีธรรมะผิดถูกมากน้อยเพียงไร   (๑๖)</p>\n<p>• พวกที่ถือพระเจ้า ถือว่าอะไรๆ ก็แล้วแต่พระเจ้าบันดาล <br />\nส่วนชาวพุทธถือว่าแล้วแต่การกระทำผิดหรือถูก ต่อกฏอิทัปปัจจยตา; <br />\nดังนั้นควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า &quot;พระเจ้า&quot; กันเสียใหม่ให้ถูกต้อง <br />\nคือมีทั้งที่มีความรู้สึกอย่างบุคคล และไม่มีความรู้สึกอย่างบุคคล <br />\nอย่างไหนจะเป็นที่พึ่งได้และยุติธรรม ไม่รับสินบน   (๑๗) </p>\n<p>• พระเจ้าคือสิ่งสูงสุดนั้น ไม่ดี-ไม่ชั่ว แต่อยู่เหนือดีเหนือชั่ว <br />\nจึงสามารถให้เกิดความหมาย ว่าดี ว่าชั่ว <br />\nให้แก่ความรู้สึกของมนุษย์ได้ทุกอย่าง จนงงไปเอง   (๑๘) </p>\n<p>• พระเจ้า คือ กฏ สำหรับบังคับสิ่งที่เกิดจากกฏให้ต้องเป็นไปตามกฏ <br />\nโดยเด็ดขาด และเที่ยงธรรม; <br />\nดังนั้น พระเจ้าจึงอยู่เหนือสิ่งทั้งปวงได้จริง   (๑๙) </p>\n<p>• พระเจ้าเป็นที่รวมแห่งความจริง <br />\nมิใช่แห่งความดี ซึ่งเป็นสิ่งที่ยังหละหลวม และเป็นมายาอยู่มาก <br />\nจนต้องเป็นคู่กันกับความชั่ว; <br />\nถ้าพระเจ้าเป็นความดี ก็จะกลายเป็นคู่กันกับซาตานหรือมารร้ายไปเสียฯ (๒๐)<br />\n <br />\n•  ความจริงเป็นสิ่งเดียวไม่มีคู่ (เอกํ หิ สจฺจํ นทุตียมตฺถิ) ; <br />\nแม้จะมีความไม่จริง (ตามที่ใครบัญญัติขึ้น) <br />\nมันก็เป็นความจริงของความไม่จริง  (๒๑) </p>\n<p>• พระเจ้าที่เป็นทั้งผู้บันดาลให้เกิด <br />\nและปลดเปลื้องความทุกข์ได้แท้จริง นั้นคือ กฏอิทัปปัจจยตา; <br />\nจงรู้จักท่านและกระทำต่อท่านให้ถูกต้องเถิด  (๒๒) </p>\n<p>• พระเจ้าที่แท้จริง เป็นหัวใจของศาสนาทุกๆ ศาสนา <br />\nนั่นคือ &quot;กฏ&quot; หรือ ภาวะของความถูกต้องตามธรรมชาติ <br />\nเพื่อความรอดของมนุษย์&quot;; <br />\nพุทธศาสนายิ่งมีกฏหรือภาวะนั้นที่เป็นไปตามกฏอิทัปปัจจยตา  (๒๓)\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>\n• ถ้าอยากพบ &quot;พระเจ้าที่แท้จริง&quot; อย่าตั้งปัญหาอย่างอื่นใดขึ้นมา <br />\nนอกจากปัญหาว่า อะไรที่สร้าง - ควบคุม - ทำลายโลก - <br />\nใหญ่ยิ่ง - รู้สิ่งทั้งปวง - มีในที่ทั้งปวง, <br />\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุควิทยาศาสตร์แห่งปัจจุบันนี้  (๒๔) </p>\n<p>• คำสอนของผู้รู้แท้จริง แม้เป็นเวลา ๒-๓ พันปีมาแล้ว <br />\nแต่ก็ยังใช้ได้อยู่เหมือนคำพูดใหม่ๆ สดๆ ร้อนๆ นั้นคือ <br />\nคำสอนของพระพุทธองค์แก่ชาวกาลาม <br />\nที่เรียกว่า กาลามสูตร (ดังต่อไปนี้)   (๒๕) </p>\n<p>• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;ฟังตามๆ กันมา&quot;; <br />\nเพราะมันผิดมาตั้งแต่ต้นก็ได้, <br />\nเพราะเปลี่ยนไปตลอดเวลาที่ฟังตามๆ กันมา ก็ได้   (๒๖) </p>\n<p>• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;ทำตามสืบๆ กันมา&quot;; <br />\nเพราะมันผิดมาตั้งแต่ต้น <br />\nหรือ เปลี่ยนไปๆ ตลอดเวลาที่ทำตามๆ กันมา ก็ได้  (๒๗) </p>\n<p>• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;กำลังเล่าลืออยู่อย่างกระฉ่อน&quot;; <br />\nเพราะการเล่าลือเป็นการกระทำของ<br />\nพวกที่ไม่มีสติปัญญา, มีแต่โมหะ ก็ได้  (๒๘)</p>\n<p>• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;มีที่อ้างอิงในปิฎก(ตำรา)&quot;; <br />\nเพราะปิฎกหรือตำราทั้งหลายเกิดขึ้นและเปลี่ยนไป <br />\nตามปัจจัยที่แวดล้อมหรือตามกฏอิทัปปัจจยตา ก็ยังได้  (๒๙) </p>\n<p>• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;ถูกต้องตามหลักทางตรรกะ&quot;; <br />\nเพราะตรรกะเป็นเพียงความคิดชั้นผิวเปลือก, <br />\nใช้เหตุผลและเดินตามเหตุผลชั้นผิวเปลือก   (๓๐) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;ถูกต้องตามหลักทางนยายะ&quot;; <br />\nเพราะนยายะ เป็นการคาดคะเน<br />\nที่เดินไปตามเหตุผลเฉพาะหน้าในการคาดคะเน นั่นเอง  (๓๑)\n</p>\n<p>\n• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;ถูกต้องตามสามัญสำนึก&quot;; <br />\nเพราะสามัญสำนึกเดินตามความเคยชินของความรู้สึกชั้นผิวเปลือก  (๓๒) </p>\n<p>• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;ทนต่อการเพ่งด้วยทิฏฐิของตน&quot;; <br />\nเพราะทิฏฐิของเขาผิดได้ โดยเขาไม่รู้สึกตัว   (๓๓) </p>\n<p>• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;ผู้พูดอยู่ในฐานะควรเชื่อ&quot;; <br />\nเพราะเป็นเหตุให้ไม่คิดใช้สติปัญญาของตนเอง ในการพิจารณา  (๓๔) </p>\n<p>• อย่าเชื่อและรับมาปฏิบัติ ด้วยเหตุเพียงสักว่า <br />\n&quot;สมณะผู้พูดเป็นครูของเรา&quot;; <br />\nเพราะเป็นเหตุให้ไม่คิดใช้สติปัญญาของตนเองในการศึกษา  (๓๕)</p>\n<p>• ในกรณีเหล่านี้ เขาจะต้องใช้ยถาภูตสัมมัปปัญญา <br />\nหาวี่แววว่า สิ่งที่กล่าวนั้น มีทางจะดับทุกข์ได้อย่างไร; <br />\nถ้ามีเหตุผลเช่นนั้น ก็ลองปฏิบัติดู <br />\nได้ผลแล้ว จึงจะเชื่อและปฏิบัติให้ยิ่งขึ้นไป <br />\nกว่าจะถึงที่สุดแห่งความดับทุกข์  (๓๖)</p>\n<p>• กฏของธรรมชาติเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดมีกาย -ใจ <br />\nอย่างที่สัตว์ทั้งหลายกำลังมี และให้ใจคิดไปตามผัสสะจากสิ่งแวดล้อม <br />\nจนมีการบัญญัติเรื่องทิฏฐิ เรื่องกรรม เรื่องสุขทุกข์ เรื่องดีชั่ว เป็นต้น  (๓๗)</p>\n<p>• ก ข ก กา แห่งการดับทุกข์ คือ<br />\nการรู้ความลับของอายตนิกธรรม ๕ หมวด คือ <br />\nอายตนะภายในหก อายตนะภายนอกหก วิญญาณหก ผัสสะหก เวทนาหก <br />\nตามที่เป็นจริงอย่างไร ในชีวิตประจำวัน <br />\nเป็นเรื่องที่ต้องหามาศึกษาให้รู้อย่างละเอียด  (๓๘)</p>\n<p>• การเกิดทางร่างกายจากท้องแม่ นั้นไม่สำคัญยังไม่เป็นปัญหา, <br />\nจนกว่าจะมีการเกิดทางจิตใจ คือเกิด ตัวกู-ของกู <br />\nจึงจะเป็นการเกิดที่สมบูรณ์คือ<br />\nมีปัญหาและมีที่ตั้งแห่งปัญหา กล่าวคือ ความทุกข์  (๓๙) </p>\n<p>• ถ้าพ้นจากการเกิดแห่งตัวกูเสียได้  <br />\nย่อมพ้นจากปัญหาและความทุกข์ทั้งปวงได้ <br />\nและจะพ้นจากปัญหาแห่งการเกิดทางกายทั้งหมด ได้เองด้วย  (๔๐</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n•  การได้เกิดมามีชีวิต ยังไม่ควรจัดว่าบุญหรือบาป แต่ยังเป็นกลางๆ อยู่; แล้วแต่ว่าเราจะจัดให้เป็นอย่างไร<br />\nคือเป็นบุญเป็นบาป หรือให้พ้นบุญพ้นบาปไปเสียเลยก็ได้   (๔๑) </p>\n<p>• มนุษย์ที่ไม่เข้าถึง หรือไม่รู้ความลับสุดยอดของมนุษย์ จะเป็นมนุษย์ไปได้อย่างไร; มนุษย์คือผู้ที่อาจจะมีจิตใจสูง <br />\nอยู่เหนือปัญหาหรือความทุกขืพอสมควรแก่ความเป็นมนุษย์ หรือเหนือปัญหาและความทุกข์โดยสิ้นเชิง ซึ่งเป็นยอดของมนุษย์  (๔๒) </p>\n<p>• มนุษย์ไม่ควรบูชาอะไร นอกจากความถูกต้องของความเป็นมนุษย์เอง <br />\nคือความมีจิตอยู่เหนือปัญหาเหนือความทุกข์โดยประการทั้งปวง <br />\nซึ่งความหมายนี้มีความหมายรวมถึงพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ อยู่ด้วย ในฐานะเป็นภาวะที่ถูกต้องถึงที่สุด  (๔๓) </p>\n<p>• ถือศาสนาไหนอย่างไร แล้วความทุกข์ไม่มีแก่ท่าน ศาสนานั้นแหละถูกต้องเหมาะสมแก่ท่านอย่างแท้จริง <br />\nพุทธศาสนารวมอยู่ในศาสนาชนิดนี้ กลัวแต่ว่าท่านจะไม่รู้จักตัวความทุกข์เสียเอง  (๔๔) </p>\n<p>• เมื่ออบรมจิตถึงที่สุดแล้ว จิตจะบังคับกายและตัวมันเองได้ในทุกกรณี สำหรับจะไม่มีความทุกข์ในทุกกรณีอีกเช่นกัน; <br />\nขอให้เราศึกษาธรรมชาติ หรือธรรมสัจจะข้อนี้กันเถิด  (๔๕) </p>\n<p>• ความรู้สึกอันเป็นทุกข์ทรมาน กับลักษณะแห่งความทุกข์ทรมาน มิใช่เป็นสิ่งเดียวกัน; <br />\nคนอาจจะมีทุกขลักษณะโดยที่จิตไม่มีทุกขเวทนา   (๔๖) </p>\n<p>• คนโบราณที่รู้ธรรมะกล่าวว่า &quot;ทั้งชั่วทั้งดีล้วนแต่อัปรีย์ (ไม่น่ารัก)&quot; นั้น มีความจริงว่า <br />\nถ้าไปยึดถือเอาด้วยอุปาทานแล้ว ทั้งความชั่วและความดี มันจะกัดผู้นั้นโดยเท่ากัน <br />\nจงรู้จักมันกันในลักษณะเช่นนี้เถิดทั้งความชั่วและความดี  (๔๗) </p>\n<p>• ทารกและปุถุชนรู้จักทำอะไรๆ ก็แต่เพื่อตนหรืออย่างมากก็เพื่อโลก; แต่สัตบุรุษหรืออริยชน รู้จักทำอะไรๆ ก็เพื่อธรรม<br />\nคือหน้าที่อันถูกต้องของมนุษย์  (๔๘) </p>\n<p>• ธรรมะคือหน้าที่ของสิ่งที่มีชีวิตทุกระดับจะต้องทำเพื่อความรอด ทั้งฝ่ายกายและฝ่ายจิต ทั้งของตนเองและของผู้อื่น <br />\nซึ่งเป็นเพื่อนเกิดแก่เจ็บตายด้วยกัน  (๔๙) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• เมื่อกล่าวโดยพิสดาร คำว่า &quot;ธรรมะ&quot; มี ๔ ความหมาย คือตัวธรรมชาติ - ตัวกฏธรรมชาติ - หน้าที่ตามกฏธรรมชาติ <br />\n- และผลจากหน้าที่นั้นๆ  (๕๐) </p>\n<p>• ในคนเราคนหนึ่งๆ กายและใจเป็นตัวธรรมชาติ กฏที่บังคับชีวิตหรือกายใจอยู่ เรียกว่า กฏของธรรมชาติ <br />\nหน้าที่ที่ต้องทำเพื่อความอยู่รอดของกายและใจ เรียกว่า หน้าที่ตามกฏของธรรมชาติ ผลเป็นสุขหรือทุกข์ก็ตามที่เกิดขึ้น <br />\nเรียกว่า ผลเกิดจากหน้าที่ตามกฏของธรรมชาติ   (๕๑) </p>\n<p>• ธรรมะสามารถช่วยได้ในทุกกรณีอย่างแท้จริง; หากแต่บัดนี้เรายังไม่รู้จักธรรมะและมีธรรมะ อย่างถูกต้องและสมบูรณ์<br />\nโดยนำมาใช้แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและทันแก่เวลา  (๕๒) </p>\n<p>• เราต้องเตรียมตัวไว้อย่างสำคัญที่สุดสักอย่างหนึ่ง คือเมื่อบางสิ่งหรือแม้ทุกสิ่งไม่เป็นไปตามที่เราต้องการ <br />\nแล้วเราก็ยังไม่เป็นทุกข์อยู่นั่นเอง  (๕๓) </p>\n<p>• พวกเราในยุคนี้ ไม่ได้ค้นคว้าพิสูจน์ทดลองธรรมะเหมือนที่เรากระทำต่อวิชาวิทยาศาสตร์ - ประวัติศาสตร์ - เศรษฐกิจ - ฯลฯ <br />\nที่เรากำลังหลงใหลกันนัก; ดังนั้น จึงยังไม่มีธรรมะมาช่วยเรา  (๕๔) </p>\n<p>• เรารู้ธรรมะไม่ได้ เพราะไม่รู้แม้แต่ปัญหาในชีวิตของตัวเอง ที่กำลังมีอยู่ ว่ามีอยู่อย่างไร <br />\nจึงได้แต่ลูบคลำธรรมะในลักษณะที่เป็นสีลัพพตปรามาส หรือไสยศาสตร์ ไปเสียหมด  (๕๕) </p>\n<p>• คนมีปัญญาแหลมคมอย่างยอดนักวิทยาศาสตร์ ก็มิได้ใช้ความแหลมคมของมัน ส่องเข้าไปที่ตัวปัญหาอันแท้จริงของชีวิต <br />\nมัวจัดการกันแต่ปัญหาเปลือก อันมีผลทางวัตถุ ร่ำไป  (๕๖) </p>\n<p>• อาจารย์สอนธรรมะ แม้ในขั้นวิปัสสนา ก็ยังสอนเพื่อลาภสักการสิโลกะของตนเองเป็นเบื้องหน้า<br />\nแล้วจะไม่ให้โมหะครอบงำทั้งอาจารย์และลูกศิษย์ได้อย่างไร  (๕๗) </p>\n<p>• คนมาเรียนธรรมะวิปัสสนา หวังจะได้อัสสาทะ(รสอร่อย) แก่กิเลสของเขา ตามรูปแบบนั้นๆ ยิ่งขึ้นไป<br />\nจึงไม่พบวิธีที่จะลิดรอนกำลังของกิเลสเอาเสียเลย  (๕๘) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• ผู้ที่เรียนโดยมาก ไม่ได้เรียน ด้วยจิตใจทั้งหมด เพราะยังแบ่งจิตใจไว้ส่วนหนึ่ง เพื่อลองภูมิอาจารย์ หรือ แย่งตำแหน่งอาจารย์<br />\nก็ยังมี ดังนั้น จึงเรียนได้น้อย รับเอาไปน้อย  (๕๙) </p>\n<p>• แม้จะเป็นคนบรมโง่สักเท่าไร เขาก็ยังคิดว่า เขายังมีอะไรที่ดีกว่าอาจารย์ อยู่อย่างใดอย่างหนึ่ง ; <br />\nดังนั้น จึงมองข้ามความรู้ของอาจารย์เสียบางอย่าง หรือมากอย่างก็ยังมี  (๖๐) <br />\n  <br />\n• ลูกศิษย์สมัยวัตถุนิยม คิดจะเอาอะไรจากอาจารย์ มากกว่าที่จะให้แก่อาจารย์ มากมายหลายร้อยเท่านัก<br />\nแม้ที่คิดจะไม่ให้อะไรเลย ก็ยังมี โดยถือว่าอาจารย์เป็นลูกจ้าง  (๖๑) </p>\n<p>• ความเคารพเชื่อฟังครูนั่นแหละ คือ กระบุงที่จะตักตวงเอาความรู้จากครู; ขอแต่อย่าทำตนเป็นกระบุงก้นรั่วเสียเอง  (๖๒) <br />\n• เหนือฟ้า ยังมีฟ้า; เหนือพระพุทธเจ้า ยังมีสิ่งที่พระองค์ทรงเคารพ นั่นก็คือ กฏอิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาท อันเป็นมหาอริยสัจ <br />\nที่ได้ตรัสรู้และดับทุกข์ได้ด้วยพระองค์เอง  (๖๓) </p>\n<p>• พวกเราส่วนมาก ไม่รู้สัจจภาวะของเราเองที่มีอยู่จริง คือความที่ พระพุทธเป็นพ่อ พระธรรมเป็นแม่<br />\nพระสงฆ์เป็นพี่ จึงยังเคว้งคว้างกันไปหมด (๖๔) </p>\n<p>• ธรรมะแท้ คือ หน้าที่อันถูกต้องของตัวใครตัวมัน อันเขาจะต้องทำให้ดีที่สุด จนพอใจตัวเอง <br />\nยกมือไหว้เคารพตัวเองได้ อยู่ตลอดเวลา; ใครมีธรรมะอย่างนี้กันบ้าง  (๖๕) </p>\n<p>• การงานเป็นสิ่งที่ทำให้สนุกได้ จนวาระสุดท้าย แต่เป็นความลับของธรรมชาติ ซึ่งจะเข้าถึงได้ก็ต่อเมื่อรู้ธรรมะอย่างเพียงพอ <br />\nถึงความหมายอันสูงสุดของธรรมะนั้น จึงจะมีธรรมะในการงาน  (๖๖)\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• ธรรมะคือหน้าที่อันแท้จริงของสิ่งที่มีชีวิต ที่ใครมีแล้ว สามารถดำรงจิตไว้อย่างสุขสงบเย็น ไม่เป็นทุกข์ <br />\nหรือแม้แต่เพียงเศร้าหมองหงุดหงิดรำคาญ ซึ่งล้วนแต่เกิดมาจากความไม่รู้ธรรมะทั้งนั้น  (๖๗) </p>\n<p>• ฆราวาสธรรม มิใช่สำหรับให้ฆราวาสได้จมอยู่ในโลก หากแต่สำหรับให้ฆราวาสนั้น <br />\nได้อาศัยยกตัวเองขึ้นมาเสียจากปลักของฆราวาส <br />\nพ้นทุกข์ เป็นโลกุตตระ เป็นนิพพานในที่สุด  (๖๘)</p>\n<p>• ศาสนวัตถุก็ดี ศาสนสถานก็ดี ศาสนพิธีก็ดี ยิ่งมีมาก ยิ่งปิดบังการเห็นธรรม;<br />\nแม้แต่จะเห็นเปลือกของธรรมก็ยังยาก จะต้องช่วยกันชำระสะสาง ปรับปรุงสิ่งนั้นๆ ให้มีการปิดบังน้อยลงอีกมาก  (๖๙) </p>\n<p>• เมื่อพระองค์ยังทรงอยู่ก็ดี เมื่อทรงล่วงลับไปแล้วโดยพระกายก็ดี การเห็นพระองค์โดยแท้จริงมีเพียงอย่างเดียว <br />\nวิธีเดียวเท่านั้น คือการเห็นธรรม (ธรรมกาย)   (๗๐) </p>\n<p>• ความดับของไฟ หาพบได้ที่ไฟ ความดับของทุกขื หาพบได้ที่ความทุกข์; นิพพานหาพบได้ที่วัฏฏสงสาร, <br />\nแต่ไม่มีใครเห็นหรือเชื่อ เลยไม่ได้หา จึงไม่พบ  (๗๑) </p>\n<p>• นิพพานเป็นของแปลก : ยิ่งต้องการยิ่งหนีไกล; เมื่อไม่ต้องการอะไร ก็วิ่งมาหาเอง ; <br />\nแต่อย่าพูดอีกเลย จะกลายเป็นแรดกันเสียหมด เพราะแรดไม่รู้จักฟังเสียงปี่ เอาเสียเลย  (๗๒) </p>\n<p>• การล้างบาป - การยกเลิกกรรม มีได้แต่โดยการกระทำให้ถูกต้องกฏอิทัปปัจจยตา; <br />\nมิใช่โดยพิธีรีตอง หรืออำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใดๆ  (๗๓) </p>\n<p>• สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอยู่ได้ด้วยอาหาร ไม่ว่าในแง่ของกาย - จิต - วิญญาณ; คำว่า &quot;สัตว์&quot; <br />\nมีความหมายว่า &quot;ข้อง&quot;, คือข้องอยู่ในความมีชีวิต ตามกฏของอิทัปปัจจยตา  (๗๔) </p>\n<p>• รสอร่อย (อัสสาทะ) ของกิน - กาม - เกียรติ เป็นสิ่งที่หลงกันเกินไป จนเกิดปัญหา; <br />\nที่แท้มันมีความเลวร้าย (อาทีนวะ) ด้วยโดยเท่ากัน เอามันมาใช้เป็นกำลังงาน ในการทำความรอดเสียดีกว่า  (๗๕) </p>\n<p>• วัยรุ่นทั้งหลายรู้จักแต่รสอร่อย (อัสสาทะ) ทางระบบประสาท จึงตั้งต้นคิดผิด - ทำผิด - พูดผิด<br />\nจนเป็นปัญหาตลอดชีวิต ทั้งแก่ตนเอง และแก่สังคม  (๗๖) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• จิตที่ไม่ได้ยึดมั่นถือมั่นอะไรไว้ โดยความเป็นตัวกู-ของกู เป็นจิตที่จะทำหน้าที่การงานใดๆ <br />\nได้ดีที่สุด แต่ไม่มีใครเคยลอง หรือกล้าลอง เพราะเข้าใจผิดต่อคำว่ายึดมั่นถือมั่น  (๗๗)</p>\n<p>• งานมหกรรมระดับชาติที่จัดกันขึ้นอย่างมากมายนั้น เรามองกันแต่เพียงทางวัตถุ; <br />\nส่วนความเสียหายด้านจิตใจทางศีลธรรมนั้น ไม่สนใจ  (๗๘)</p>\n<p>• ดนตรี - เพลง - รำ นั้น มีได้ทั้งอย่างส่งเสริมกิเลส และรำงับกิเลส โดยเท่ากัน; <br />\nแต่เรามิได้ทำกันอย่างเลือกเฟ้น ดังนั้น ส่วนใหญ่ จึงมีผลแต่ส่งเสริมกิเลส  (๗๙) </p>\n<p>• ทุกขลักษณะ - ทุกขเวทนา - ทุกขตถา (หรือทุกขอริยสัจ) เหล่านี้ ดูให้ดี : มิใช่สิ่งเดียวกัน; <br />\nแต่ก็มิใช่อื่นจากกัน หรือไม่เกี่ยวข้องกันเสียเลย  (๘๐) </p>\n<p>• ทุกข์ในความหมายใดก็ตาม จะเกิดเป็นอาการทุกข์ทรมานขึ้นมา ก็ต่อเมื่อมีอุปาทานเข้าไปยึดถือ; <br />\nดังนั้น จงรู้จักสิ่งที่เรียกว่า อุปาทาน (ความยึดมั่นถือมั่น) กันเสียให้ดีๆ เถิด  (๘๑) </p>\n<p>• ความรู้สึกเป็นความทุกข์ ส่วนมากเกิดมาจากการทำเล่นๆ อย่างสะเพร่าๆ ให้กับภาวะที่ไม่เป็นทุกข์ ด้วยความขาดสติของท่านเอง;  <br />\nดังนั้น เลิกการกระทำอย่างนั้นกันเสียเถิด  (๘๒) </p>\n<p>• ความรู้สึกทุกข์นั้นเป็นนรก, ความรู้สึกสุขนั้นเป็นสวรรค์, เหนือทุกข์เหนือสุขนั้นเป็นนิพพาน;<br />\nขอให้รู้จักแยกแยะกันเสียอย่างถูกต้อง เพราะล้วนแต่เป็นสิ่งที่มีอยู่ในจิตใจ อย่างเป็นสันทิฏฐิโกด้วยกันทั้งนั้น  (๘๓) </p>\n<p>• ความเจ็บของกาย กับความทุกข์ของใจ นั้นเป็นคนละเรื่องกัน แม้มันจะเนื่องกันอยู่; จงดูให้เห็นชัดจริงๆ, <br />\nมิฉะนั้น ท่านจะไม่อาจจัดการอะไรกับมันได้เลย  (๘๔) </p>\n<p>• &quot;เราเป็นสุข&quot; นั้นไม่อาจจะมีได้, มีได้เพียงแต่ว่า &quot;จิตไม่รู้สึกเป็นทุกข์&quot;; เพราะว่า สิ่งที่เรียกว่าเรานั้นเป็นเพียงมายา <br />\nและสุขนั้นก็มิได้มีอยู่จริง, ไม่เหมือนสิ่งที่เรียกว่า &quot;จิต&quot; และ &quot;ทุกข์&quot; ซึ่งมีอยู่จริง  (๘๕) </p>\n<p>• ถ้ามันแสดงลักษณะว่าจะไม่ได้ หรือจะต้องตาย, ก็สมัครที่จะไม่เอา หรือสมัครตายเสียก่อนที่จะตายจริง,<br />\nก่อนแต่ที่จะมีความทุกข์เกิดขึ้น เพราะความผิดหวัง; นี้เป็นหลักธรรมที่ดับทุกข์นั้นๆ ได้, เพราะไม่อยาก - ไม่หวัง - ไม่ยึดมั่น <br />\nเพราะเห็นสุญญตา หรือ อนัตตา ในขั้นสูงสุด   (๘๖) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• ถ้าทำอะไรด้วยสติปัญญา มิใช่ด้วยความอยากหรือความหวัง, ก็ไม่มีทางที่จะเป็นทุกข์ เพราะความผิดหวัง; <br />\nดังนั้น เมื่อสิ่งใดแสดงอาการต่อต้านในลักษณะที่เรียกว่าผิดหวัง ก็รีบสลัดโยนทิ้งสิ่งนั้นออกไปเสียก่อน เพื่อไม่ต้องมีความผิดหวัง, <br />\nแล้วก็ทำสิ่งนั้นต่อไปด้วยสติปัญญาล้วนๆ โดยไม่ต้องหวัง จนกว่าจะประสบความสำเร็จ   (๘๗) </p>\n<p>• ตู้เย็นเกิดไม่เย็นขึ้นมา ก็เพราะขาดระบบปัจจัยแห่งความเย็น, ชีวิตนี้ก็เหมือนกัน เกิดไม่เย็นขึ้นมา ก็เพราะขาดปัจจัยแห่งความเย็น <br />\nตามกฏอิทัปปัจจยตา ฉันใดก็ฉันนั้น   (๘๘) </p>\n<p>• จิตจะเย็นเป็นนิพพานอยู่ทุกเวลานาที ตลอดเวลาที่รู้สึกว่า &quot;ทุกอย่างถูกต้องและเป็นไปดี&quot; นี้เป็นสิ่งที่ทำได้ตามกฏอิทัปปัจจยตา   (๘๙) </p>\n<p>• จิตชนิดหนึ่งซึ่งเป็นทุกข์ไม่ได้ แม้ทางกายจะกำลังได้รับทุกขเวทนาสักปานใด <br />\nก็ยังไม่ผิดปกติหรือโทมนัสแม้แต่น้อย : นี้ก็ยังเป็นสิ่งที่มีได้  (๙๐) </p>\n<p>• แม้พระอรหันตเถรี ก็ยังกล่าวคำเยาะเย้ยความทุกข์ ในฐานะเป็นสิ่งที่ไม่มีพิษสงอะไร; ท้าให้ฝนตกเมื่อหลังคามุงดีแล้ว! (๙๑) </p>\n<p>• การนมัสการพระพุทธองค์ ควรจะเลยไปถึงสิ่งที่พระองค์ทรงเคารพ คือ พระเจ้าอิทัปปัจจยตาปฏิจจสมุปบาทด้วย จึงจะสมบูรณ์  (๙๒) </p>\n<p>• พระพุทธเจ้ามีจริงหรือไม่ ตรัสพระไตรปิฎกไว้จริงหรือไม่ นี้ไม่เป็นปัญหา พักไว้ก่อนก็ได้; พิจารณากันแต่ว่า<br />\nถ้อยคำที่ตรัสไว้นั้น ครั้นปฏิบัติตามแล้ว ดับทุกข์ได้หรือไม่   (๙๓) </p>\n<p>• หลักกาลามสูตร (ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น) เป็นเครื่องช่วยให้เราไม่ต้องมีปัญหาว่า พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นจริงหรือไม่?<br />\nคัดลอกกันมาถูกต้องหรือไม่? มีปลอมปนหรือไม่?   (๙๔)</p>\n<p>• เมื่อทรงพระชนม์อยู่ ได้ตรัสว่า การเห็นกายของพระองค์ แต่ไม่เห็นธรรม นั้นไม่ชื่อว่า เห็นพระองค์; บัดนี้เราจะเห็นอัฐิธาตุ<br />\nรูปวาด รูปหล่อของพระองค์ ว่าเป็นพระองค์ได้อย่างไร รีบเห็นธรรมกันเสียเถิด!  (๙๕) </p>\n<p>• คนแขวนพระเครื่อง คือคนไม่ถือพระพุทธศาสนา เพราะถือสีลพตปรามาส หวังพึ่งของขลังของศักดิ์สิทธิ์ ไม่พึ่งตัวเอง <br />\nไม่เชื่อกรรม หรือกฏอิทัปปัจจยตา ตามหลักพระพุทธศาสนา   (๙๖) </p>\n<p>• ความถูกต้องแท้จริง คือถูกต้องตามกฏของธรรมชาติ นั้นมิใช่ความถูกต้องของเรา ซึ่งมักจะเป็นความถูกต้องของกิเลส <br />\nตามทิฏฐิของเรา   (๙๗) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• หน้าที่ของเรา คือหน้าที่ที่จะต้องสอดส่องไปถึงว่า เพื่อนเกิดแก่เจ็บตายของเรา เขาต้องการอะไรและเราจะช่วยเขาได้อย่างไรอีกด้วย<br />\nแต่หน้าที่นี้ ไม่ค่อยมีใครชอบ  (๙๘) </p>\n<p>• สิทธิที่จะเรียกร้องอย่างยุติธรรมนั้น จะเกิดต่อเมื่อได้ทำหน้าที่นั้นๆ แล้วจริงๆ ; แต่คนส่วนมาก เรียกร้องสิทธิก่อนการทำหน้าที่,<br />\nและยังเรียกร้องมากเกินไปอีกด้วย  (๙๙) </p>\n<p>• อย่าหลงไปคิดว่า &quot;ตายดีตายร้ายก็ช่างหัวมันไหนๆ มันก็ตายเท่ากัน&quot;; แต่จงตายให้ดี มีศิลป์ที่สุด คือตายอย่างรู้สึกว่าไม่มีใครตาย <br />\nมีแต่สิ่งปรุงแต่งเปลี่ยนไป   (๑๐๐) </p>\n<p>• การกระทำของมนุษย์ตามธรรมดาที่เรียกว่า &quot;การพัฒนาๆ&quot;  ย่อมมีการพัฒนาให้แก่กิเลสรวมอยู่ด้วยอย่างน้อยก็ครึ่งหนึ่ง; <br />\nดังนั้น ยิ่งพัฒนาก็ยิ่งเพิ่มปัญหา    (๑๐๑) </p>\n<p>• คำว่า &quot;พัฒนา&quot; (วฑฺฒน) นั้นแปลว่า &quot;รกหนาขึ้น&quot; ดังนี้ก็ได้, ว่า &quot;บ้ากว่าธรรมดา&quot; ก็ได้ ดังนั้นควรระวังสิ่งที่เรียกว่า &quot;การพัฒนา&quot; <br />\nนั้นให้ดีๆ มันจะเพิ่มปัญหาให้   (๑๐๒) </p>\n<p>• การพัฒนา เป็นสิ่งที่ต้องทำด้วยโพธิปัญญา; อย่าทำตามลำพังกิเลสตัณหา หรือแม้แต่สัญชาตญาณ; <br />\nมันจะเลวร้ายกว่าการไม่พัฒนาอีกมากมายนัก  (๑๐๓) </p>\n<p>• เพราะเขาเอากิเลสเป็นตัวเองโดยไม่รู้สึกตัว เขาจึงพัฒนาตัวเอง และช่วยผู้อื่นให้พัฒนาแต่ในทางเป็นทาส หรือเป็นปัจจัยแก่กิเลส<br />\nไม่เหมาะแก่ตัวที่เป็นธรรมเสียเลย   (๑๐๔) </p>\n<p>• ถ้าท่านมองเห็นว่า พฤติกรรมต่างๆ ของท่านหรือเกี่ยวกับท่าน ได้เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฏอิทัปปัจจยตาแล้ว <br />\nปรกติสุขจะมีแก่จิตใจของท่านทุกเวลานาที   (๑๐๕) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• อย่ามุ่งหมายความสุขอันประเสริฐอะไรๆ ให้มากไปกว่าความปกติของจิตที่ไม่ยินดียินร้าย ไม่ขึ้นไม่ลงไปตามอารมณ์ที่กระทบ; <br />\nเพราะไม่มีสุขอะไรประเสริฐยิ่งไปกว่าความปกติของจิตนั้น  (๑๐๖)</p>\n<p>• ในโลกแห่งมนุษย์ยุคปัจจุบัน คนอยู่กันอย่างกิเลสบังคับคน, มิใช่คนบังคับกิเลส; ดังนั้น การกระทำตามอำนาจของกิเลส <br />\nจึงเต็มไปทั้งโลก  (๑๐๗)</p>\n<p>• สวรรค์อันแท้จริง มีได้ที่นี่และเดี๋ยวนี้ คือการกระทำหน้าที่ของตนอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ จนยกมือไหว้ตัวเองได้ สวรรค์อื่น - อย่างอื่น - คราวอื่น ทั้งหมด ถ้ามี ก็ขึ้นอยู่กับสวรรค์ที่ว่านี้  (๑๐๘) </p>\n<p>• นรกที่แท้จริง มีได้ที่นี่และเดี๋ยวนี้ คือบกพร่องผิดพลาดในหน้าที่อันแท้จริงของตน จนเกลียดน้ำหน้าตนเอง; นรกอื่น -อย่างอื่น -คราวอื่น <br />\nถ้ามี ก็ขึ้นอยู่กับนรกที่กล่าวนี้  (๑๐๙) </p>\n<p>• การอบรมจิตอย่างแท้จริง คือการรู้ความลับแห่งธรรมชาติของจิต แล้วสามารถควบคุมดำรงจิตไว้ในลักษณะที่ความรู้สึกอันเป็นทุกข์ <br />\nเกิดขึ้นไม่ได้  (๑๑๐) </p>\n<p>• เราไม่ทำ และไม่ยอมทำ การศึกษาค้นคว้าเรื่องกิเลสและความทุกข์กันให้มาก เหมือนเรื่องโบราณคดี - วิทยาศาสตร์ - เทคโนโลยี -<br />\n เศรษฐกิจการเมือง ฯลฯ ดังนั้น ความเลวร้ายฝ่ายวิญญาณ จึงครองโลกทั้งส่วนบุคคลและสังคม อย่างมหาศาล  (๑๑๑) </p>\n<p>• ตน มิใช่เป็นที่พึ่งแก่ตนอย่างเดียว หากแต่เป็นที่ตั้งแห่งความคิดและการกระทำที่เห็นแก่ตัว แล้วทำตนให้เป็นทุกข์ด้วยในคราวเดียวกัน  (๑๑๒) </p>\n<p>• ตน (ซึ่งเป็นผลของความยึดมั่นด้วยอุปาทาน) นั่นแหละเป็นสิ่งที่ทำความทุกข์ให้แก่ตน, และจะเปลื้องทุกข์ให้แก่ตนได้ด้วย;<br />\nจงรู้จักมันให้ถึงที่สุด ทั้งสองทางเถิด   (๑๑๓) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n• อย่าคิด - พูด - ทำ ไปในลักษณะที่เหยียดหยามใครๆ ว่าเป็นคนโง่; เพราะเราอาจจะเป็นคนโง่ เช่นนั้นเพราะเหตุนั้น<br />\n- อยู่แล้วโดยไม่รู้สึกตัว  (๑๑๔) </p>\n<p>• ถ้าเราประมาทอย่างเต็มที่ขึ้นมาเมื่อไร ก็อาจจะเผลอรู้สึกว่า พี่ชาย - พี่สาว - ป้า - น้า - บิดา - มารดา - ครูบาอาจารย์<br />\n- พระสงฆ์องค์เจ้า - แม้กระทั่ง พระพุทธเจ้า เป็นคนโง่ไปทั้งหมดก็ได้   (๑๑๕) </p>\n<p>• คำพูดที่หยิ่งยโสสามหาว คือผลของความโง่ ในการโอ้อวดสิ่งที่ไม่จำเป็นต้องอวด; มันเกิดมาจากภวตัณหา <br />\nที่ปรุงขึ้นมาอย่างไม่ทันรู้สึกตัว  (๑๑๖) </p>\n<p>• ความคิดที่ดำเนินไปมากกว่าเหตุ จนไม่คิดที่จะทำอะไร หรือรับผิดชอบอะไร นั้นมิใช่การปล่อยวาง; <br />\nหากแต่เป็นกิเลสประเภทวิภวตัณหา ที่มีอยู่อย่างไม่รู้สึกตัว เดือดขึ้นมา  (๑๑๗) </p>\n<p>• ความไม่รู้ว่า การงานคือการปฏิบัติธรรม, หรือไม่รู้ว่า ธรรมะนั้นหน้าที่ของสิ่งที่มีชีวิต :<br />\nนี่แหละคือความรู้ที่พุทธบริษัทยังขาดอยู่ ในศาสนาของตน  (๑๑๘) </p>\n<p>• มีใครสักกี่คน ที่ทำอะไรเป็นที่พอใจตนเอง จนยกมือไหว้ตนเองได้; เพราะรสนิยมของเขาอยู่ที่การบูชา <br />\nและตกเป็นทาสของกามตัณหา โดยไม่รู้สึกตัว  (๑๑๙) </p>\n<p>• เด็กๆ ในครอบครัวของพุทธบริษัท ต้องได้รับการอบรมให้รู้ว่า บิดามารดาเป็นพรหม<br />\n- เทพ - ครูคนแรก - อาหุเนยบุคคล; มิฉะนั้นจะกลายเป็น เรือนมีนรกครอบครอง  (๑๒๐) <br />\n  <br />\n• แม้การจำลองศาลท้าวมหาพรหม ไปตั้งกันที่เมืองนอก (ลาสเวกัส อเมริกา) ก็ต้องเพื่อเสริมสร้าง - เร่งเร้า - ความรู้สึกเมตตากรุณามุทิตาอุเบกขา ขึ้นในโลก; มิใช่เพื่อการอ้อนวอน อันเป็นลัทธิบูชารูปเคารพ  (๑๒๑) </p>\n<p>• ความเคารพตัวเองที่แท้จริงนั้น ต้องยอมรับพิจารณาความคิดของผู้อื่นด้วย; ผิดจากความหยิ่งยโส ยกหูชูหาง <br />\nซึ่งไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของใครเอาเสียเลย  (๑๒๒) </p>\n<p>• ในสมัยที่วัฒนธรรมพุทธ ยังเผยแผ่ประจำบ้านเรือนนั้น อาชญากรบ้าคลั่งอย่างเลวร้าย ก็ยังไม่มี; <br />\nวิกฤตการณ์นี้จะหมดสิ้นไปเมื่อไร ก็แล้วแต่กฏอิทัปปัจจยตาจะเป็นที่รู้จักและนำมาใช้  (๑๒๓) </p>\n<p>• คนที่ถึงกับพูดเท็จได้แล้ว จะไม่ทำบาปอย่างอื่นๆ ทุกอย่างได้ นั้นเป็นไม่มี; เพราะเขาได้โกหกหลอกลวงตัวเองจนถึงที่สุด<br />\nและขบถต่อตัวเองแล้วอย่างสิ้นเชิง   (๑๒๔) </p>\n<p>• สิ่งที่เราเคยอยากได้ อยากจะให้เขาช่วยให้ได้ และพอใจอย่างยิ่งเมื่อได้ จะมีได้สักวันหนึ่งต่อเมื่อเหตุการณ์ภายในความรู้สึกของเรา ได้เปลี่ยนแปลงไปอยู่ในความรู้สึกที่ตรงกันข้าม : คือมองเห็นว่าไม่มีอะไรที่น่าได้ - น่าเอา - น่าเป็น   (๑๒๕) </p>\n<p>• สมาธิที่แท้จริง และไม่ต้องทำขึ้นมา แต่เป็นเอง ก็มีอยู่ คือ เมื่อจิตไม่ต้องการอะไร และรู้สึกอยู่ในความไม่ต้องการอะไรนั้น <br />\nแม้ชั่วคราว  (๑๒๖) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>• ความรู้และความหลุดพ้นแท้จริง ชนิดตัวอย่างนั้น มีอยู่ คือ เมื่อจิตไม่ต้องการอะไร และซึมซาบอยู่ในความรู้สึกนั้น แม้ชั่วคราว  (๑๒๗) </p>\n<p>• เรากล่าวได้ว่า &quot;จิตหลุดพ้น&quot; แต่เราไม่อาจกล่าวได้ว่า &quot;อัตตาหลุดพ้น&quot;; เพราะว่า <br />\nหลุดพ้นหมายถึงหลุดพ้นจากความยึดถือว่า &quot;อัตตา&quot; นั่นเอง  (๑๒๘)</p>\n<p>• ความว่าง (สุญฺญตา) มิได้หมายถึงความไม่มีอะไรเลย แต่หมายถึงความที่จิตว่างจากความยึดถืออะไรๆ ว่าตัวตน, <br />\nกำลังรู้สึกและเข้าถึงภาวะแห่งความว่างนั้นอยู่ นั่นแหละ คือความว่างของจิตที่กำลังว่าง  (๑๒๙) </p>\n<p>• ความที่จิตว่างจากกิเลส หรือว่างจากนิวรณ์ทั้งห้าเพียงชั่วคราว ถ้ารู้สึกได้ ก็เป็นตัวอย่างแห่งนิพพานชั่วคราว <br />\nซึ่งจะจูงใจให้น้อมไปสู่นิพพานที่สมบูรณ์ได้ดี   (๑๓๐) </p>\n<p>• เราสามารถทำงานหนักให้กลายเป็นของเล่นน่าสนุกได้ โดยทำอย่าให้มีความรู้สึกว่าตัวกู เป็นผู้กระทำให้ตัวกู<br />\nแต่เป็นการกระทำของจิตที่ว่างจากตัวกู  (๑๓๑) </p>\n<p>• ความหลุดพ้นของจิต เป็นคนละอย่าง ต่างจากความหลุดพ้นของอัตตา ซึ่งหลุดพ้นแล้ว ก็ยังมีอัตตาเหลืออยู่ <br />\nส่วนการหลุดพ้นของจิต ไมมีความหมายของอัตตา หรือว่า อัตตา  (๑๓๒) </p>\n<p>• ความบริสุทธิ์ของจิต มี ๒ ชนิด : ชนิดแรก เมื่อก่อนเกิดอัตตา แต่ยังเปลี่ยนเป็นไม่บริสุทธิ์ได้<br />\n: บริสุทธิ์ชนิดหลัง คือเมื่อละอัตตาได้พร้อมทั้งเหตุ, จะเปลี่ยนไปเป็นไม่บริสุทธิ์อีกไม่ได้   (๑๓๓) </p>\n<p>• ความอร่อยและความไม่อร่อยนั้น เป็นเพียงความรู้สึก ยังไม่จัดเป็นกิเลส: ต่อเมื่อเกิดพอใจหรือไม่พอใจ <br />\nจึงจะจัดเป็นกิเลส; ดังนั้น จะกินมันดูทั้งที่อร่อยหรือไม่อร่อย เพื่อการศึกษา หรือการทดสอบก็ยังได้  (๑๓๔) </p>\n<p>• การบวชที่แท้จริง อยู่ที่การบวชใจ คือหลบหลีกจากการเกิดกิเลสและการเกิดทุกข์; การบวชทางกายภายนอก<br />\nเป็นเพียงการให้ความสะดวก หรือความง่ายแก่การบวชใจ  (๑๓๕) </p>\n<p>• แม้บางคนจะมีนิสัยไม่รู้จักเสียดาย หรือประหยัดเอาเสียเลย นั่นก็มิใช่จะเหมาะสำหรับจะบวชเป็นนักบวช เพราะมันเป็นคนละเรื่องกัน  (๑๓๖)</p>\n<p>• การเข้ามาสู่ร่มเงาแห่งศาสนาในทุกวันนี้ เป็นเพียงพิธีรีตอง เสียเป็นส่วนมาก; จิตจึงยังมิได้เข้ามาสู่ร่มเงาของนิพพาน<br />\nแม้ในขั้นตัวอย่างชิมลอง  (๑๓๗) </p>\n<p>• ระบบการบวช มิได้ห้ามไม่ให้กินของอร่อยที่รู้จักอยู่, อาจจะกินเพื่อรู้จักละ หรือควบคุมฉันทราคะนั้นได้อยู่; ของไม่อร่อย <br />\nก็มีนัยะที่ต้องปฏิบัติทำนองเดียวกัน  (๑๓๘)</p>\n<p>• การบำเพ็ญบารมีในทางธรรม หมายถึงการทำความดี - ความถูกต้อง - นั้นๆ จนเป็นนิสัย; ส่วนในทางโลก นั้นหมายถึงการสะสมอำนาจวาสนา, ทั้งสองอย่างนี้ ควรที่ใครๆ ก็ทำได้  (๑๓๙)</p>\n<p>• การปรับปรุงศีลธรรม ที่ต้องใช้พระเดชนั้น ต้องการผู้บังคับบัญชาที่กล้าหาญ - เฉียบขาด - เที่ยงธรรม - เต็มที่; มิฉะนั้นไม่มีทางที่จะเป็นไปได้  (๑๔๐) </p>\n<p>• วัดประจำหมู่บ้าน ตั้งอยู่ได้, พุทธศาสนาประจำชาติ ตั้งอยู่ได้ โดยไม่เป็นภาระหนักแก่ใคร ดังที่กำลังเป็นอยู่นี้ นับเป็นสหกรณ์ และอภิมหาสหกรณ์ ที่ควรรู้จัก และนำเอาหลักการมาใช้ในกรณีอย่างอื่น  (๑๔๑) </p>\n<p>• บุคคล หรือแม้สถาบันที่เผยแผ่ธรรมะอย่างเอาจริงเอาจัง ก็ยังเป็นเพียงธรรมะประเภทในทัสสนะ (ฟิโลโซฟี่) ไปเสียทั้งนั้น; <br />\nยังมิใช่เป็นการรู้แจ้งแทงตลอด   (๑๔๒) </p>\n<p>• ผู้เผยแผ่ธรรมะประเภทธรรมทัสสนะ (ฟิโลโซฟี่) อยู่อย่างตัวเป็นเกลียว แต่กำลังทนทุกข์อยู่ในใจอย่างหนักหน่วง <br />\nเนื่องจากสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ก็ยังมี   (๑๔๓) </p>\n<p>• นักบวชยังหลีกเลี่ยงการเมืองไปไม่ได้ เพราะมีนักบวชไว้ช่วยบรรเทาวิกฤตการณ์ อันเกิดจากการเมืองของโลกนั่นเอง; <br />\nอย่าได้เข้าใจผิด  (๑๔๔)</p>\n<p>• คำว่า &quot;วัฒนา&quot; มีความหมายเป็นกลางๆ ตามภาษาบาลี คือเพิ่มให้มากขึ้นเท่านั้น : ดีก็ได้ ร้ายก็ได้; ดังนั้น ท่านจึงสอนไว้ว่า <br />\nน สิยา โลกวฑฺฒโน คือ อย่าทำโลกให้วัฒนา (รก)  (๑๔๕) </p>\n<p>• ศิลปวัตถุชั้นประณีตศิลป์วิจิตรศิลป์ อันมากมายมหาศาล ตลอดกาลยาวนาน ในการสร้างและการรักษานั้น <br />\nทำให้มนุษย์เสียเวลาและแรงงาน ในการค้นหานิพพาน ไปสักเท่าใด เป็นสิ่งที่น่าพิจารณาอย่างยิ่ง   (๑๔๖) </p>\n<p>• ยอดศิลปะของมนุษย์ เท่าที่ข้าพเจ้ารู้จัก คือ &quot;การรู้จักตายเสียก่อนตาย&quot; (ตัวกูตายก่อนร่างกายตาย); <br />\nเพราะเป็นสิ่งที่สามารถดับทุกข์ทุกชนิด - ทุกเวลา - ทุกแห่งหน  (๑๔๗) </p>\n<p>• ขึ้นชื่อว่า ศิลปะ ย่อมต้องการความฉลาด และฝีมืออันประณีต ทั้งทางกายและทางจิต; ดังนั้น การประพฤติธรรม <br />\nจึงมีอาการที่รู้สึกกันว่า &quot;ยาก&quot; บ้างเป็นธรรมะดา อย่าได้สงสัยหรือประหลาดใจเลย  (๑๔๘)\n</p>\n<p>\n<br />\n• ในโลกปัจจุบัน ศิลปะเพื่อธรรมะ (คือโพธิสันติ) กำลังพ่ายแพ้แก่ศิลปะเพื่ออธรรม (โมหะ และวิกฤตการณ์) <br />\nซึ่งขยายตัวมากขึ้น จนมีฐานสำหรับผลิตเป็นเทคโนโลยี่อย่างมหาศาล   (๑๔๙) </p>\n<p>• ศิลปวัตถุแห่งยุคปัจจุบันหลายประการ กำลังเป็นบาปกัดกร่อนทางวิญญาณ อยู่อย่างเร้นลับสำหรับมนุษย์ :<br />\nได้แก่ศิลปวัตถุที่กำลังนิยมกันยิ่งขึ้นทุกทีอย่างหลับหูหลับตานั่นเอง  (๑๕๐) </p>\n<p>• สิ่งที่เรียกว่า ไสยศาสตร์ ยังต้องเก็บไว้ให้คนปัญญาอ่อน ที่ต้องถือไสยศาสตร์ไปพลางก่อน<br />\nเพราะเขายังไม่อาจเข้าถึงและถือธรรมะได้  (๑๕๑) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>• ถ้าเราเข้าใจศาสนาผิด เราก็จะได้แต่นั่งอ้อนวอนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในศาสนา โดยไม่มีการปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องและเพียงพอ<br />\nแก่การดับทุกข์เสียเลย   (๑๕๒) </p>\n<p>• เรื่องขลังและศักดิ์สิทธิ์นั้น ยกถวายแก่พระเจ้าหรือเทพเจ้า ในการคาดคะเน<br />\nอย่านำมาเกี่ยวข้องกับพวกเราที่มีธรรมะอันแท้จริงเป็นพระเจ้า มันจะเกิดความงมงายเลอะเลือนขึ้นแก่ทั้งสองฝ่าย  (๑๕๓) </p>\n<p>• คำว่า &quot;ขลัง&quot; - &quot;ศักดิ์สิทธิ์&quot; ไม่มีในพระพุทธศาสนา แต่ก็ยังมีคำว่า &quot;สีลพตปรามาส&quot; อยู่แทนทั้งนี้ เพราะในพระพุทธศาสนาไม่มี <br />\nหรือไม่ต้องการจะมีนั่นเอง   (๑๕๔) </p>\n<p>• ความขลัง หรือ ศักดิ์สิทธิ์ ของท่านอาจารย์ผู้วิเศษนั้น ขึ้นอยู่กับความงมงายมากงมงายน้อย - โง่มากโง่น้อย ของผู้เป็นสาวกนั่นเอง จึงไม่เกี่ยวกับพุทธศาสนา ซึ่งมียถาภูตสัมมัปปัญญา เป็นหลัก  (๑๕๕) <br />\n• ถ้ายังชอบคำว่า ขลังหรือศักดิ์สิทธิ์ ก็ยกให้เป็นอำนาจของกฏอิทัปปัจจยตา; อย่าให้เป็นความขลังศักดิ์สิทธิ์ ที่ตั้งรากฐานอยู่บนความงมงายของประชาชนเลย  (๑๕๖) <br />\n• ถ้าเอาความขลังความศักดิ์สิทธิ์มาใส่ให้แก่ศาสนาแล้ว เราก็ไม่ต้องทำอะไรกัน; นอกจากนั่งอ้อนวอนสิ่งศักดิ์สิทธิ์กันเรื่อยไป, แล้วจะอยู่กันได้อย่างไร  (๑๕๗) <br />\n• ระวังให้ดี ในโบสถ์ที่มีแต่การอ้อนวอนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือเสี่ยงเซียมซี นั้นจะไม่มีธรรมะอะไรเลยก็ได้ นอกจากการขอทานทางวิญญาณ หรือการติดสินบนที่เอาเปรียบมากเกินไป  (๑๕๘) <br />\n• หนังสือไตรภูมิพระร่วงนั้น ถ้าศึกษาไม่ดี ก็จะกลายเป็นศาสนาฮินดู หรือ พราหมณ์ไป จะเข้าถึงอนัตตาหรือโลกุตตระไม่ได้; ต้องระวังกันให้มากจึงจะปลอดภัย  (๑๕๙) <br />\n• การเข้ามาเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้องนั้น คือเพื่อการดำรงชีวิตชนิดที่ไม่รู้สึกเป็นทุกข์เลย และทั้งเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น หรือโลกทั้งหมดด้วย   (๑๖๐) <br />\n• โลกุตตระไม่เกี่ยวกับการออกบวช ปฏิบัติเคร่งครัดอยู่ในวัดหรือในป่า แต่เป็นการดำรงจิตอยู่เหนืออิทธิพลของอารมณ์ทั้งหลาย ในสากลโลก  (๑๖๑) <br />\n• คำว่า &quot;โลก&quot; มีทั้งในภาษาวัตถุ (ภาษาคน) และภาษาธรรม(ภาษาจิตวิญญาณ); และโลกที่ตรัสว่าโลกคือทุกข์นั้น เป็นโลกในภาษาธรรม คือสิ่งที่ยึดถือแล้วเป็นทุกข์  (๑๖๒) <br />\n• คำว่า &quot;ชาติ&quot; เป็นคำที่ตรัสไว้ทั้งสองชนิด คือ ภาษาคนและภาษาธรรม, และชาติที่ให้เกิดทุกข์จริงๆ นั้นเป็นการเกิดแห่งตัวกู ทางจิตใจ ด้วยอุปาทาน มิใช่เกิดทางกายจากท้องมารดา; เมื่อยังไม่เกิดชาติทางอุปาทาน การเกิดทางกายจากท้องมารดา ก็ยังไม่มีความหมาย   (๑๖๓) <br />\n• ทุกคนกำลังถือศาสนา &quot;ประโยชนาธิปไตย&quot; ไม่ว่าจะกำลังเป็นศาสนิกของศาสนาอะไร ล้วนแต่ลืมจุดหมายแท้จริงแห่งศาสนาของตนๆ เพราะสิ่งที่เรียกว่า &quot;ประโยชน์&quot; ครอบงำเอา; ศาสนาที่แท้จริงต้องการให้เราอยู่เหนืออิทธิพลของประโยชน์ใดๆ ทั้งสิ้น   (๑๖๔) <br />\n• ตรัสว่า การประพฤติพรหมจรรย์ ต้องมิใช่เพื่อลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ; ดังนั้น การประกาศพรหมจรรย์ ก็ต้องมิใช่เพื่อลาภสักการะเสียงสรรเสริญ เช่นเดียวกัน   (๑๖๕) <br />\n• จะมีเงินอำนาจวาสนายศศักดิ์บริวารมากมาย มีมือปืนคุ้มครองตั้ง ๒๐ คน ก็ยังมีความทุกข์ทรมานใจอยู่นั่นเอง; มีธรรมะอย่างเดียวเท่านั้น จะไม่มีทุกข์ รีบรู้จักกันเสียเถิด  (๑๖๖) <br />\n• การทำงานเพื่อเงินนั้น ต้องรอจนกว่าจะได้เงินเสียก่อน จึงจะรู้สึกพอใจ; ถ้าทำงานเพื่องาน พอลงมือทำก็พอใจแล้ว และเป็นสุขทันที ส่วนเงินนั้น ก็ไม่ไปไหนเสีย  (๑๖๗) <br />\n• เขาทำดีกันจนเป็นบ้า, เราควรทำดีแต่พอดีและถูกต้อง; แต่ก็เป็นสิ่งที่รู้ได้ยากเหมือนกัน ว่าเท่าไรพอดี: น่ากลัว, น่ากลัว  (๑๖๘) <br />\n• จะเอาศาสนามาช่วยชาติ โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นำได้อย่างไร ในปัจจุบัน : นี้เป็นสิ่งที่ควรสนใจและปฏิบัติกันให้ถูกต้อง อย่างสูงสุด  (๑๖๙) <br />\n• เราตั้งคำถามกันอย่างไม่ถูกต้อง ว่า &quot;ศาสนาจะช่วยประเทศชาติได้อย่างไร?&quot; ที่ถูกเราควรจะถามกันว่า &quot;เราจะเอาศาสนา มาใช้ปฏิบัติในการช่วยชาติอย่างไร?&quot; มากกว่า (๑๗๐) <br />\n• แห่กันมามากมายหลายแห่งหน ว่ามาศึกษาหาธรรมะ, แต่ก็ไม่ได้อะไรไป นอกจากพรลมปากอย่างน่าสงสาร เพราะไม่รู้ว่าธรรมะคืออะไร สนใจได้แต่เรื่องสนุกๆ  (๑๗๑) <br />\n• รู้สึกละอายอยู่เหมือนกัน ที่ตั้งใจจะพูดเรื่องธรรมะแท้อย่างถูกต้อง ผู้ฟังก็หลับเสียเป็นส่วนมาก ถ้ามีตลกโปกฮาบ้าง แรดเหล่านั้นจึงจะฟังอย่างหูผึ่ง  (๑๗๒) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>• ผู้เฒ่าสมัยก่อน เมื่อใครไหว้ท่าน ท่านจะตอบว่า &quot;ไหว้พระนะลูกนะ&quot;; นี่แสดงว่า ท่านไม่ปล้นเอาเกียรติหรือคุณของพระองค์มาเป็นของตน; แต่คนสมัยนี้ รับเอาเป็นของตัวเอง แล้ววางผึ่งเมื่อมีใครไหว้  (๑๗๓) <br />\n• เด็กไทยสมัยนี้ เริ่มจะรู้จักวันวาเลนไทน์กันมากยิ่งกว่าวันมาฆะ - วิสาขะ - อาสาฬหบูชา; จะมีผลแก่ประเทศชาติหรือความเป็นไทย ในอนาคตอย่างไรบ้าง  (๑๗๔) <br />\n• ไม่ต้องเสียใจ! ความผิดพลาดเป็นสิ่งที่มนุษย์ธรรมดาต้องมี; แต่ก็แก้ไขได้ด้วยความฉลาด ที่ความผิดพลาดมันสอนให้เรา ทุกครั้งที่เราทำผิดไปนั่นเอง  (๑๗๕) <br />\n• เมื่ออยู่ต่อหน้าผู้ที่ด้อยกว่า ก็แสดงกิริยาอย่างหนึ่ง, ที่เสมอกัน ก็อีกอย่างหนึ่ง, ที่เด่นกว่า ก็ยิ่งอีกอย่างหนึ่ง โดยไม่ต้องเจตนา : นี้เป็นของธรรมดา; ที่ประเสริฐกว่านี้ ก็ต้องแสดงอย่างเสมอกันทั้งสามชนิด, โดยไม่ต้องเจตนา อีกอย่างเดียวกัน  (๑๗๖) <br />\n• อยู่โดยไม่ต้องมีความรู้สึกว่า เราดี - เด่น - ดัง อะไรเลย เพียงแต่รู้สึกว่า เราเป็นผู้มีประโยชน์ที่สุดคนหนึ่ง; นั่นแหละถูกต้องและเป็นสุขแท้  (๑๗๗) <br />\n• ของอร่อยหรือสวยงามมาถึงเข้า ก็บริโภคได้โดยเพื่อความฉลาดในสิ่งนั้นๆ, มิใช่เพื่อความหลงใหลในสิ่งนั้น; ถ้าแสวงหามา และบริโภคด้วยความหลงก็กลายเป็นความโง่ทันที  (๑๗๘) <br />\n• การจาริก เพื่อได้ความเพลิดเพลินก็มี - ได้บุญก็มี - ได้ความรู้ก็มี นี้ต่างกันเป็นคนละอย่าง; แต่บัดนี้ จาริกเพื่อความเพลิดเพลิน นั้นมีมากเหลือเกิน รวมทั้งพระธุดงค์ด้วย   (๑๗๙) <br />\n• การสอนว่า อะไรๆ เป็นผลของกรรมเก่า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลนั้น มีอยู่ก่อนพระพุทธศาสนา; มิใช่พุทธศาสนา ซึ่งสอนว่า อะไรๆ เป็นผลตามกฏเกณฑ์ของอิทัปปัจจยตา ที่กำลังมีอยู่หรือเป็นไปอยู่  (๑๘๐) <br />\n• อะไรๆ ที่เกิด-มี-เป็น-อยู่ กับเรานั้น มิใช่เพราะกรรมเก่า หรือพระเจ้าบันดาล แต่เป็นผลของอิทัปปัจจยตาที่กำลังปฏิบัติอยู่ผิดหรือถูก, ที่ทำให้เราสุข-ทุกข์ มั่งมี-ยากจน สวย-ขี้เหร่ แม้ที่สุดแต่ให้ผอมหรืออ้วน ฯ  (๑๘๑) <br />\n• คนสมัยก่อน เมื่อมีใครไหว้ ก็ตอบว่า &quot;ไหว้พระนะลูกนะ&quot; พระในที่นี้ ก็คือสิ่งที่ทำให้คนๆ นั้น มีอะไรดี จนมีคนยกมือไหว้; นั่นคือ เขาไม่ยักยอกคุณของพระธรรมเหมือนคนสมัยนี้ ฯ   (๑๘๒) <br />\n• ในพุทธศาสนา ไม่มีอะไรที่มิใช่ &quot;ธาตุ&quot; แม้แต่ขี้ฝุ่นอณูหนึ่ง ถึงรูปธรรมนามธรรม กระทั่งนิพพาน; คำว่า ธาตุ ในที่นี้หมายถึง คุณสมบัติที่เป็น นามธรรมของสิ่งนั้นๆ มิได้เล็งถึงวัตถุล้วนๆ ฯ  (๑๘๓) <br />\n• เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกว่า สัญชาตญาณนั้น ธรรมะจะจัดการได้ ก็เพียงแต่เปลี่ยนร้ายให้กลายเป็นดี (Sublimate) , มิใช่สามารถเพิกถอน (Eliminate) ซึ่งผิดธรรมชาติ และเป็นไปไม่ได้; เราจะต้องมีความเข้าใจถูกต้อง ฯ (๑๘๔) <br />\n• โลกทั้งหมด ตั้งขึ้นและดับลงที่ผัสสะ : ถ้าควบคุมผัสสะได้ ก็คือควบคุมโลกทั้งหมดได้ และนั่นก็คือควบคุมความทุกข์ทั้งปวงได้ ทั้งทางวัตถุและทางจิต ฯ   (๑๘๕) <br />\n• ภาวะบริสุทธิ์ของจิต มี ๒ ชนิด หรือ ๒ ขั้นตอน คือบริสุทธิ์เพราะกิเลสยังไม่เกิด หรือก่อนแต่กิเลสเกิด และเพราะกิเลสเกิดไม่ได้อีกต่อไป ฯ (๑๘๖) <br />\n• การริษยาผู้อื่นนั้น มิใช่ตนเองจะได้รับประโยชน์อะไร, แต่เป็นการทำลายประโยชน์ ส่วนรวมอย่างยิ่ง และตนเองก็ถูกเผาอยู่ด้วยไฟริษยา ฯ (๑๘๗) <br />\n• &quot;ทั้งวัน ฉันไม่ได้ทำอะไร แต่ทุกอย่างถูกต้องหมด&quot; เพราะไม่มีอุปาทานว่าตัวตนเป็นผู้ทำอะไร, จึงเท่ากับไม่ได้ทำอะไร เพราะปราศจากอุปาทานว่า ตัวตนอยู่ตลอดเวลา ฯ (๑๘๘) <br />\n• การทำอะไรแล้วปรารถนาว่า &quot;นิพฺพานปจฺจโยโหตุ&quot; นั้นค้านกับข้อที่ว่า &quot;นิพพานเป็นธรรมที่ไม่มีปัจจัย&quot; และข้อที่ว่า &quot;นิพพานเป็นของให้เปล่า&quot; โดยไม่ต้องแลกเปลี่ยนด้วยอะไร จากคนที่ปรารถนาจะได้นิพพาน ฯ  (๑๘๙) <br />\n• ยิ่งอยากเป็นพระอรหันต์ ยิ่งไกลจากความเป็นพระอรหันต์; ยิ่งไม่อยากเป็นและไม่อยากอะไรเลย ก็ยิ่งเป็นพระอรหันต์อยู่ในตัวเอง : นี่เป็นสิ่งที่ควรศึกษาอย่างยิ่ง ฯ (๑๙๐) <br />\n• ต้องการจะให้ - มิใช่ต้องการจะเอา แม้มันจะต่างกันเป็นคนละอย่าง แต่มันก็รวมอยู่ในความไม่ต้องการอะไรมาเป็นของตัว เพราะไม่มีตัวที่จะให้หรือจะเอา ฯ (๑๙๑) <br />\n• พึงทราบไว้เถิดว่า &quot;ท่านเป็นปูชนียบุคคลอยู่เหนือเศียรเกล้าของเรา, แต่ท่านทำงานอย่างกะรับใช้เรา เพื่อความรอดของเราอยู่ตลอดเวลา&quot; ผู้ไม่สนใจในข้อนี้ ย่อมเป็นคนอกตัญญูอยู่โดยอัตโนมัติ ฯ (๑๙๒) <br />\n• การสอบไล่ได้-ตก นั้นมีแต่ในเรื่องของสุตมยปัญญา และจินตมยปัญญาบ้าง; หามีในกรณีของภาวนามยปัญญาไม่ : อย่าอวดดีไปนักเลย ผู้สอบไล่ได้ทั้งหลายเอ๋ย! ท่านจะไม่พบกับความดับทุกข์ ฯ (๑๙๓) <br />\n• แม้ในยุคปัจจุบันนี้ ลาภสักการสิโลกะก็ยังเป็นอันตรายแก่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ อย่างเลวร้าย ดังที่ตรัสไว้ในพระบาลี (ลาภสกฺการสํยุตฺต สํ.) อยู่ตามเดิมทุกประการ : จงพยายามกวาดทิ้งกันเสียบ้างเถิด ฯ  (๑๙๔) <br />\n• บุญ-บาป เป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับเจตนา และรู้สึกอยู่แก่ใจทั้งนั้น มันสำคัญอยู่ที่ว่า เราบังคับจิตให้ทำ หรือให้เว้นได้หรือไม่ เท่านั้น ฯ (๑๙๕) <br />\n• ระวัง การคิดปรุงของจิต : มันอาจจะเอาเรื่องที่ไม่ควรคิด หรือยังไม่ต้องคิด มาคิดปรุงให้รู้สึกเป็นทุกข์หรือสุขได้ ซึ่งเป็นเรื่องหลอกโดยเท่ากัน ฯ (๑๙๖) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>• วันคืนล่วงไปๆ มิได้ล่วงไปเปล่า แต่ได้ทำให้ชีวิตมีความรู้ หรือมีประสบการณ์เพิ่มขึ้น โดยเท่ากัน; หากแต่คนโง่ไม่รู้สึก และไม่รู้จักนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ได้เท่านั้น ฯ  (๑๙๗) <br />\n• หยูกยา หรือศิลปวัตถุบางอย่าง ที่เขาใช้เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง อยู่เป็นประจำวันจริงๆ, แต่เขาไม่รู้สึกขอบคุณผู้คิดค้นหรือผู้ผลิต เพราะคิดว่าเขาซื้อมันมาด้วยเงินของเขา: นี้เป็น &quot;อกตัญญูทางวิญญาณโดยอัตโนมัติ&quot; ระวังให้ดี ฯ  (๑๙๘) <br />\n• เขาได้ฟังธรรม แล้วนำไปใช้เป็นประโยชน์ หรือนำไปพูดต่อเป็นคำของเขาเอง โดยไม่รู้สึกขอบคุณผู้แสดงแก่เขา โดยถือว่าเป็นของแจกฟรีทั่วๆ ไป : นี้คือโจรขโมยโดยอัตโนมัติ และโดยนิสัยสันดาน, ซึ่งก็มีอยู่โดยมาก ฯ  (๑๙๙) <br />\n• กินดี-อยู่ดี นั่นแหละระวังให้ดี มันทำให้เป็นโรคทางกาย (แม้ทางตา) และโรคทางจิต คือ อุปาทานในความอร่อยสวยงาม ล้วนแต่นำมาซึ่งปัญหาทางเศรษฐกิจในภายหลัง ; ต้องเปลี่ยนให้เป็นว่า กินอยู่แต่พอดี จึงจะปลอดภัย ฯ (๒๐๐) <br />\n  <br />\n• ความแตกฉานทางปรมัตถ์ปรัชญานั้น เป็นเรื่องต่างหากจากความเป็นพระอรหันต์; อย่าเอาไปปะปนกัน อาจจะลืมตัว แล้วสำคัญตนว่าเป็นอรหันต์ก็ได้ ฯ  (๒๐๑) <br />\n• ปัญหาที่ว่า พระเจ้ามีจริงหรือไม่? เป็นบุคคลหรือมิใช่บุคคล? ประทานคัมภีร์มาให้จริงหรือไม่? เหล่านี้ไม่ใช่เรื่องสำคัญ แต่สำคัญอยู่ที่ว่า คำสอนที่บอกให้นั้น ถ้าปฏิบัติตามแล้วดับทุกข์ได้จริงหรือไม่เท่านั้น ฯ  (๒๐๒) <br />\n• เศรษฐกิจดี - การเมืองดี - การปกครองดี - กสิกรรมอุตสาหกรรมดี - อะไรๆ ก็ดี แต่คนผู้เกี่ยวข้องไม่มีศีลธรรม แล้วผลจะเป็นอย่างไร จะยิ่งวิกฤตการณ์กว่าที่อะไรๆ ไม่ดี ได้หรือไม่ ฯ  (๒๐๓) <br />\n• อำนาจการซื้อ ซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดทางเศรษฐกิจและทางการต่างประเทศ มีต้นตอแท้จริงมาจากการผลิต ด้วยหยาดเหงื่อแรงงานของกสิกรและกรรมกร ทำไมจึงมองกันแต่นักเศรษฐกิจและนักการเมือง ว่าเป็นเหมือนพระเจ้า ฯ (๒๐๔) <br />\n• บัดนี้ เป็นที่ปรากฏแล้วว่า ครู คือ ผู้ที่เกลียดคำว่า &quot;ศีลธรรม&quot; มากที่สุด รู้สึกว่ามันเป็นข้าศึกต่อเหล้า- บุหรี่ - ผู้หญิง ; จึงไม่มีอารมณ์ ที่จะศึกษา - สั่งสอน - อบรมศีลธรรมกันเป็นส่วนมาก ฯ (๒๐๕) <br />\n• แม้แต่เด็กกำพร้า - หูหนวก - ตาบอด ก็ปฏิเสธที่จะศึกษา ปฏิบัติศีลธรรม ราวกะว่าเป็นสิ่งไร้สาระ ไม่น่าชื่นใจอะไร; ช่างสมกับความหนวก - บอด ดังนี้แล้ว เด็กที่มีตาดี - หูดี จะมิยิ่งไปกว่านั้นหรือ? ช่วยกันตั้งข้อสังเกตกันบ้างเถิด ฯ  (๒๐๖) <br />\n• เราประเทศด้อยพัฒนา กำลังพยายามทำตามอย่างประเทศเต็มพัฒนา, ทั้งที่ประเทศเหล่านั้นยังมีสภาพไร้ศีลธรรม เต็มไปด้วยอาชญากรอาชญากรรม ยิ่งกว่าเราไปเสียอีก : นี่มันอย่างไรกัน ฯ  (๒๐๗) <br />\n• ยังมีครูที่บอกนักเรียนว่า เหล้ามีโทษเพียงเล็กน้อย ยังเป็นที่ยอมรับของสังคม ยังเป็นทางมาแห่งรายได้มหาศาลของประเทศ; แล้วก็ชวนนักเรียนดื่มเหล้า, (เรื่องจริงที่ไม่น่าเชื่อ แต่มีจริง) ซึ่งเรื่องชนิดนี้ไม่เคยมีในกาลก่อน ฯ (๒๐๘) <br />\n• การบวชนาค - ฝังนิมิตสีมา - ทอดกฐิน ผ้าป่า - ฯลฯ ที่ทำลายเศรษฐกิจและศีลธรรมของประเทศชาตินั้น ไม่ใช่ของพระพุทธศาสนา และไม่เคยมีในพุทธกาลและยุคต่อมา นอกจากยุคนี้ ฯ   (๒๐๙) <br />\n• อย่ามัวเป็นห่วง ว่าเขาจะตอบแทนไม่คุ้มกับความดี ที่เราทำแก่เขา; เพราะความดีของเรา ถ้าดีจริงย่อมยิ่งใหญ่ เกินกว่าที่ใครจะตอบแทนให้คุ้มกันได้หลายเท่านัก ฯ (๒๑๐) <br />\n• แม้เราจะมองเห็นว่า โลกปัจจุบันของเรา มีความเลวร้าย - มดเท็จ - หลอกลวง - บาป เหลือกำลังที่เราคนเดียวจะแก้ไขได้แล้ว เราก็ยังไม่วางมือ; แต่จะชักชวนให้ร่วมมือกัน หาธรรมะที่สามารถแก้ไขได้ให้ยิ่งไปกว่าที่แล้วมา ฯ  (๒๑๑) <br />\n• ชีวิตของเรา มีค่ามากสำหรับเราเพียงไร แต่ก็ยังไม่เกินกว่าที่เราจะเสียสละมันไป เพื่อความรอดสำหรับเพื่อนมนุษย์ร่วมโลกของเรา ฯ (๒๑๒) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>• คำว่า &quot;เพื่อนเกิด - แก่ - เจ็บ - ตาย&quot; มี ๒ ความหมาย คือ เพื่อนมีกิเลสแล้วจมอยู่ในกองกิเลสหรือกองทุกข์ด้วยกัน นี้อย่างหนึ่ง, เพื่อนต่อสู้กิเลส และพ้นจากกิเลส พ้นจากเกิด - แก่ - เจ็บ - ตาย ด้วยกัน นี้อีกอย่างหนึ่ง; ระวังให้ดี ๆ จนเป็นเพื่อนเกิด - แก่ - เจ็บ - ตาย ด้วยกันอย่างถูกต้อง ฯ (๒๑๓) <br />\n• การนำเอาบทสวด เช่น บทสรณาคมน์ เป็นต้น มาสวดทำนองเพลงแขก แทรกระหว่างบรรยายทางวิทยุเป็นต้นนั้น มีผลทางลบมิใช่น้อย ฯ (๒๑๔) <br />\n• การรู้เรื่อง(เรียน), การรู้จัก(เห็น), การได้- ถึง (มี) ซึ่งพระรัตนตรัยนั้น มิใช่สิ่งเดียวกัน จึงเป็นสิ่งที่จะต้องได้ต้องมีตามลำดับ สามลำดับ; อย่าเอาไปปะปนกัน อย่างไม่รู้ความหมาย ดังที่กำลังกระทำกันอยู่ ฯ (๒๑๕) <br />\n• ถ้าท่านเข้าใจเรื่องสังสารวัฏ หรือการเกิดใหม่ทางวิญญาณในกระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท ของแต่ละวันๆ ท่านก็อาจะเห็น - เรียนรู้ - เข้าใจ - สัมผัส กับสันทิฏฐิกนิพพาน ได้จริง และอย่างสบหลักวิทยาศาสตร์ ฯ (๒๑๖) <br />\n• มีหลายศาสนาที่พูดถึงการเกิดใหม่ แต่ก็ไม่มีสักรายเดียวที่ตรงหรือเข้ากันได้กับ &quot;เกิดรอบหลังๆ&quot; ในปฏิจจสมุปบาท ซึ่งภายในวันเดียวก็เกิดได้จนนับไม่ไหวว่ากี่รอบ ฯ (๒๑๗) <br />\n• คำว่า &quot;การเกิดใหม่ในสังสารวัฏ&quot; ที่พุทธบริษัทเข้าใจกันอยู่นั้น ยังไม่ตรงตามนัยแห่งปฏิจจสมุปบาท : ไม่เป็นสันทิฏฐิโก ไม่เป็นเรื่องที่ช่วยดับตัวตนเสียได้ แล้วบรรลุนิพพานได้; มีแต่จะกลายเป็นศาสนาอื่น หรือนอกหลักพุทธศาสนา ฯ (๒๑๘) <br />\n• ไปทะเลาะทุ่มเถียงกับเสือเสียยังดีกว่า ไปทะเลาะกับคนโง่; เพราะคนโง่ไม่มีเหตุผล หรือถ้ามีก็มีแต่เหตุผลของคนโง่ ฯ (๒๑๙) <br />\n• คำว่า &quot;ชาติ&quot; หมายถึงประเทศชาติ ก็อย่างหนึ่ง, หมายถึงการเกิดจากท้องมารดา นั้นก็อย่างหนึ่ง, แต่ ชาติ ชนิดที่เกิดทุกทีแล้วเป็นทุกข์ทุกทีนั้น คือชาติที่เกิดจากอวิชชาสัมผัส คือเกิดเป็นอุปาทาน รู้สึกอยู่ว่า ตัวกู-ของกู ฯ (๒๒๐) <br />\n• ภิกษุที่เห็นภัยในวัฏฎสงสาร หรือแม้ในโลกนี้ อย่างแท้จริง ก็มีคำพูดที่ควรรับฟัง เช่นเดียวกับของพระอรหันตชินะ, บางทีจะเหมาะแก่คนสมัยนี้ยิ่งกว่าเสียอีก ฯ (๒๒๑) <br />\n• ยุคนี้ก็ยังมีอาจารย์บางคน ถือว่าสมองมีศูนย์กลางอยู่ที่หัวใจ ศูนย์ที่สั่งสมอง แล้วสมองสั่งกายอีกที; นี้เป็นเพราะติดฝิ่นคัมภีร์บางคัมภีร์ที่กล่าวว่า จิตอยู่ที่หัวใจมาก่อน ฯ  (๒๒๒) <br />\n• พระอาจารย์ที่ได้รับความเคารพนับถือเป็นผู้วิเศษที่บูชาของคนจำนวนล้านๆ นั้น อาจเป็นเพียงจุดศูนย์รวมแห่งความหลงใหล ของคนจำนวนเท่านั้นก็ได้; หาใช่เป็นพระสาวกผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานไม่ ฯ (๒๒๓) <br />\n• บางทีความขี้เกียจของเรา มีกำลังมากกว่าความอยากดีมีประโยชน์; ดังนั้น ต้องฝึกการบังคับจิตใจให้ได้มากพอกับความมีสติปัญญาของเรา ฯ (๒๒๔) <br />\n• ส่วนมาก เขาจะว่าดี ก็ต่อเมื่อเขาได้รับประโยชน์จากการกระทำของเรา; ถ้าเขาไม่ได้ประโยชน์เช่นนั้น แต่ไปได้กับผู้อื่น เราก็เป็นคนดีที่เขาไม่ต้องการ ฯ (๒๒๕) <br />\n• นิสัยสันดานที่ไม่เหมือนกัน : ไก่ตัวหนึ่ง เมื่อเป็นโจก ก็มีแต่ระรานไก่ทุกตัว; ต่อมา ไก่ตัวหนึ่งปราบไก่ตัวนั้นลงได้, แต่แล้วก็ไม่เกเรระรานไก่ตัวไหนเลย: เราต้องการคนชนิดนี้ เป็นผู้นำ ฯ (๒๒๖) <br />\n• ชีวิตนั้น ประกอบไปด้วย ปัจจัยมากอย่าง คล้องเกี่ยวกันเหมือนห่วงโซ่ทั้งหลาย; ปัจจัยเพียงอย่างเดียวเสียไปจริงๆ ชีวิตก็ดับ ทั้งที่ปัจจัยอีกมากอย่างยังมิได้เสียเลย, น่าเสียดายจริงๆ ฯ (๒๒๗) <br />\n• ระบบกาย ขึ้นอยู่กับระบบจิต, ระบบจิตจึงอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่ระบบกาย; แม้ในทางเคมี ทำให้เกิดความรู้สึกต่างๆ เกิดขึ้น เป็นความรัก - โกรธ - เกลียด - กลัว - วิตกกังวล - อาลัยอาวรณ์ - อิจฉาริษยา - หึง -หวง; ดังนั้น ควรฝึกฝน หรือพัฒนาระบบจิต ฯ (๒๒๘) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>• การพิจารณาเพื่อชนะกาม โดยพิจารณาเป็นของปฏิกูล ดังที่สอนๆ กันอยู่ มีทางสำเร็จน้อยกว่าการพิจารณา โดยความเป็นของธรรมดา ของสัตว์ที่ยังมีความเป็น &quot;สัตว์&quot; แล้วเกิดความละอาย ฯ (๒๒๙) <br />\n• ทุกขอริยสัจ ทุกขเวทนา ทุกขลักษณะ สามอย่างนี้ มิใช่สิ่งเดียวกัน; แต่มักเข้าใจผิด เพราะชอบเรียกกันสั้นๆ ว่า &quot;ทุกข์&quot; เฉยๆ ระวังกันเสียบ้าง! ฯ (๒๓๐) <br />\n• แม้ผู้พูดความจริงได้ตายไปแล้ว แต่ความจริงยังคงอยู่ มิได้ตาย; นั่นเป็นเพราะความจริงนั้น เป็นของธรรมชาติที่ไม่ตาย เพียวแต่อาศัยปากคน แสดงตนออกมาเท่านั้น ฯ (๒๓๑) <br />\n• ความดีชนิดที่เปลี่ยนได้ดับได้ นั้นเป็นสังขตธรรมฝ่ายกุศล แต่มีชนิดหนึ่งเป็นอย่างตรงกันข้าม ไม่เป็นเช่นนั้น (เป็นอริยธรรม); ระวังอย่าเอามาปนกัน เมื่อเราพูดกันถึงความดี ฯ (๒๓๒) <br />\n• เราควรสมัครจะเป็นลูกไก่ อยู่ใต้กะลาครอบของพุทธศาสนาที่แท้จริง; แทนที่จะออกมาสู่โลกอันกว้างขวางปานมหาสมุทรของปรัชญาชนิด Philosophy อันเพ้อเจ้อไม่มีจุดจบและปนกันยุ่ง ของวิทยาการประเภทนั้น ฯ (๒๓๓) <br />\n• ศาสนาในโลก ชนิดที่จัดว่ามีพระเจ้า (Theist) และชนิดที่ไม่มีพระเจ้า (Atheist) ล้วนแต่สอนให้แก้ปัญหาขัดข้องในโลก ด้วยความรักหรือเมตตา; แต่ลัทธิชนกรรมาชีพ มุ่งหมายจะแก้ด้วยอาวุธในหลายรูปแบบ, จึงไม่สามารถชนะน้ำใจนายทุน ฯ (๒๓๔) <br />\n• ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี่ทุกชนิด ไม่อาจใช้เป็นเครื่องมือเอาชนะกันได้ นอกจากจะมีแต่ความพินาศด้วยกันทั้งสองฝ่าย; ดังนั้น ถ้าจะให้วิทยาศาสตร์พูดบ้าง ก็คงจะพูดว่า ให้แก้กันด้วยความรัก อีกนั่นเอง จะได้ไม่ต้องใช้วิทยาศาสตร์ เชือดคอตนเอง ฯ (๒๓๕) <br />\n• การสงวนในการแสวงหาช่องทาง เพื่อต่อสู้กันตามแบบของตนๆ นั้น ไม่มีทางที่จะชนะกันได้ด้วยอาวุธ ด้วยอำนาจเศรษฐกิจ หรือแม้ด้วยอำนาจวิถีทางการเมือง ที่ไม่มีความรักของทางศาสนาเป็นรากฐาน; มีแต่จะสร้างรากฐานให้ปัญหามีรากฐานหยั่งลึกยิ่งขึ้นไปทุกทีเท่านั้น ฯ (๒๓๖) <br />\n• นับว่ายังเป็นโชคดีอยู่บ้างที่ยังมีคนบางพวกเฉลียวใจได้ทัน: ไม่คิดที่จะใช้อาวุธอย่างความคิดของเด็กๆ นั้นอีกต่อไป ฯ (๒๓๗) <br />\n• ขอย้ำอีกครั้งหนึ่งในตอนนี้ว่า ธรรมชาติมิได้สร้างชีวิตมาอย่างตายตัว ว่าเป็นบุญ หรือ บาป ดีหรือร้าย กุศลหรืออกุศล โดยส่วนเดียว หากแต่ให้มันเป็นไปได้ตามกฏอิทัปปัจจยตา, แล้วแต่ใครจะสร้างมันอย่างไร; ดังนั้น ขอให้เราทั้งหลายสนใจเรื่องอิทัปปัจจยตา และนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ถึงที่สุดเถิด ฯ (๒๓๘) <br />\nความลับสุดยอดสำหรับ มิตรสหายที่เป็นฝรั่ง <br />\n• ธรรมะ เป็นสิ่งที่ต้องศึกษาค้นคว้าและเข้าถึงโดยวิถีทางอย่างวิทยาศาสตร์; มิใช่โดยทาง ตรรกะ - นยะ - คณิตศาสตร์ - หรือ ฟิโลโซฟี่ ซึ่งต้องใช้สมมติฐาน (Hypothesis) ; หากแต่ต้องใช้ปัญหาโดยตรง ที่รู้สึกอยู่ในจิต เป็นวัตถุสำหรับศึกษาพิสูจน์ทดลอง ฯ (๒๓๙) <br />\n• ต้องเรียนธรรมะโดยวิถีทางวิทยาศาสตร์, อย่าเรียนอย่างฟิโลโซฟี่ หรืออะไรๆ ที่ต้องใช้สมมติฐานเช่นนั้น ซึ่งไม่มีทางที่จะเข้าถึงตัวแท้ของธรรมะซึ่งจะดับทุกข์ได้แท้จริง ฯ (๒๔๐) <br />\n  <br />\n• ธรรมะ คือ หน้าที่ของสิ่งที่มีชีวิตทุกชนิด และทุกระดับตามกฏของธรรมชาติ เพื่อการพัฒนาและความสุขสันติ ทั้งทางวัตถุและจิตใจ; แม้ที่สุดแต่ทางการเมือง ทั้งภายนอกและภายใน ฯ (๒๔๑) <br />\n• ในการศึกษาธรรมะนั้น, สิ่งที่ต้องรู้จักกันเสียก่อนอย่างชัดเจน คือ อุปาทาน (Spiritual-Attachment) และความทุกข์ อันเป็นผลเกิดจากสิ่งนั้น ในชีวิตประจำวันอย่างแท้จริง ในความรู้สึก, มิใช่การอ่าน หรือการคำนวณโดยเหตุผล ฯ (๒๔๒) <br />\n• ชีวิตเป็นสิ่งที่ปรับปรุงได้, จิตเป็นสิ่งที่พัฒนาได้, โดยการเติมธรรมะลงไป อย่างถูกต้อง ตามกฏของอิทัปปัจจยตา ฯ (๒๔๓) <br />\n• โลกทั้งหมด ขึ้นอยู่กับความรู้สึกผัสสะ, เกิดดับอยู่กับการเกิดดับของผัสสะ; เราจึงควบคุมและปรับปรุงโลกได้ ด้วยการกระทำต่อผัสสะ ฯ (๒๔๔) <br />\n• ความทุกข์ทั้งปวงสรุปรวมอยู่ที่อุปาทาน อันแสดงอาการออกมาเป็นความรัก - โกรธ - เกลียด - กลัว - วิตกกังวล - อาลัยอาวรณ์ - อิจฉาริษยา - หึงหวง - อาฆาตพยาบาท - ความดิ้นรนทางเพศ - ความละเหี่ย - และความฟุ้งซ่าน; ดังนั้น จงรู้จักสิ่งที่เรียกว่า อุปาทาน ให้ถึงที่สุด ฯ (๒๔๕) <br />\n• ความดับแห่งทุกข์ มีอยู่ในตัวความทุกข์; ดังนั้น พอรู้สึกเป็นทุกข์ ก็จงมองหาเหตุของมันในตัวมัน, พบแล้วจะพบความดับทุกข์ที่นั่นเอง; ราวกะว่าหาพบจุดเย็นที่สุด ในกลางเตาหลอมเหล็กที่ลุกโชน : เราเรียกกันว่า &quot;หาพบนิพพาน ท่ามกลางวัฏฏสงสาร! &quot; ฯ  (๒๔๖) <br />\n• การทำงานให้สนุก และรู้สึกเป็นสุข ในขณะที่กำลังทำงานนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ และน่าสนใจเพียงไร ขอให้ฟังดูให้ดี ฯ  (๒๔๗) <br />\n• มีความรู้จริงเห็นจริงว่า หน้าที่การงานของสิ่งที่มีชีวิตนั่นแหละ คือธรรมะ หรือ พระเจ้า ที่จะช่วยได้จริงๆ; ดังนั้น จงทำหน้าที่ทุกอย่างด้วยความรู้สึกว่า เป็นการปฏิบัติธรรม ก็พอใจ และรู้สึกเป็นสุข ฯ (๒๔๘) <br />\n• ความสุขตามที่คนธรรมดาสามัญเข้าใจกันนั้น หาใช่ความสุขไม่; เป็นเพียงความเพลิดเพลินที่หลอกลวงทางอายตนะ, และแพงมาก : ความสุขที่แท้จริงนั้น ไม่ต้องใช้เงินเลย แต่ทำให้เงินเหลือ ฯ (๒๔๙) <br />\n• ความสุขที่แท้จริง เกิดจากความพอใจในการได้ทำหน้าที่ หรือปฏิบัติธรรมะ; กลับไปบ้าน ทำงานในหน้าที่ให้สนุก และรู้สึกเป็นสุขเสียเมื่อกำลังทำงาน ฯ (๒๕๐) </p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>• ทุกศาสนามุ่งที่ความรอด (Emancipation) เป็นจุดหมายเหมือนกันทั้งนั้น : รอดตาย (ทางกาย), รอดจากทุกข์ (ทางจิต); แม้วิธีการให้รอดนั้นจะต่างกันบ้าง ฯ (๒๕๑) <br />\n• ศาสนาที่มีพระเจ้า ก็ว่า รอดเพราะพระเจ้าช่วยให้รอด, พุทธศาสนาว่า รอดเพราะการกระทำที่ถูกต้องตามกฏอิทัปปัจจยตา - พระเจ้าชนิดที่มิใช่บุคคล หรือมีความรู้สึกอย่างบุคคล ฯ (๒๕๒) <br />\n• ถ้าดูตามความหมายของสัญญลักษณ์กางเขนแล้ว ศาสนาคริสต์ก็สอนให้ตัดตัวตนด้วยเหมือนกัน (ตัว I ที่ยืนอยู่แล้วถูกตัดที่คอ); และสอนไม่ให้ติดดีติดชั่ว (คำสอนหน้าแรกๆ ของคัมภีร์ไบเบิล ที่พระเจ้าห้ามมิให้อาดัมและอีฟ กินผลไม้ของต้นไม้ที่ทำให้รู้สึกดีชั่ว จนติดดีติดชั่ว) ฯ (๒๕๓) <br />\n• ต้องรู้จักความหมายที่แท้จริงของคำว่า ทางกาย - ทางจิต - ทางวิญญาณ ทั้งสามอย่าง อย่างถูกต้องทั่วถึง; ถ้าไม่รู้ ก็จะเอาไปปนกัน แล้วจะหาไม่พบสิ่งสูงสุด ฯ (๒๕๔) <br />\n• ต้องรู้จักความต่างกันของเครื่องมือดับทุกข์ ทั้งสามอย่างคือ ความรู้ - ความเข้าใจ - ความเห็นแจ้งแทงตลอด มิฉะนั้น จะไม่เข้าถึงสิ่งที่ดับทุกข์ได้ ฯ (๒๕๕) <br />\n• สุญญตา (ความว่าง) ในพุทธศาสนา คือ Selflessness หรือ Voidness; มิใช่ Emptiness, Nothingness, ซึ่งเป็น Nihilism; ช่วยระวังสักหน่อยในการศึกษา ฯ  (๒๕๖) <br />\n• คำว่า &quot;ธรรมะ&quot; มีความหมาย ๔ อย่าง คือ ตัวธรรมชาติ, กฏของธรรมชาติ, หน้าที่ตามกฏของธรรมชาติ, ผลจากหน้าที่นั้น; เข้าใจหลักพื้นฐานเหล่านี้แล้ว จะเป็นการง่ายที่สุด ในการศึกษาพุทธศาสนา อย่างถูกต้องและครบถ้วนกระบวนความ ฯ  (๒๕๗) <br />\n• คำว่า &quot;ศาสนา&quot; หรือ Religion คือการปฏิบัติตามระเบียบปฎิบัติ ที่ทำให้เกิดความผูกพันกัน ระหว่างมนุษย์กับสิ่งสูงสุด ชนิดที่มีผลเป็นการหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง ฯ  (๒๕๘) <br />\n• ธรรมะ มิได้เป็นของตะวันออก หรือตะวันตก แต่เป็นของทุกๆ ปรมาณู ที่ประกอบกันขึ้นเป็นสากลจักรวาล (Cosmos) ดังนั้น เป็นการน่าหัว ที่จะพูดว่า ศาสนาของตะวันออก หรือศาสนาของตะวันตก ฯ  (๒๕๙) <br />\n• โดยอาศัยอำนาจของธรรม เราสามารถมีชีวิตชนิดที่ไม่มีการกระทบกระทั่ง (Conflict) และ ไม่มีความทุกข์ (Dissatisfactorness) ทุกๆ ชนิดเหนือธรรมดา ฯ  (๒๖๐) <br />\n  <br />\n• อย่าเข้าใจผิดต่อคำว่า &quot;เหนือโลก&quot; จนไม่ได้รับประโยชน์อะไร จากสิ่งอันประเสริฐนี้ คือการอยู่เหนืออิทธิพลของสิ่งแวดล้อมใดๆ ในโลกนี้ ฯ (๒๖๑) <br />\n• คำว่า &quot;นิพพาน&quot; คือ ความเย็น (ทางวิญญาณ) ของชีวิตที่มากขึ้นไปถึงระดับที่ ความร้อนของกิเลส หรือไฟสามชนิด, ตามขึ้นไปไม่ถึง ฯ (๒๖๒) <br />\n• ภาษาคน (Common Language) นั้นพูดกันอย่างมีตัวตน (Soul หรือ Self): ส่วนภาษาธรรม (Dharmic Language) ของพระอริยเจ้านั้น พูดกันอย่างไม่มีอะไรที่เป็นตัวตน มีแต่กระแสแห่งอิทัปปัจจยตาของธรรมชาติ ฯ (๒๖๓) <br />\n• ดังนั้น ความจริง (Truth) จึงมีสองอย่าง คือ อย่าง Relative และ Ultimate, ซึ่งเป็นเหตุให้มีการพูด อย่างภาษาคน และอย่างภาษาธรรม ฯ  (๒๖๔) <br />\n• คน (Sentient Being) กับมนุษย์ (Human Being) นั้นต่างกันจนอยู่กันคนละระดับ คือ ต่ำ และ สูง ต่อกิเลส ยิ่งหย่อนกว่ากัน ฯ (๒๖๕) <br />\n• สมาธิ (Concentration) ที่แท้จริงนั้น ทำให้เกิดการพักผ่อนลงไปถึงเซลล์ทุกเซลล์, และได้ทำให้มันมีอายุยืนออกไปด้วย; ดังนั้น สมาธิจึงมีผลทำให้กายหรือชีวิต มีอายุยืนออกไป ฯ (๒๖๖) <br />\n• ที่ท่านพูดว่า สมาธิ มีผลทำให้เลิกอบายมุขได้ทุกอย่าง มีสุขภาพและอารมณ์ดี เลิกสำมะเลเทเมาได้ นั้นยังน้อยเกินไป; มันให้อะไรมากกว่านั้นมากนัก เช่นช่วยให้มีจิตใจอยู่เหนือโลก ฯลฯ หมดปัญหาทุกอย่างทุกชนิดที่ท่านยังไม่เข้าใจ ฯ  (๒๖๗) <br />\n• การบวช มิใช่สิ่งแปลกประหลาด หากแต่เป็นสิ่งที่ทำให้เปิดโอกาส และความสะดวกอย่างยิ่ง ในการที่จะศึกษาฝึกฝนให้ชีวิต มีธรรมะ; ชีวิตครองเรือนนั้น คับแคบ และอึดอัดมากไม่สะดวก การบวชจึงเป็นสิ่งที่อย่างน้อยก็ควรลอง ฯ (๒๖๘) <br />\n• ชีวิตใหม่ที่ปราศจากการกระทบกระทั่งและความไม่สบายใจทุกๆ ชนิดนั้น เป็นสิ่งที่มีได้ เมื่อชีวิตนั้นประกอบด้วยธรรม ฯ (๒๖๙) <br />\n• ความลับสุดยอดเหล่านี้ เป็นของฝากเพื่อนมนุษย์ทั้งหลาย ในโอกาสที่ สวนโมกข์มีอายุครบ ๕๐ ปีบริบูรณ์ หวังว่าจะได้รับการพิจารณาหรือนำไปใช้ให้สำเร็จประโยชน์ ฯ  (๒๗๐) <br />\n \n</p>\n', created = 1716258944, expire = 1716345344, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:46712faa0bbabe331379e88c7b550bc5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5cb3dcd40b82eb2f8859062e187f1f8d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" border=\"0\" title=\"Cool\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" border=\"0\" title=\"Laughing\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" border=\"0\" title=\"Kiss\" />  <strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\">ฟ้าสางทางความลับสุดยอด..</span>......</span><span style=\"color: #800080\">ของท่านพุทธทาสภิกขุก<img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" border=\"0\" title=\"Kiss\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" border=\"0\" title=\"Innocent\" /><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" border=\"0\" title=\"Cool\" /></span></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"78\" width=\"78\" src=\"/files/u33830/index.jpeg\" alt=\"ท่านพุทธทาส\" border=\"1\" />\n</div>\n<p>  </p>\n<p align=\"center\">\n<strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\"></span></u></em></strong></p>\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"425\" height=\"350\">\n <param name=\"width\" value=\"425\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/kCJMbgAgEy4\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"425\" height=\"350\" src=\"http://www.youtube.com/v/kCJMbgAgEy4\"></embed>\n</object><p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\">ฟ้าสางทางความลับสุดยอด </span></u></em></strong>\n</p>\n<p>\n• ชีวิตเป็นสิ่งที่พัฒนาได้ ตามประสงค์ โดยกฏอิทัปปัจจยตา <br />\nดังนั้น ชีวิตจึงเป็นสิ่งที่เราเติมธรรมะลงไปได้ตามที่เราต้องการ <br />\nโดยการปฏิบัติธรรม. (๑)\n</p>\n<p>\n• ถ้ามีการศึกษาที่เห็นแจ้งจากภายใน (เป็นสันทิฏฐืโก) แล้ว <br />\nก็ไม่มีทางที่จะเป็นทาสทางสติปัญญาของใคร แม้แต่ของพระพุทธเจ้า: <br />\nนี้เป็นหลักของพระพุทธศาสนา (ตามกาลามสูตรข้อสิบ)    (๒)\n</p>\n<p>\n• ถ้าใช้หลักกาลามสูตรเป็นเครื่องตัดสินว่า <br />\nเป็นสิ่งที่ควรรับถือเป็นหลักปฏิบัติแล้ว <br />\nก็ไม่ต้องคำนึงว่าเป็นคำสอนของใคร <br />\nเป็นของเดิมแท้หรือเป็นของใหม่ ฯลฯ <br />\nหรือว่ามีประวัติมาอย่างไร    (๓) </p>\n<p>• การมีธรรมะแท้จริง ก็คือ<br />\nสามารถดำรงตนอยู่เหนือปัญหา<br />\nหรือความทุกข์ทั้งปวง; <br />\nไม่เกี่ยวกับปริญญาบัตร ฯลฯ พิธีรีตอง <br />\nหรือ หลักปรัชญาชนิดฟิโลโซฟี่ใดๆ  (๔)</p>\n<p>• เรามีวิธีทำให้ชีวิตเป็นของเย็น <br />\nทุกอิริยาบถตามที่เราประสงค์จะมี <br />\nไม่ว่าในรูปแบบใดๆ : <br />\nเพื่อตนเอง - เพื่อสังคม - ตามธรรมชาติล้วนๆ   (๕)</p>\n<p>• การศึกษา - ศาสนา - วัฒนธรรม - ประเพณี - <br />\nการเมือง - การปกครอง - การเศรษฐกิจ - ศิลปะ ฯลฯ - <br />\nวิทยาการใดๆ จะถือว่าถูกต้องได้ <br />\nเฉพาะเมื่อพิสูจน์การดับทุกข์ได้ในตัวมันเอง      (๖)</p>\n<p>• การเรียน - การรู้ - การมีความรู้ - การปฏิบัติ - <br />\nการใช้ความรู้ให้สำเร็จประโยชน์ เหล่านี้ <br />\nมิใช่สิ่งเดียวกัน; ระวังการมี การใช้ ให้ถูกต้อง   (๗) </p>\n', created = 1716258944, expire = 1716345344, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5cb3dcd40b82eb2f8859062e187f1f8d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฟ้าสางทางความลับสุดยอด

รูปภาพของ sjssutathip

CoolLaughingKiss  ฟ้าสางทางความลับสุดยอด........ของท่านพุทธทาสภิกขุกKissInnocentCool

ท่านพุทธทาส

 

ฟ้าสางทางความลับสุดยอด

• ชีวิตเป็นสิ่งที่พัฒนาได้ ตามประสงค์ โดยกฏอิทัปปัจจยตา
ดังนั้น ชีวิตจึงเป็นสิ่งที่เราเติมธรรมะลงไปได้ตามที่เราต้องการ
โดยการปฏิบัติธรรม. (๑)

• ถ้ามีการศึกษาที่เห็นแจ้งจากภายใน (เป็นสันทิฏฐืโก) แล้ว
ก็ไม่มีทางที่จะเป็นทาสทางสติปัญญาของใคร แม้แต่ของพระพุทธเจ้า:
นี้เป็นหลักของพระพุทธศาสนา (ตามกาลามสูตรข้อสิบ)    (๒)

• ถ้าใช้หลักกาลามสูตรเป็นเครื่องตัดสินว่า
เป็นสิ่งที่ควรรับถือเป็นหลักปฏิบัติแล้ว
ก็ไม่ต้องคำนึงว่าเป็นคำสอนของใคร
เป็นของเดิมแท้หรือเป็นของใหม่ ฯลฯ
หรือว่ามีประวัติมาอย่างไร    (๓)

• การมีธรรมะแท้จริง ก็คือ
สามารถดำรงตนอยู่เหนือปัญหา
หรือความทุกข์ทั้งปวง;
ไม่เกี่ยวกับปริญญาบัตร ฯลฯ พิธีรีตอง
หรือ หลักปรัชญาชนิดฟิโลโซฟี่ใดๆ  (๔)

• เรามีวิธีทำให้ชีวิตเป็นของเย็น
ทุกอิริยาบถตามที่เราประสงค์จะมี
ไม่ว่าในรูปแบบใดๆ :
เพื่อตนเอง - เพื่อสังคม - ตามธรรมชาติล้วนๆ   (๕)

• การศึกษา - ศาสนา - วัฒนธรรม - ประเพณี -
การเมือง - การปกครอง - การเศรษฐกิจ - ศิลปะ ฯลฯ -
วิทยาการใดๆ จะถือว่าถูกต้องได้
เฉพาะเมื่อพิสูจน์การดับทุกข์ได้ในตัวมันเอง      (๖)

• การเรียน - การรู้ - การมีความรู้ - การปฏิบัติ -
การใช้ความรู้ให้สำเร็จประโยชน์ เหล่านี้
มิใช่สิ่งเดียวกัน; ระวังการมี การใช้ ให้ถูกต้อง   (๗)

สร้างโดย: 
อบรม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 362 คน กำลังออนไลน์