• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4c7ec8ef57e04e74b1b93edf4a83e533' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">ปรากฏการณ์เรือนกระจก</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\"><o:p></o:p></span></b> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">หมายถึง ปรากฏการณ์ที่</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C&amp;action=edit\" title=\"แสงอาทิตย์\"><span lang=\"TH\">แสงอาทิตย์</span></a><span lang=\"TH\">ผ่านลงมาและ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B9%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%94%E0%B9%8C\" title=\"ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์\"><span lang=\"TH\">ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์</span></a><span lang=\"TH\">และก๊าซอื่น ๆ ที่พอกพูนอยู่ใน</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8&amp;action=edit\" title=\"บรรยากาศ\"><span lang=\"TH\">บรรยากาศ</span></a><span lang=\"TH\">ระดับต่ำ จะตัดความร้อนเอาไว้ไม่ให้สะท้อนออกไป ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก เหมือนกับ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%81&amp;action=edit\" title=\"เรือนกระจก\"><span lang=\"TH\">เรือนกระจก</span></a><span lang=\"TH\">ที่ใช้ปลูกต้นไม้ในเมืองหนาว</span> <span lang=\"TH\">ภูมิอากาศของโลก จะถูกขับเคลื่อนด้วยพลังงานจากดวงอาทิตย์</span> <span lang=\"TH\">เมื่อแสงอาทิตย์ตกกระทบผิวโลก</span> <span lang=\"TH\">พลังงานบางส่วนจะสูญเสียไปในการทำให้พื้นผิวของโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น โดยโลกจะสะท้อนและแผ่กระจายพลังงานบางส่วนที่เหลือกลับคืนสู่บรรยากาศในรูปความร้อน แต่แก๊สเรือนกระจก </span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">(Green House Gas, GHGs</span></b>) <span lang=\"TH\">ที่อยู่ในชั้นบรรยากาศของโลก จะช่วยกันกักเก็บพลังงานความร้อนเหล่านี้เอาไว้ด้วยการดูดซับ การสะท้อน หรือแผ่กระจายพลังงานความร้อนกลับสู่พื้นโลกอีกครั้ง</span> (<span lang=\"TH\">ภาพที่ </span>5- 1) <span lang=\"TH\">ดังนั้นบรรยากาศในชั้นนี้จึงกระทำตัวเสมือนเป็นเรือนกระจก กล่าวคือยอมให้พลังงานในช่วงคลื่นสั้นเช่นรังสียูวีจากดวงอาทิตย์ ผ่านเข้ามาได้ แต่ไม่ยอมให้พลังงานในช่วงคลื่นยาว</span> (<span lang=\"TH\">รังสีอินฟราเรดหรือคลื่นความร้อน</span>) <span lang=\"TH\">ผ่านออกไป ปรากฏการณ์เรือนกระจกจึงทำให้เกิดการเก็บสะสมความร้อนอยู่ภายในชั้นบรรยากาศ ทำให้โลกร้อนมากขึ้น</span> <span lang=\"TH\">โดยยิ่งมีแก๊สเรือนกระจกมากขึ้นเท่าไร ความร้อนก็จะถูกกักไว้ในชั้นบรรยากาศมากขึ้น อันทำให้โลกยิ่งร้อนมากขึ้นเท่านั้น</span><br />\n</span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\">สาเหตุของปรากฏการณ์เรือนกระจก</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">เกิดจากก๊าซที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <span lang=\"TH\">เช่น<b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">คาร์บอนไดออกไซด์</span></b></span>(CO<sub>2</sub>) <span lang=\"TH\">เกิดจากการเผาไหม้ต่าง ๆ เป็น</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B9%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8B\" title=\"ก๊าซ\"><span lang=\"TH\">ก๊าซ</span></a><span lang=\"TH\">ใน</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8&amp;action=edit\" title=\"บรรยากาศ\"><span lang=\"TH\">บรรยากาศ</span></a> <span lang=\"TH\">ซึ่งประกอบด้วย</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99\" title=\"คาร์บอน\"><span lang=\"TH\">คาร์บอน</span></a> 1 <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A1\" title=\"อะตอม\"><span lang=\"TH\">อะตอม</span></a> <span lang=\"TH\">และ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99\" title=\"ออกซิเจน\"><span lang=\"TH\">ออกซิเจน</span></a> 2 <span lang=\"TH\">อะตอม ต่อหนึ่ง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A5\" title=\"โมเลกุล\"><span lang=\"TH\">โมเลกุล</span></a>. <span lang=\"TH\">คาร์บอนไดออกไซด์เป็นหนึ่งใน</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5\" title=\"สารประกอบเคมี\"><span lang=\"TH\">สารประกอบเคมี</span></a><span lang=\"TH\">ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด และมักเรียกด้วย</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5\" title=\"สูตรเคมี\"><span lang=\"TH\">สูตรเคมี</span></a> CO<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">เมื่ออยู่ในสถานะ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%87\" title=\"ของแข็ง\"><span lang=\"TH\">ของแข็ง</span></a> <span lang=\"TH\">มักจะเรียกว่า <b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">น้ำแข็งแห้ง</span></b></span> (dry ice) <span lang=\"TH\">เป็นก๊าซที่มีปริมาณมากเป็นอันดับ </span>3 <span lang=\"TH\">ใน</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8&amp;action=edit\" title=\"อากาศ\"><span lang=\"TH\">อากาศ</span></a> <span lang=\"TH\">รองจาก</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99\" title=\"ไนโตรเจน\"><span lang=\"TH\">ไนโตรเจน</span></a> <span lang=\"TH\">และ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99\" title=\"ออกซิเจน\"><span lang=\"TH\">ออกซิเจน</span></a><span lang=\"TH\">คาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นได้หลายลักษณะ เช่น ภูเขาไฟระเบิด การหายใจของสิ่งมีชีวิต หรือการเผาไหม้ของสารประกอบอินทรีย์ ก๊าซนี้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เพื่อใช้คาร์บอนและออกซิเจนในการสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรต จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนี้ พืชจะปล่อยก๊าซออกซิเจนออกมาสู่บรรยากาศ ทำให้สัตว์ได้ใช้ออกซิเจนนี้ในการหายใจ การใช้คาร์บอนไดออกไซด์ของพืชนี้เป็นการลดก๊าซเรือนกระจกลงได้ เนื่องจากคาร์บอนไดออกไซด์เป็นก๊าซหนึ่งที่เป็นสาเหตุของปรากฏการณ์เรือนกระจก</span><br />\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\">มีเทน</span></b><span lang=\"TH\"> เป็น สารประกอบ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%99\" title=\"ไฮโดรคาร์บอน\"><span lang=\"TH\">ไฮโดรคาร์บอน</span></a><span lang=\"TH\">พวก</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%99\" title=\"แอลเคน\"><span lang=\"TH\">แอลเคน</span></a> <span lang=\"TH\">สูตรเคมีคือ</span> CH<sub>4</sub> <span lang=\"TH\">เป็น</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%8A%E0%B8%AA\" title=\"แก๊ส\"><span lang=\"TH\">แก๊ส</span></a><span lang=\"TH\">ไม่มีสี ติดไฟได้ เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%8A%E0%B8%AA%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4\" title=\"แก๊สธรรมชาติ\"><span lang=\"TH\">แก๊สธรรมชาติ</span></a> <span lang=\"TH\">แก๊สมีเทนอาจได้มาจากการหมักมูลสัตว์และนำมาใช้เป็น</span><span style=\"color: #000000\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87&amp;action=edit\" title=\"เชื้อเพลิง\"><span lang=\"TH\">เชื้อเพลิง</span></a></span><span lang=\"TH\">ราคาถูก</span> <span lang=\"TH\">ก๊าซมีเทนอาจพบได้ในชั้น</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99\" title=\"ถ่านหิน\"><span lang=\"TH\">ถ่านหิน</span></a> (Coal Bed Methane) <span lang=\"TH\">โดยจากกระบวนการเกิดถ่านหินทำให้ก๊าซสะสมตัวและกักเก็บอยู่ในช่องว่างในเนื้อถ่านหิน</span> <br />\n<b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=CFC&amp;action=edit\" title=\"CFC\">CFC</a> </span></b><span lang=\"TH\">จะทำปฏิกิริยากับรังสีอัลตราไวโอเลตและแตกตัวออกเป็นโมเลกุลคลอลีนและโมเลกุลต่างๆอีกหลายชนิด ซึ่งโมเลกุลเหล่านี้จะเป็นตัวทำลายโมเลกุลของออกซิเจนชนิดพิเศษหรือ</span> O<sub>3</sub> <span lang=\"TH\">บนชั้นบรรยากาศโอโซน ทำให้</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%95\" title=\"รังสีอัลตราไวโอเลต\"><span lang=\"TH\">รังสีอัลตราไวโอเลต</span></a><span lang=\"TH\">และ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%94&amp;action=edit\" title=\"อินฟราเรด\"><span lang=\"TH\">อินฟราเรด</span></a><span lang=\"TH\">ส่องผ่านลงมายังพื้นโลกมากขึ้น ในขณะเดียวกันก๊าซเหล่านี้ก็กันรังสีไม่ให้ออกไปจากบรรยากาศโลก ด้วยว่าที่รังสีเหล่านี้เป็นพลังงาน พวกมันจึงทำให้โลกร้อนขึ้น</span><br />\n</span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">ผลกระทบจากปรากฏการณ์เรือนกระจก</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ผลกระทบจากปรากฏการณ์เรือนกระจก ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ เศรษฐกิจ และสังคมของมนุษย์ทั้งโลก ที่นักวิทยาศาสตร์ได้คาดการณ์ไว้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">(1) <span lang=\"TH\">ผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศ</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">สภาวะโลกร้อนที่มนุษย์สร้างขึ้นได้ทำให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นตลอดศตวรรษที่ผ่านมา โดยนักวิทยาศาสตร์สามารถพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าสภาวะโลกร้อนได้ส่งผลกระทบถึงความดันบรรยากาศด้วย และการเปลี่ยนแปลงในความดันบรรยากาศนี้เองที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศโลก เพราะความดันอากาศจะควบคุมการไหลเวียนบรรยากาศ ดังนั้นจึงมีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของความชื้น โดยการเปลี่ยนแปลงนี้จะส่งผลกระทบต่อปริมาณของฝนที่ตก</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">, <span lang=\"TH\">อุณหภูมิ</span>, <span lang=\"TH\">ลม</span>, <span lang=\"TH\">และพายุ</span> <br />\n</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">2) <span lang=\"TH\">ผลกระทบต่อแหล่งน้ำ</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">เมื่อมีฝนตกหนักขึ้น จนเกิดอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม ดินอันอุดมสมบูรณ์จะถูกพัดพาไปตามลำน้ำเกิดเป็นความขุ่นของสายน้ำ ที่เมื่อตกตะกอนจะสร้างความตื้นเขินให้แก่แหล่งน้ำ เมื่อสายน้ำขุ่นไหลออกสู่ชายฝั่งจะทำลายแนวปะการัง แหล่งอาศัยและอนุบาลสัตว์น้ำ นอกจากนั้นแล้วตะกอนดินที่มีปริมาณธาตุไนโตรเจนสูง ยังช่วยเร่งการเจริญเติบโตของสาหร่ายตามชายฝั่ง เมื่อสาหร่ายเหล่านี้ตายลง จะเกิดการเน่าเสีย ที่ลดปริมาณออกซิเจนในน้ำจนเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">(3) <span lang=\"TH\">ผลกระทบต่อแหล่งพลังงาน</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อแหล่งพลังงาน เกิดขึ้นกับกิจกรรมขุดเจาะน้ำมันในมหาสมุทรที่อยู่ใต้อิทธิพลของสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเกิดพายุหมุนที่รุนแรงย่อมเป็นอุปสรรคในการขุดเจาะน้ำมันในทะเลและมหาสมุทร วาตภัยอาจกระหน่ำแท่นขุดเจาะน้ำมันในทะเลจนอับปาง การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานน้ำ พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานลม ก็อยู่ในข่ายที่จะได้รับผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศมากกว่าการผลิตพลังงานรูปแบบอื่นๆ โดยเฉพาะระดับน้ำที่ลดลงอย่างมากของเขื่อนในหน้าแล้ง ทำให้มีปริมาณน้ำไม่พอต่อการผลิตไฟฟ้า</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <br />\n</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\">(4</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">) <span lang=\"TH\">ผลกระทบต่อระดับน้ำทะเลและที่อยู่อาศัยของมนุษย์</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">นักวิทยาศาสตร์คาดว่าถ้าอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นอีก</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> 0.3<sup>O</sup>C <span lang=\"TH\">จะทำให้กราเซียร์</span> (glacier) <span lang=\"TH\">เกิดการละลายจนระดับน้ำในมหาสมุทรเพิ่มขึ้นอีก</span> 100 <span lang=\"TH\">เมตร</span> <span lang=\"TH\">การขยายตัวของมหาสมุทรทำให้เมืองที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลและที่ราบลุ่มปากแม่น้ำ ที่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่มาก จะถูกน้ำท่วม จนมนุษย์ต้องมีการย้ายถิ่นฐานใหม่ ซึ่งมีผลกระทบต่อสภาพความเป็นอยู่และสภาพสังคม</span><br />\n</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">(5) <span lang=\"TH\">ผลกระทบต่อการเกษตรกรรม</span></span></b></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มสูงขึ้นจะเร่งการเจริญเติบโตของพืช</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> <span lang=\"TH\">แต่ในบริเวณที่มีการจัดสรรน้ำในการชลประทานได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการเกษตรกรรม</span> <span lang=\"TH\">อากาศที่ร้อนขึ้นจะเร่งการระเหยและการคายน้ำของพืช ทำให้พืชเกิดอาการเหี่ยวแห้งตาย</span> <span lang=\"TH\">ในขณะเดียวกัน อากาศร้อนยังเร่งการเจริญเติบโตของแมลงและจุลินทรีย์บางชนิดที่ทำลายพืช</span><br />\n</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">(6) <span lang=\"TH\">ผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของโลก</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\">ระดับน้ำทะเลที่สูงและอุ่นขึ้น ทำให้สัตว์และพืชต่างๆต้องปรับตัวอย่างหนักเพื่อความอยู่รอด และถ้าปรับตัวไม่ได้ก็จะล้มตายลง</span> <span lang=\"TH\">เช่นในปี</span> 1998 <span lang=\"TH\">อุณหภูมิที่สูงขึ้นของน้ำทะเลได้ทำลายปะการังของโลกไป ร้อยละ</span> 10 <span lang=\"TH\">และส่งผลกระทบต่อการสืบพันธ์ของสัตว์และปลาน้ำเย็น นอกจากนั้นระดับน้ำที่สูงขึ้นยังทำให้เกิดการสูญพันธ์ของกบ</span> 50 <span lang=\"TH\">ชนิดในป่าของคอสตาริก้า</span> (Coata Rica) <span lang=\"TH\">ในมหาสมุทรอาร์คติกแมวน้ำและหมีขาว กำลังเผชิญชะตากรรมที่เลวร้ายจากช่วงฤดูหนาวที่สั้นลง ส่วนดินแดนในเขตมรสุม จะมีพายุฤดูร้อนเกิดบ่อยและรุนแรงขึ้น โดยระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น ทำให้เกิดการสูญเสียของผลิตผลทางการเกษตรและมีการระบาดที่มากขึ้นของแมลงและเชื้อโรคหลายชนิด นอกจากนั้นการระบาดนี้ยังค่อยๆลามขึ้นไปในดินแดนทางขั้วโลกและที่สูงตามยอดเขาที่เคยหนาวเย็น</span> <br />\n</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">(7) <span lang=\"TH\">การสะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ที่ผิดปรกติบนผิวโลก</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\">นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่าความผิดปกติในการสะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ของโลกในฤดูกาลต่างๆ มีสาเหตุมาจากการตัดไม้ทำลายป่าในเขตร้อนชื้น และ การหายไปของน้ำแข็งที่ขั้วโลก</span> <br />\n<span lang=\"TH\">เนื่องจากแถบเส้นศูนย์สูตรเป็นบริเวณที่ได้รับแสงอาทิตย์มากที่สุด ดังนั้นการหายไปของป่าในเขตร้อนชื้น จึงทำให้การสะท้อนรังสีของโลกผิดปกติไป ซึ่งจะสัมพันธ์กับความผิดปกติของปริมาณน้ำฝนที่ตก</span><br />\n</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">(8) <span lang=\"TH\">ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์</span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">การเพิ่มอุณหภูมิของอากาศทำให้เกิดผลกระทบด้านสุขภาพและอนามัยของมนุษย์ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม อากาศที่ร้อนและมีความชื้นสูงจะบั่นทอนสุขภาพในการทำงานของมนุษย์ ก่อให้เกิดความกดดันต่อสภาพร่างกายและจิตใจ ร่างกายจึงมีภูมิคุ้มกันที่ต่ำลงจนง่ายต่อการรับเชื้อโรคที่แพร่กระจายอยู่ในอากาศ โดยอุณหภูมิและความชื้นที่สูงเกินไปอาจทำให้ร่างกายปรับตัวไม่ทันจนเกิดการเสียชีวิตได้ เช่นกรณีคลื่นความร้อน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"> (heat wave) <span lang=\"TH\">ที่แผ่ขยายสู่ เมืองชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี</span> 1995 <span lang=\"TH\">ทำให้มีผู้สูงอายุ เด็กและคนป่วย เสียชีวิต</span> 739 <span lang=\"TH\">คนภายในเวลา</span> 1 <span lang=\"TH\">สัปดาห์ เมื่ออุณหภูมิสูง</span> 37<sup>O</sup>C <span lang=\"TH\">ที่ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ</span> 90 <span lang=\"TH\">และในเดือนสิงหาคม ปี ค</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span> 2003 <span lang=\"TH\">คลื่นความร้อนได้ทำให้คนยุโรปเสียชีวิตประมาณ</span> 35,000 <span lang=\"TH\">คน โดยเฉพาะที่ฝรั่งเศสแห่งเดียวมีคนเสียชีวิตถึง</span> 14,802 <span lang=\"TH\">คน โดยอากาศอุ่นชื้นที่รุนแรงของคลื่นความร้อน ทำให้ร่างกายของมนุษย์สูญเสียน้ำอย่างมาก จนจิตใจเกิดความสับสน มีปัญหาต่อระบบการหายใจ อากาศร้อนทำให้เลือดสูญเสียความสามารถในการจับตัวเป็นก้อน เกิดเลือดออกตามทวารและอวัยวะต่างๆเช่น หู ตา จมูก ปากเป็นต้น</span><br />\n<b><br />\n</b><o:p></o:p></span><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 26pt\">ก๊าซโอโซน</span><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">จากข้อมูลของยานอวกาศที่ศึกษาบรรยากาศโลก ทั้งของนาซ่า และของ </span><span style=\"font-family: Tahoma\">National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) <span lang=\"TH\">ที่ปรากฏมา แสดงให้เห็นว่า รูโอโซน มีขนาดและความหนาในชั้นบรรยากาศพอกัน ซึ่งผิดไปจากแนวทางเดิม ที่ลดลงเรื่อยมาทุกปีตั้งแต่เรามีการสำรวจโอโซนในอวกาศเป็นต้นมาตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ ๑๙๗๐</span> </span></p>\n<p><span lang=\"TH\">การที่ขนาดของรูโอโซนเริ่มปรากฏว่ามีความคงที่เป็นครั้งแรก ก็แสดงให้เห็นว่า มาตรการลดการผลิต </span>Chlorofluorocarbon(CFC) <span lang=\"TH\">เริ่มปรากฏผลในทางที่ดีให้เห็นได้เป็นครั้งแรก เนื่องจาก </span>CFC <span lang=\"TH\">สามารถทนอยู่ในบรรยากาศได้เป็นเวลานานมาก แม้เราตัดการผลิตทั้งหมดบนโลกอย่างปุปปับวันนี้ กว่าจะเห็นผลที่แท้จริงก็ต้องเป็นอวลาอย่างน้อยๆเป็นสิบปีขึ้นไป</span> </p>\n<p><span lang=\"TH\">หากเราสามารถรักษามาตรการลดการผลิต </span>CFC <span lang=\"TH\">ไปเรื่อยๆแล้ว ขนาดของรูโอโซนคงจะเริ่มหดตัวลงในไม่ช้านี้เป็นแน่ หากไม่มีเหตุการณ์สุดวิสัยทางธรรมชาติ เช่นการระเบิดภูเขาไฟ ที่พ่นละอองของเหล็วเล็กๆ ที่เรียกว่า </span>aerosol <span lang=\"TH\">ขึ้นไปในบรรยากาศเป็นจำนวนมาก จนไปช่วยเพิ่มอัตราการทำงานโอโซนในธรรมชาติ เราก็คงจะได้เห็นการฟื้นตัวของโอโซนอีกในไม่นานเกินรอ</span> </p>\n<p>**<span lang=\"TH\">รูโหว่โอโซนนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับโลกร้อนหรือไม่</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">เกี่ยวข้องแน่นอน เพราะมีรายงานว่ามีการตรวจสอบสภาวะเรือนกระจกที่ขั้วโลกเหนือเมื่อเดือนกันยายนปี </span>2006 <span lang=\"TH\">ที่ผ่านมา พบว่า</span><br />\n<span lang=\"TH\">กลุ่มโอโซนเป็นช่องโหว่(ภาษาสวีดิชใช้คำว่า)&quot;รูโอโซน&quot; ขยายตัวเป็นวงกว้างถึง </span>27.4 <span lang=\"TH\">ล้านตารางกิโลเมตร เปรียบเทียบให้ดูง่ายๆคือคงจะใหญ่กว่าประเทศไทยถึง</span>60<span lang=\"TH\">เท่า</span><br />\n<span lang=\"TH\">โลกของเรามีก๊าซต่าง ๆ ในชั้นบรรยากาศห่อหุ้มอยู่โดยรอบ ทำหน้าที่คล้ายเรือนกระจกหรือกรีนเฮาส์เป็นเกราะกำบังกรองความร้อนที่จะผ่านลงมายังพื้นผิวโลกและเก็บกักความร้อนบางส่วนเอาไว้ ทำให้โลกมีอุณหภูมิพอเหมาะสำหรับการดำรงชีวิต</span><br />\n<span lang=\"TH\">แต่ในปัจจุบัน มนุษย์กำลังเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกอย่างร้ายแรงโดยการก่อและใช้สารเคมีบางชนิดในกิจกรรมต่าง ๆ ที่สามารถทำลายเกราะป้องกันของโลกทำให้เกิดก๊าซบางชนิดเช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (</span>CO2) <span lang=\"TH\">ก๊าซมีเทน (</span>CH4)<br />\n<span lang=\"TH\">ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (</span>CFC8) <span lang=\"TH\">และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (</span>N2O) <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">และก๊าซเหล่านี้บางยังก่อให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก </span>GREENHOUSE EFFECT<br />\n<span lang=\"TH\">โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศจนหนาแน่นขึ้นทำให้เก็บกักความร้อนได้มากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งจะทำให้อุณหภูมิอากาศของโลกสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ต่าง ๆ และมหาสมุทรจะขยายตัวจนเกิดน้ำท่วมได้ในอนาคต</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">การปล่อยก๊าซเรือนกระจก( </span>GREENHOUSE EFFECT ) <span lang=\"TH\">เป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ</span><br />\n<span lang=\"TH\">ก่อมลพิษทางอากาศ</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนซึ่งปกป้องผิวโลก</span><br />\n<span lang=\"TH\">ก่อให้เกิดสภาวะโลกร้อนอันเนื่องมาจากอุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกสูงขึ้น</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">และการทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนนี่เองที่มีการตรวจพบล่าสุดว่า เกิดรูโหว่ของชั้นบรรยากาศโอโซน ที่เรียกว่า&quot;รูโอโซน&quot; ขยายตัวเป็นวงกว้าง</span><br />\n<span lang=\"TH\">ถึง </span>27.4 <span lang=\"TH\">ล้านตารางกิโลเมตรเปรียบเทียบให้ดูง่ายๆคือคงจะใหญ่กว่าประเทศไทยถึง</span>60<span lang=\"TH\">เท่า</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (</span>CFC) <br />\n<span lang=\"TH\">สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอนเรียกสั้นๆ ว่า </span>“<span lang=\"TH\">สาร </span>CFC” <span lang=\"TH\">หรืออีกชื่อหนึ่ง</span> “<span lang=\"TH\">ฟรีออน</span>” (Freon) <span lang=\"TH\">เป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ มิได้เกิดเองตามธรรมชาติ หากแต่มีแหล่งกำเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และสเปรย์ สาร </span>CFC <span lang=\"TH\">มีองค์ประกอบเป็น คลอรีน ฟลูออไรด์ และโบรมีน ซึ่งมีความสามารถในการทำลายโอโซน ตามปกติสาร </span>CFC <span lang=\"TH\">ในบริเวณพื้นผิวโลกจะทำปฏิกิริยากับสารอื่น แต่เมื่อมันดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ โมเลกุลจะแตกตัวให้คลอรีนอะตอมเดี่ยว และทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน เกิดก๊าซคลอรีนโมโนออกไซด์ (</span>ClO) <span lang=\"TH\">และก๊าซออกซิเจน</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ถ้าหากคลอรีนจำนวน </span>1 <span lang=\"TH\">อะตอมทำลายก๊าซโอโซน </span>1 <span lang=\"TH\">โมเลกุล ได้เพียงครั้งเดียวก็คงไม่เป็นปัญหา แต่ทว่าคลอรีน </span>1 <span lang=\"TH\">อะตอม สามารถทำลายก๊าซโอโซน </span>1 <span lang=\"TH\">โมเลกุลได้นับพันครั้ง เนื่องจากเมื่อคลอรีนโมโนออกไซด์ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนอะตอมเดี่ยว แล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้ง ปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็นการทำลายโอโซนอย่างต่อเนื่อง</span> <br />\n<span lang=\"TH\">การลดลงของโอโซน</span><br />\n<span lang=\"TH\">นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจพบรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์คติก บริเวณขั้วโลกใต้ เกิดขึ้นจากกระแสลมพัดคลอรีนเข้ามาสะสมในก้อนเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ ในช่วงฤดูหนาวเดือนพฤษภาคม </span>– <span lang=\"TH\">กันยายน</span> (<span lang=\"TH\">ขั้วโลกเหนือไม่มีเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ เนื่องจากอุณหภูมิไม่ต่ำพอที่จะทำให้เกิดการควบแน่นของไอน้ำในอากาศ) เมื่อถึงเดือนตุลาคม ซึ่งแสงอาทิตย์กระทบเข้ากับก้อนเมฆ ทำให้คลอรีนอะตอมอิสระแยกตัวออกและทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทำให้เกิดรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซน ซึ่งเรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">รูโอโซน</span>” (Ozone hole)</p>\n<p>***<span lang=\"TH\">รูโหว่โอโซน มีส่วนทำให้น้ำในโลกระเหยออกไปนอกอวกาศหรือเปล่า</span>?</p>\n<p><span lang=\"TH\">รูโหว่โอโซนไม่ได้ทำให้น้ำในโลกระเหยออกไป แต่โอโซนทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้รังสีที่เป็นอันตรายจากดวงอาทิตย์ตกมาถึงโลกมากเกินไป ทำหน้าที่กรองรังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอาทิตย์ออกไป </span>99% <span lang=\"TH\">ก่อนถึงพื้นโลก ถ้ามีรูโหว่แสงอาทิตย์ก็จะส่องลงมายังพื้นโลกได้มากขึ้น หากร่างกายมนุษย์ได้รับรังสีนี้มากเกินไป จะทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ส่วนจุลินทรีย์ขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรีย จะถูกฆ่าตาย</span><br />\n<span lang=\"TH\">ที่เราเรียกว่า รูโอโซน คือระดับที่ต่ำของปริมาตรโอโซน ในบรรยากาศการสูญเสียโอโซนในบรรยากาศระดับสูง เป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง</span><br />\n<span lang=\"TH\">เพราะว่า โอโซน ช่วยดูดซับรังสียูวีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก จะทำให้ผิวหนังของมนุษย์มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง สูงขึ้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">รูรั่วของโอโซนมีผมต่อจุลินทร์ชีพ ถ้าจุลินทรีตาย ก็เรื่องใหญ่มาก ห่วงโซ่อาหารขาดสะบั้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">มนุษย์คงจะมีปัญหาในการดำรงชีพแน่นอน</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">จากรายงานการประเมินโอโซนในปี ค.ศ. </span>1991 <span lang=\"TH\">พบค่าโอโซนต่ำลงในฤดูร้อนด้วย</span><br />\n<span lang=\"TH\">และเมื่อผู้คนอยู่กลางแจ้งจะได้รับแสงอัลตราไวโอเลตสูงสุดในฤดูร้อนเนื่องจากโอโซนสูญเสียไปในเวลาเดียวกัน และในปีหลังๆ พบว่ามีปัญหาสุขภาพมากขึ้น หากมีรังสียูวีเล็ดรอดลงมาบนโลกได้มากขึ้นจะมีผลกระทบมากมายในทางเศรษฐกิจของทั้งโลกได้</span><o:p></o:p> <o:p></o:p><o:p></o:p><o:p></o:p></p>\n<h4><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">โอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ (</span></span><span class=\"mw-headline\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt; font-weight: normal\">Stratosphere Ozone)<o:p></o:p></span></span></h4>\n<h4><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt; font-weight: normal\">เป็นเกราะป้องกันรังสีอุลตราไวโอเล็ต</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt; font-weight: normal\"> (UV) <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ในธรรมชาติโอโซนที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวมีเพียง </span>10% <span lang=\"TH\">โอโซนส่วนใหญ่ในชั้นสตราโตสเฟียร์รวมตัวเป็นชั้นบาง ๆ ที่ระยะสูงประมาณ </span>20 - <st1:metricconverter productid=\"30 กิโลเมตร\" w:st=\"on\">30 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ทำหน้าที่กรองรังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอาทิตย์ออกไป </span>99% <span lang=\"TH\">ก่อนถึงพื้นโลก หากร่างกายมนุษย์ได้รับรังสีนี้มากเกินไป จะทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ส่วนจุลินทรีย์ขนาดเล็ก อย่างเช่นแบคทีเรียก็จะถูกฆ่าตาย </span><o:p></o:p></span></h4>\n<h4><a name=\".E0.B9.82.E0.B8.AD.E0.B9.82.E0.B8.8B.E0.\" title=\".E0.B9.82.E0.B8.AD.E0.B9.82.E0.B8.8B.E0.\"></a><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\">โอโซนในชั้นโทรโพสเฟียร์ (</span></span><span class=\"mw-headline\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\">Troposphere Ozone)</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></h4>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\">เป็นก๊าซพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย และมีคุณสมบัติเป็นก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด โดยดูดกลืนรังสีอินฟราเรด ทำให้เกิดพลังงานความร้อนสะสมบนพื้นผิวโลกประมาณ </span>2.85 <span lang=\"TH\">วัตต์/ตารางเมตร โอโซนในชั้นนี้เกิดจากการเผาไหม้มวลชีวภาพและการสันดาปของเครื่องยนต์ ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากการจราจรติดขัด เครื่องยนต์ เครื่องจักร และโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งปะปนอยู่ในหมอกควัน เมื่อโอโซนอยู่ในบรรยากาศชั้นล่างหรือเหนือพื้นผิว มันจะให้โทษมากกว่าให้คุณ เนื่องจากเป็นพิษต่อร่างกาย ดังนั้นคำพูดที่ว่า</span><b> &quot;<span lang=\"TH\">ออกไปสูดโอโซนให้สบายปอด&quot;</span></b><span lang=\"TH\"> จึงเป็นความเข้าใจผิด </span><o:p></o:p></span></p>\n<h4><a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.A5.E0.\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.A5.E0.\"></a><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\">การลดลงของโอโซน</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></h4>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><span lang=\"TH\">นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจพบรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์คติก บริเวณขั้วโลกใต้ เกิดขึ้นจากกระแสลมพัดคลอรีนเข้ามาสะสมในก้อนเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ในช่วงฤดูหนาวราวเดือนพฤษภาคม</span> - <span lang=\"TH\">กันยายน (อนึ่งขั้วโลกเหนือไม่มีเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ เนื่องจากอุณหภูมิไม่ต่ำพอที่จะทำให้เกิดการควบแน่นของไอน้ำในอากาศ) เมื่อถึงเดือนตุลาคม ซึ่งแสงอาทิตย์กระทบเข้ากับก้อนเมฆ ทำให้คลอรีนอะตอมอิสระแยกตัวออกและทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทำให้เกิดรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซน เรียกว่า </span><b>&quot;<span lang=\"TH\">รูโอโซน&quot; (</span>Ozone hole)</b> <o:p></o:p></span><o:p></o:p><o:p></o:p></p>\n', created = 1726553348, expire = 1726639748, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4c7ec8ef57e04e74b1b93edf4a83e533' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม

ปรากฏการณ์เรือนกระจก หมายถึง ปรากฏการณ์ที่แสงอาทิตย์ผ่านลงมาและ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และก๊าซอื่น ๆ ที่พอกพูนอยู่ในบรรยากาศระดับต่ำ จะตัดความร้อนเอาไว้ไม่ให้สะท้อนออกไป ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก เหมือนกับเรือนกระจกที่ใช้ปลูกต้นไม้ในเมืองหนาว ภูมิอากาศของโลก จะถูกขับเคลื่อนด้วยพลังงานจากดวงอาทิตย์ เมื่อแสงอาทิตย์ตกกระทบผิวโลก พลังงานบางส่วนจะสูญเสียไปในการทำให้พื้นผิวของโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น โดยโลกจะสะท้อนและแผ่กระจายพลังงานบางส่วนที่เหลือกลับคืนสู่บรรยากาศในรูปความร้อน แต่แก๊สเรือนกระจก (Green House Gas, GHGs) ที่อยู่ในชั้นบรรยากาศของโลก จะช่วยกันกักเก็บพลังงานความร้อนเหล่านี้เอาไว้ด้วยการดูดซับ การสะท้อน หรือแผ่กระจายพลังงานความร้อนกลับสู่พื้นโลกอีกครั้ง (ภาพที่ 5- 1) ดังนั้นบรรยากาศในชั้นนี้จึงกระทำตัวเสมือนเป็นเรือนกระจก กล่าวคือยอมให้พลังงานในช่วงคลื่นสั้นเช่นรังสียูวีจากดวงอาทิตย์ ผ่านเข้ามาได้ แต่ไม่ยอมให้พลังงานในช่วงคลื่นยาว (รังสีอินฟราเรดหรือคลื่นความร้อน) ผ่านออกไป ปรากฏการณ์เรือนกระจกจึงทำให้เกิดการเก็บสะสมความร้อนอยู่ภายในชั้นบรรยากาศ ทำให้โลกร้อนมากขึ้น โดยยิ่งมีแก๊สเรือนกระจกมากขึ้นเท่าไร ความร้อนก็จะถูกกักไว้ในชั้นบรรยากาศมากขึ้น อันทำให้โลกยิ่งร้อนมากขึ้นเท่านั้น
สาเหตุของปรากฏการณ์เรือนกระจก
เกิดจากก๊าซที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก เช่นคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) เกิดจากการเผาไหม้ต่าง ๆ เป็นก๊าซในบรรยากาศ ซึ่งประกอบด้วยคาร์บอน 1 อะตอม และ ออกซิเจน 2 อะตอม ต่อหนึ่งโมเลกุล. คาร์บอนไดออกไซด์เป็นหนึ่งในสารประกอบเคมีที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด และมักเรียกด้วยสูตรเคมี CO2 เมื่ออยู่ในสถานะของแข็ง มักจะเรียกว่า น้ำแข็งแห้ง (dry ice) เป็นก๊าซที่มีปริมาณมากเป็นอันดับ 3 ในอากาศ รองจากไนโตรเจน และออกซิเจนคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นได้หลายลักษณะ เช่น ภูเขาไฟระเบิด การหายใจของสิ่งมีชีวิต หรือการเผาไหม้ของสารประกอบอินทรีย์ ก๊าซนี้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เพื่อใช้คาร์บอนและออกซิเจนในการสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรต จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนี้ พืชจะปล่อยก๊าซออกซิเจนออกมาสู่บรรยากาศ ทำให้สัตว์ได้ใช้ออกซิเจนนี้ในการหายใจ การใช้คาร์บอนไดออกไซด์ของพืชนี้เป็นการลดก๊าซเรือนกระจกลงได้ เนื่องจากคาร์บอนไดออกไซด์เป็นก๊าซหนึ่งที่เป็นสาเหตุของปรากฏการณ์เรือนกระจก
มีเทน เป็น สารประกอบไฮโดรคาร์บอนพวกแอลเคน สูตรเคมีคือ CH4 เป็นแก๊สไม่มีสี ติดไฟได้ เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของแก๊สธรรมชาติ แก๊สมีเทนอาจได้มาจากการหมักมูลสัตว์และนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงราคาถูก ก๊าซมีเทนอาจพบได้ในชั้นถ่านหิน (Coal Bed Methane) โดยจากกระบวนการเกิดถ่านหินทำให้ก๊าซสะสมตัวและกักเก็บอยู่ในช่องว่างในเนื้อถ่านหิน
CFC จะทำปฏิกิริยากับรังสีอัลตราไวโอเลตและแตกตัวออกเป็นโมเลกุลคลอลีนและโมเลกุลต่างๆอีกหลายชนิด ซึ่งโมเลกุลเหล่านี้จะเป็นตัวทำลายโมเลกุลของออกซิเจนชนิดพิเศษหรือ O3 บนชั้นบรรยากาศโอโซน ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตและอินฟราเรดส่องผ่านลงมายังพื้นโลกมากขึ้น ในขณะเดียวกันก๊าซเหล่านี้ก็กันรังสีไม่ให้ออกไปจากบรรยากาศโลก ด้วยว่าที่รังสีเหล่านี้เป็นพลังงาน พวกมันจึงทำให้โลกร้อนขึ้น
ผลกระทบจากปรากฏการณ์เรือนกระจก
ผลกระทบจากปรากฏการณ์เรือนกระจก ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ เศรษฐกิจ และสังคมของมนุษย์ทั้งโลก ที่นักวิทยาศาสตร์ได้คาดการณ์ไว้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
(1) ผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศ
สภาวะโลกร้อนที่มนุษย์สร้างขึ้นได้ทำให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นตลอดศตวรรษที่ผ่านมา โดยนักวิทยาศาสตร์สามารถพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าสภาวะโลกร้อนได้ส่งผลกระทบถึงความดันบรรยากาศด้วย และการเปลี่ยนแปลงในความดันบรรยากาศนี้เองที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศโลก เพราะความดันอากาศจะควบคุมการไหลเวียนบรรยากาศ ดังนั้นจึงมีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของความชื้น โดยการเปลี่ยนแปลงนี้จะส่งผลกระทบต่อปริมาณของฝนที่ตก, อุณหภูมิ, ลม, และพายุ
2) ผลกระทบต่อแหล่งน้ำ
เมื่อมีฝนตกหนักขึ้น จนเกิดอุทกภัยและแผ่นดินถล่ม ดินอันอุดมสมบูรณ์จะถูกพัดพาไปตามลำน้ำเกิดเป็นความขุ่นของสายน้ำ ที่เมื่อตกตะกอนจะสร้างความตื้นเขินให้แก่แหล่งน้ำ เมื่อสายน้ำขุ่นไหลออกสู่ชายฝั่งจะทำลายแนวปะการัง แหล่งอาศัยและอนุบาลสัตว์น้ำ นอกจากนั้นแล้วตะกอนดินที่มีปริมาณธาตุไนโตรเจนสูง ยังช่วยเร่งการเจริญเติบโตของสาหร่ายตามชายฝั่ง เมื่อสาหร่ายเหล่านี้ตายลง จะเกิดการเน่าเสีย ที่ลดปริมาณออกซิเจนในน้ำจนเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ
(3) ผลกระทบต่อแหล่งพลังงาน
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อแหล่งพลังงาน เกิดขึ้นกับกิจกรรมขุดเจาะน้ำมันในมหาสมุทรที่อยู่ใต้อิทธิพลของสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเกิดพายุหมุนที่รุนแรงย่อมเป็นอุปสรรคในการขุดเจาะน้ำมันในทะเลและมหาสมุทร วาตภัยอาจกระหน่ำแท่นขุดเจาะน้ำมันในทะเลจนอับปาง การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานน้ำ พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานลม ก็อยู่ในข่ายที่จะได้รับผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศมากกว่าการผลิตพลังงานรูปแบบอื่นๆ โดยเฉพาะระดับน้ำที่ลดลงอย่างมากของเขื่อนในหน้าแล้ง ทำให้มีปริมาณน้ำไม่พอต่อการผลิตไฟฟ้า
(4) ผลกระทบต่อระดับน้ำทะเลและที่อยู่อาศัยของมนุษย์
นักวิทยาศาสตร์คาดว่าถ้าอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นอีก 0.3OC จะทำให้กราเซียร์ (glacier) เกิดการละลายจนระดับน้ำในมหาสมุทรเพิ่มขึ้นอีก 100 เมตร การขยายตัวของมหาสมุทรทำให้เมืองที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลและที่ราบลุ่มปากแม่น้ำ ที่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่มาก จะถูกน้ำท่วม จนมนุษย์ต้องมีการย้ายถิ่นฐานใหม่ ซึ่งมีผลกระทบต่อสภาพความเป็นอยู่และสภาพสังคม
(5) ผลกระทบต่อการเกษตรกรรม
ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มสูงขึ้นจะเร่งการเจริญเติบโตของพืช แต่ในบริเวณที่มีการจัดสรรน้ำในการชลประทานได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการเกษตรกรรม อากาศที่ร้อนขึ้นจะเร่งการระเหยและการคายน้ำของพืช ทำให้พืชเกิดอาการเหี่ยวแห้งตาย ในขณะเดียวกัน อากาศร้อนยังเร่งการเจริญเติบโตของแมลงและจุลินทรีย์บางชนิดที่ทำลายพืช
(6) ผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของโลก
ระดับน้ำทะเลที่สูงและอุ่นขึ้น ทำให้สัตว์และพืชต่างๆต้องปรับตัวอย่างหนักเพื่อความอยู่รอด และถ้าปรับตัวไม่ได้ก็จะล้มตายลง เช่นในปี 1998 อุณหภูมิที่สูงขึ้นของน้ำทะเลได้ทำลายปะการังของโลกไป ร้อยละ 10 และส่งผลกระทบต่อการสืบพันธ์ของสัตว์และปลาน้ำเย็น นอกจากนั้นระดับน้ำที่สูงขึ้นยังทำให้เกิดการสูญพันธ์ของกบ 50 ชนิดในป่าของคอสตาริก้า (Coata Rica) ในมหาสมุทรอาร์คติกแมวน้ำและหมีขาว กำลังเผชิญชะตากรรมที่เลวร้ายจากช่วงฤดูหนาวที่สั้นลง ส่วนดินแดนในเขตมรสุม จะมีพายุฤดูร้อนเกิดบ่อยและรุนแรงขึ้น โดยระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น ทำให้เกิดการสูญเสียของผลิตผลทางการเกษตรและมีการระบาดที่มากขึ้นของแมลงและเชื้อโรคหลายชนิด นอกจากนั้นการระบาดนี้ยังค่อยๆลามขึ้นไปในดินแดนทางขั้วโลกและที่สูงตามยอดเขาที่เคยหนาวเย็น
(7) การสะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ที่ผิดปรกติบนผิวโลก
นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่าความผิดปกติในการสะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ของโลกในฤดูกาลต่างๆ มีสาเหตุมาจากการตัดไม้ทำลายป่าในเขตร้อนชื้น และ การหายไปของน้ำแข็งที่ขั้วโลก
เนื่องจากแถบเส้นศูนย์สูตรเป็นบริเวณที่ได้รับแสงอาทิตย์มากที่สุด ดังนั้นการหายไปของป่าในเขตร้อนชื้น จึงทำให้การสะท้อนรังสีของโลกผิดปกติไป ซึ่งจะสัมพันธ์กับความผิดปกติของปริมาณน้ำฝนที่ตก
(8) ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
การเพิ่มอุณหภูมิของอากาศทำให้เกิดผลกระทบด้านสุขภาพและอนามัยของมนุษย์ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม อากาศที่ร้อนและมีความชื้นสูงจะบั่นทอนสุขภาพในการทำงานของมนุษย์ ก่อให้เกิดความกดดันต่อสภาพร่างกายและจิตใจ ร่างกายจึงมีภูมิคุ้มกันที่ต่ำลงจนง่ายต่อการรับเชื้อโรคที่แพร่กระจายอยู่ในอากาศ โดยอุณหภูมิและความชื้นที่สูงเกินไปอาจทำให้ร่างกายปรับตัวไม่ทันจนเกิดการเสียชีวิตได้ เช่นกรณีคลื่นความร้อน (heat wave) ที่แผ่ขยายสู่ เมืองชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 1995 ทำให้มีผู้สูงอายุ เด็กและคนป่วย เสียชีวิต 739 คนภายในเวลา 1 สัปดาห์ เมื่ออุณหภูมิสูง 37OC ที่ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90 และในเดือนสิงหาคม ปี ค. 2003 คลื่นความร้อนได้ทำให้คนยุโรปเสียชีวิตประมาณ 35,000 คน โดยเฉพาะที่ฝรั่งเศสแห่งเดียวมีคนเสียชีวิตถึง 14,802 คน โดยอากาศอุ่นชื้นที่รุนแรงของคลื่นความร้อน ทำให้ร่างกายของมนุษย์สูญเสียน้ำอย่างมาก จนจิตใจเกิดความสับสน มีปัญหาต่อระบบการหายใจ อากาศร้อนทำให้เลือดสูญเสียความสามารถในการจับตัวเป็นก้อน เกิดเลือดออกตามทวารและอวัยวะต่างๆเช่น หู ตา จมูก ปากเป็นต้น

ก๊าซโอโซน จากข้อมูลของยานอวกาศที่ศึกษาบรรยากาศโลก ทั้งของนาซ่า และของ National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) ที่ปรากฏมา แสดงให้เห็นว่า รูโอโซน มีขนาดและความหนาในชั้นบรรยากาศพอกัน ซึ่งผิดไปจากแนวทางเดิม ที่ลดลงเรื่อยมาทุกปีตั้งแต่เรามีการสำรวจโอโซนในอวกาศเป็นต้นมาตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ ๑๙๗๐

การที่ขนาดของรูโอโซนเริ่มปรากฏว่ามีความคงที่เป็นครั้งแรก ก็แสดงให้เห็นว่า มาตรการลดการผลิต Chlorofluorocarbon(CFC) เริ่มปรากฏผลในทางที่ดีให้เห็นได้เป็นครั้งแรก เนื่องจาก CFC สามารถทนอยู่ในบรรยากาศได้เป็นเวลานานมาก แม้เราตัดการผลิตทั้งหมดบนโลกอย่างปุปปับวันนี้ กว่าจะเห็นผลที่แท้จริงก็ต้องเป็นอวลาอย่างน้อยๆเป็นสิบปีขึ้นไป

หากเราสามารถรักษามาตรการลดการผลิต CFC ไปเรื่อยๆแล้ว ขนาดของรูโอโซนคงจะเริ่มหดตัวลงในไม่ช้านี้เป็นแน่ หากไม่มีเหตุการณ์สุดวิสัยทางธรรมชาติ เช่นการระเบิดภูเขาไฟ ที่พ่นละอองของเหล็วเล็กๆ ที่เรียกว่า aerosol ขึ้นไปในบรรยากาศเป็นจำนวนมาก จนไปช่วยเพิ่มอัตราการทำงานโอโซนในธรรมชาติ เราก็คงจะได้เห็นการฟื้นตัวของโอโซนอีกในไม่นานเกินรอ

**รูโหว่โอโซนนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับโลกร้อนหรือไม่

เกี่ยวข้องแน่นอน เพราะมีรายงานว่ามีการตรวจสอบสภาวะเรือนกระจกที่ขั้วโลกเหนือเมื่อเดือนกันยายนปี 2006 ที่ผ่านมา พบว่า
กลุ่มโอโซนเป็นช่องโหว่(ภาษาสวีดิชใช้คำว่า)"รูโอโซน" ขยายตัวเป็นวงกว้างถึง 27.4 ล้านตารางกิโลเมตร เปรียบเทียบให้ดูง่ายๆคือคงจะใหญ่กว่าประเทศไทยถึง60เท่า
โลกของเรามีก๊าซต่าง ๆ ในชั้นบรรยากาศห่อหุ้มอยู่โดยรอบ ทำหน้าที่คล้ายเรือนกระจกหรือกรีนเฮาส์เป็นเกราะกำบังกรองความร้อนที่จะผ่านลงมายังพื้นผิวโลกและเก็บกักความร้อนบางส่วนเอาไว้ ทำให้โลกมีอุณหภูมิพอเหมาะสำหรับการดำรงชีวิต
แต่ในปัจจุบัน มนุษย์กำลังเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกอย่างร้ายแรงโดยการก่อและใช้สารเคมีบางชนิดในกิจกรรมต่าง ๆ ที่สามารถทำลายเกราะป้องกันของโลกทำให้เกิดก๊าซบางชนิดเช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4)
ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC8) และก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) เป็นต้น
และก๊าซเหล่านี้บางยังก่อให้เกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก GREENHOUSE EFFECT
โดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศจนหนาแน่นขึ้นทำให้เก็บกักความร้อนได้มากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งจะทำให้อุณหภูมิอากาศของโลกสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ต่าง ๆ และมหาสมุทรจะขยายตัวจนเกิดน้ำท่วมได้ในอนาคต

การปล่อยก๊าซเรือนกระจก( GREENHOUSE EFFECT ) เป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ
ก่อมลพิษทางอากาศ
ทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนซึ่งปกป้องผิวโลก
ก่อให้เกิดสภาวะโลกร้อนอันเนื่องมาจากอุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกสูงขึ้น

และการทำลายชั้นบรรยากาศโอโซนนี่เองที่มีการตรวจพบล่าสุดว่า เกิดรูโหว่ของชั้นบรรยากาศโอโซน ที่เรียกว่า"รูโอโซน" ขยายตัวเป็นวงกว้าง
ถึง 27.4 ล้านตารางกิโลเมตรเปรียบเทียบให้ดูง่ายๆคือคงจะใหญ่กว่าประเทศไทยถึง60เท่า

สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC)
สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอนเรียกสั้นๆ ว่า สาร CFC” หรืออีกชื่อหนึ่งฟรีออน” (Freon) เป็นสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ มิได้เกิดเองตามธรรมชาติ หากแต่มีแหล่งกำเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ และสเปรย์ สาร CFC มีองค์ประกอบเป็น คลอรีน ฟลูออไรด์ และโบรมีน ซึ่งมีความสามารถในการทำลายโอโซน ตามปกติสาร CFC ในบริเวณพื้นผิวโลกจะทำปฏิกิริยากับสารอื่น แต่เมื่อมันดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ โมเลกุลจะแตกตัวให้คลอรีนอะตอมเดี่ยว และทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน เกิดก๊าซคลอรีนโมโนออกไซด์ (ClO) และก๊าซออกซิเจน
ถ้าหากคลอรีนจำนวน 1 อะตอมทำลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุล ได้เพียงครั้งเดียวก็คงไม่เป็นปัญหา แต่ทว่าคลอรีน 1 อะตอม สามารถทำลายก๊าซโอโซน 1 โมเลกุลได้นับพันครั้ง เนื่องจากเมื่อคลอรีนโมโนออกไซด์ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนอะตอมเดี่ยว แล้วเกิดคลอรีนอะตอมเดี่ยวขึ้นอีกครั้ง ปฏิกิริยาลูกโซ่เช่นนี้จึงเป็นการทำลายโอโซนอย่างต่อเนื่อง
การลดลงของโอโซน
นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจพบรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์คติก บริเวณขั้วโลกใต้ เกิดขึ้นจากกระแสลมพัดคลอรีนเข้ามาสะสมในก้อนเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ ในช่วงฤดูหนาวเดือนพฤษภาคม กันยายน (ขั้วโลกเหนือไม่มีเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ เนื่องจากอุณหภูมิไม่ต่ำพอที่จะทำให้เกิดการควบแน่นของไอน้ำในอากาศ) เมื่อถึงเดือนตุลาคม ซึ่งแสงอาทิตย์กระทบเข้ากับก้อนเมฆ ทำให้คลอรีนอะตอมอิสระแยกตัวออกและทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทำให้เกิดรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซน ซึ่งเรียกว่า รูโอโซน” (Ozone hole)

***รูโหว่โอโซน มีส่วนทำให้น้ำในโลกระเหยออกไปนอกอวกาศหรือเปล่า?

รูโหว่โอโซนไม่ได้ทำให้น้ำในโลกระเหยออกไป แต่โอโซนทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้รังสีที่เป็นอันตรายจากดวงอาทิตย์ตกมาถึงโลกมากเกินไป ทำหน้าที่กรองรังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอาทิตย์ออกไป 99% ก่อนถึงพื้นโลก ถ้ามีรูโหว่แสงอาทิตย์ก็จะส่องลงมายังพื้นโลกได้มากขึ้น หากร่างกายมนุษย์ได้รับรังสีนี้มากเกินไป จะทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ส่วนจุลินทรีย์ขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรีย จะถูกฆ่าตาย
ที่เราเรียกว่า รูโอโซน คือระดับที่ต่ำของปริมาตรโอโซน ในบรรยากาศการสูญเสียโอโซนในบรรยากาศระดับสูง เป็นสิ่งที่น่าเป็นห่วง
เพราะว่า โอโซน ช่วยดูดซับรังสียูวีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก จะทำให้ผิวหนังของมนุษย์มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง สูงขึ้น
รูรั่วของโอโซนมีผมต่อจุลินทร์ชีพ ถ้าจุลินทรีตาย ก็เรื่องใหญ่มาก ห่วงโซ่อาหารขาดสะบั้น
มนุษย์คงจะมีปัญหาในการดำรงชีพแน่นอน

จากรายงานการประเมินโอโซนในปี ค.ศ. 1991 พบค่าโอโซนต่ำลงในฤดูร้อนด้วย
และเมื่อผู้คนอยู่กลางแจ้งจะได้รับแสงอัลตราไวโอเลตสูงสุดในฤดูร้อนเนื่องจากโอโซนสูญเสียไปในเวลาเดียวกัน และในปีหลังๆ พบว่ามีปัญหาสุขภาพมากขึ้น หากมีรังสียูวีเล็ดรอดลงมาบนโลกได้มากขึ้นจะมีผลกระทบมากมายในทางเศรษฐกิจของทั้งโลกได้

โอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ (Stratosphere Ozone)

เป็นเกราะป้องกันรังสีอุลตราไวโอเล็ต (UV) ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ในธรรมชาติโอโซนที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวมีเพียง 10% โอโซนส่วนใหญ่ในชั้นสตราโตสเฟียร์รวมตัวเป็นชั้นบาง ๆ ที่ระยะสูงประมาณ 20 - 30 กิโลเมตร ทำหน้าที่กรองรังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอาทิตย์ออกไป 99% ก่อนถึงพื้นโลก หากร่างกายมนุษย์ได้รับรังสีนี้มากเกินไป จะทำให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ส่วนจุลินทรีย์ขนาดเล็ก อย่างเช่นแบคทีเรียก็จะถูกฆ่าตาย

โอโซนในชั้นโทรโพสเฟียร์ (Troposphere Ozone)

เป็นก๊าซพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย และมีคุณสมบัติเป็นก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด โดยดูดกลืนรังสีอินฟราเรด ทำให้เกิดพลังงานความร้อนสะสมบนพื้นผิวโลกประมาณ 2.85 วัตต์/ตารางเมตร โอโซนในชั้นนี้เกิดจากการเผาไหม้มวลชีวภาพและการสันดาปของเครื่องยนต์ ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากการจราจรติดขัด เครื่องยนต์ เครื่องจักร และโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งปะปนอยู่ในหมอกควัน เมื่อโอโซนอยู่ในบรรยากาศชั้นล่างหรือเหนือพื้นผิว มันจะให้โทษมากกว่าให้คุณ เนื่องจากเป็นพิษต่อร่างกาย ดังนั้นคำพูดที่ว่า "ออกไปสูดโอโซนให้สบายปอด" จึงเป็นความเข้าใจผิด

การลดลงของโอโซน

นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจพบรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์คติก บริเวณขั้วโลกใต้ เกิดขึ้นจากกระแสลมพัดคลอรีนเข้ามาสะสมในก้อนเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ในช่วงฤดูหนาวราวเดือนพฤษภาคม - กันยายน (อนึ่งขั้วโลกเหนือไม่มีเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ เนื่องจากอุณหภูมิไม่ต่ำพอที่จะทำให้เกิดการควบแน่นของไอน้ำในอากาศ) เมื่อถึงเดือนตุลาคม ซึ่งแสงอาทิตย์กระทบเข้ากับก้อนเมฆ ทำให้คลอรีนอะตอมอิสระแยกตัวออกและทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทำให้เกิดรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซน เรียกว่า "รูโอโซน" (Ozone hole)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 566 คน กำลังออนไลน์