• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1a3d7184b298899a29661e13a69e65c8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div value=\"http://www.youtube.com/v/TsB0TX-G8_o&amp;hl=en_US&amp;fs=1\" width=\"480\" height=\"385\" name=\"movie\">\n</div>\n<div value=\"true\" width=\"480\" height=\"385\" name=\"allowFullScreen\">\n</div>\n<div value=\"always\" width=\"480\" height=\"385\" name=\"allowscriptaccess\">\n</div>\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"480\" height=\"385\">\n <param name=\"width\" value=\"480\" />\n <param name=\"height\" value=\"385\" />\n <param name=\"allowfullscreen\" value=\"true\" />\n <param name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/TsB0TX-G8_o&amp;hl=en_US&amp;fs=1\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"480\" height=\"385\" allowfullscreen=\"true\" allowscriptaccess=\"always\" src=\"http://www.youtube.com/v/TsB0TX-G8_o&amp;hl=en_US&amp;fs=1\"></embed>\n</object><div width=\"480\" height=\"385\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nลักษณะทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรสุโขทัย<br />\nสุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองด้านศิลปะ มีช่างที่ชำนาญหลายสาขา มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง มีความงดงามมาก ได้แก่ ด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ดังปรากฏจากซากโบราณสถาน โบราณวัตถุ นับได้ว่าเป็นมรดก อันล้ำค่าที่คนไทยต้องช่วยกันอนุรักษ์ให้คงอยู่ตลอดไป ศิลปะสมัยสุโขทัย ที่ยังหลงเหลืออยู่ มีดังนี้\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nด้านสถาปัตยกรรม <br />\nสถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย เป็นสิ่งก่อสร้างทางพระพุทธศาสนา ได้แก่\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n- เจดีย์ เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประดิษฐานพระมหาธาตุ และใช้ สักการะพระพุทธเจ้า ก่อสร้างด้วยอิฐ หิน หรือศิลาแลง มีลักษณะเป็นยอดแหลม เจดีย์ที่นิยมสร้างในอาณาจักรสุโขทัยมี 3 รูปทรง ดังนี้\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n๑. เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หรือทรงดอกบัวตูม เจดีย์รูปทรงนี้ส่วนฐานสร้างเป็น รูปสี่เหลี่ยมย่อมุม บนยอดเจดีย์เป็นรูปดอกบัวตูม เช่น เจดีย์วัดตระพังเงิน จังหวัดสุโขทัย เจดีย์พระศรีมหาธาตุ อำเภอศรีสัชนาลัย และเจดีย์ทรงพุ่ม ข้าวบิณฑ์ เป็นแบบเฉพาะของศิลปะสุโขทัย\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n๒. เจดีย์ทรงกลมหรือทรงลังกา (ทรงระฆังคว่ำ)เจดีย์รูปทรงนี้เป็นพระเจดีย์ ทรงกลม ลายกลีบบัวประกบบริเวณส่วนล่างขององค์ระฆัง เช่นเจดีย์วัดช้างล้อม อำเภอ ศรีสัชนาลัย นอกจากนั้นเจดีย์ทรงกลม นิยมสร้างมากในกรุงสุโขทัย\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n๓. เจดีย์ทรงเรือนธาตุ เป็นสถาปัตยกรรมผสมผสานระหว่างศรีวิชัยผสมลังกา เจดีย์รูปทรงนี้มีฐานเป็นสี่เหลี่ยมสถูปแบบศรีวิชัย ตอนบนเป็นเจดีย์ทรงกลม แบบลังกา เช่น เจดีย์ที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว อำเภอศรีสัชนาลัย\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<br />\n- วิหาร <br />\nอาณาจักรสุโขทัย นิยมสร้างวิหารที่มีขนาดใหญ่กว่าโบสถ์เพื่อใช้เป็นที่ประกอบ พิธีอุปสมบท ประกอบสังฆกรรมของพระสงฆ์ ประดิษฐานพระพุทธรูปและใช้เป็น ที่ประชุมเพื่อฟังธรรมของประชาชนจำนวนมาก วิหารมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า <br />\nวัสดุที่ใช้ในการสร้างวิหารได้แก่ ศิลาแลง อิฐ ไม้ วิหารที่ยังคงหลงเหลืออยู่ใน อาณาจักรสุโขทัย ได้แก่ วิหารหลวง ที่วัดมหาธาตุ กรุงสุโขทัย\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n- มณฑป <br />\nเป็นอาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูป มีขนาดเล็กกว่าวิหารลักษณะของมณฑป จะก่อเป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีหลังคาสูง\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<br />\nด้านประติมากรรม <br />\nผลงานด้านประติมากรรมของอาณาจักรสุโขทัย ส่วนใหญ่เป็นการสร้าง พระพุทธรูป มักนิยมหล่อด้วยสำริดและปั้นด้วยปูน โดยนิยมสร้างด้วยอริยาบท ทั้ง ๔ คือ ยืน นอน นั่ง และเดิน ร่องรอยที่ปรากฏแรกๆ การสร้างพระพุทธรูป มักสร้างด้วยปูน เช่น พระอจนะ ซึ่งประดิษฐานภายในมณฑปวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย ต่อมาได้รับอิทธิพลการสร้างพระพุทธรูปมาจากศิลปะลังกา ได้มีการหล่อด้วยสำริด และโลหะ เช่น พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nลักษณะของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย <br />\nพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย เป็นศิลปะแบบไทยแท้จะต่างจากศิลปะของลังกา และอินเดีย มีลักษณะเด่น คือ มีลักษณะส่วนโค้งที่งามสง่าอ่อนช้อย ประณีต มีพระเกศาทำขมวดเป็นก้นหอย แหลมสูง ยอดพระเมาลีเป็นเปลวเพลิง พระพักตร์รูปไข่สงบ มีรอยยิ้มเล็กน้อย พระเนตรฉายแววเมตตา พระนาสิก แหลมงุ้ม และมีพระสังฆาฏิที่ยาวจรดพระนาภี นอกจากงานประติมากรรมของ สุโขทัยที่มีการสร้างพระพุทธรูปแล้ว ยังมีการหล่อเทวรูปด้วยสำริดและโลหะ มักนิยมสร้างเป็นรูป พระอิศวร พระนารายณ์ พระวิษณุ ประดิษฐานไว้ที่ หอเทวาลัยมหาเกษตร เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู \n<p>                                                                                      <br />\n3. สาขาจิตรกรรม จิตรกรรม ที่พบสมัยสุโขทัยมีทั้งภาพลายเส้น และภาพสีฝุ่น มีภาพจำหลักลายเส้นลงในแผ่นหินชนวนเป็นภาพชาดก พบที่<br />\nวัดศรีชุมเมืองสุโขทัย\n</p></div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nด้านศาสนา <br />\nศาสนาเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญยิ่งในสมัยสุโขทัย เพราะถือว่าเป็นศูนย์รวม จิตใจของคนไทย นอกจากนั้นยังมีอิทธิพลต่อ วัฒนธรรมอื่น เช่น การปกครอง ประเพณี เริ่มแรกคนไทยในสุโขทัยนับถือผีสางเทวดา ต่อมาได้มีชนชาต ิอื่นนำศาสนาที่มีหลักปฏิบัติ ที่มีแบบแผนเข้ามาเผยแผ่ จึงได้นำความเชื่อของ ศาสนาเหล่านั้นมาผสมผสานกับความเชื่อเดิมของตน เช่น จากขอม จากศาสนาพราหมณ์ จากพุทธนิกายมหายานจากจีน\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nความเจริญทางพระพุทธศาสนา <br />\n- สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ เข้ามา มีบทบาทมากในกรุงสุโขทัยพระองค์ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้มั่นคง โดย ประชาชนชาวสุโขทัย มีโอกาสศึกษาธรรมและฟังเทศน์จากพระสงฆ์ ที่พระองค์ ทรงอาราธนามาจากเมืองนครศรีธรรมราช ทุกๆวันธรรมสวนะ จะเห็นได้จากการ ที่พระองค์ทรงสร้างพระแท่นมนังศิลาบาตรไว้ที่กลางดงตาล เพื่อให้พระสงฆ์ แสดงธรรมแก่ประชาชน นอกจากนั้น พระองค์ยังเป็นกษัตริย์ที่ทรงอุปถัมภ์ ศาสนา โดยพระองค์ทรงสร้างวัดวาอารามเป็นจำนวนมากในกรุงสุโขทัย\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n- สมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด ในกรุงสุโขทัย โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ โดยผ่านความเจริญ เข้ามา ทางเมืองนครพัน และได้มีพระสงฆ์จากสุโขทัยหลายรูป เดินทางไป ศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาที่เมืองนี้ แล้วนำเข้ามาเผยแผ่ยัง กรุงสุโขทัย\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\nความเจริญทางพระพุทธศาสนาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ <br />\n๑. พระมหาธรรมราชาที่ ๑ ทรงศึกษาพระธรรมคำสอนจนแตกฉาน และ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนาคือ ไตรภูมิพระร่วง\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n๒. พระองค์ทรงออกผนวชระหว่างครองราชย์ ที่วัดป่ามะม่วง กรุงสุโขทัย พระองค ์ทรงได้รับการยกย่องว่า เป็นนักปราชญ์ และธรรมราชา\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n๓. มีปูชนียสถานเกิดขึ้นมากมาย พระองค์ทรงสร้างพระพุทธรูปด้วยสำริด หลายองค์ที่มีความงดงาม และทรงสร้างวัดในเขต กำแพงเมือง และนอก กำแพงเมือง\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n๔. นำพระพุทธศาสนาออกไปเผยแผ่ยังดินแดนอื่น โดยพระองค์ทรงส่ง คณะสงฆ์จากสุโขทัย ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังเมืองเชียงใหม่ เมืองน่าน เมืองหลวงพระบาง\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\nประเพณีที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย <br />\n- ประเพณีการทำบุญตักบาตรและฟังธรรม ประชาชนชาวสุโขทัยยึด ปฏิบัติเป็นประจำ คือ การทำบุญตักบาตรทุกวันตอนเช้า หรือไปทำบุญ ที่วัดในวันธรรมสวนะ วันสำคัญทางศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันทอดกฐิน\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n- ประเพณีการบวช โดยมีความเชื่อว่าการบวช เป็นการช่วยอบรม สั่งสอนให้เป็นคนดีและทดแทนพระคุณพ่อแม่ ตลอดจนศึกษาพระธรรมวินัย\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n- ประเพณีการสร้างวัดในเขตพระราชวัง โดยไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แต่เพื่อใช้ประกอบพระราชพิธีทางศาสนาที่สำคัญๆ ได้แก่ วัดมหาธาตุ นับว่า เป็นวัดที่ใหญ่ที่สุดในเขตพระราชวังแห่งกรุงสุโขทัย\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\nพระราชพิธีที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย <br />\n๑. พระราชพิธีจองเปรียง-ลอยพระประทีปหรือพิธีลอยกะทง\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n๒. พระราชพิธีวันวิสาขบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ เป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ในวันสำคัญนี้ประชาชนชาวสุโขทัย ทำบุญตักบาตร ถืออุโบสถ และรักษาศีล\n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n๓. พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ \n</div>\n<div width=\"480\" height=\"385\" align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html</a>\n</div>\n', created = 1716277927, expire = 1716364327, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1a3d7184b298899a29661e13a69e65c8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศาสนาและศิลปกรรม

รูปภาพของ sss27530
ลักษณะทางศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรสุโขทัย
สุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรืองด้านศิลปะ มีช่างที่ชำนาญหลายสาขา มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง มีความงดงามมาก ได้แก่ ด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ดังปรากฏจากซากโบราณสถาน โบราณวัตถุ นับได้ว่าเป็นมรดก อันล้ำค่าที่คนไทยต้องช่วยกันอนุรักษ์ให้คงอยู่ตลอดไป ศิลปะสมัยสุโขทัย ที่ยังหลงเหลืออยู่ มีดังนี้
ด้านสถาปัตยกรรม
สถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย เป็นสิ่งก่อสร้างทางพระพุทธศาสนา ได้แก่
- เจดีย์ เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ประดิษฐานพระมหาธาตุ และใช้ สักการะพระพุทธเจ้า ก่อสร้างด้วยอิฐ หิน หรือศิลาแลง มีลักษณะเป็นยอดแหลม เจดีย์ที่นิยมสร้างในอาณาจักรสุโขทัยมี 3 รูปทรง ดังนี้
๑. เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ หรือทรงดอกบัวตูม เจดีย์รูปทรงนี้ส่วนฐานสร้างเป็น รูปสี่เหลี่ยมย่อมุม บนยอดเจดีย์เป็นรูปดอกบัวตูม เช่น เจดีย์วัดตระพังเงิน จังหวัดสุโขทัย เจดีย์พระศรีมหาธาตุ อำเภอศรีสัชนาลัย และเจดีย์ทรงพุ่ม ข้าวบิณฑ์ เป็นแบบเฉพาะของศิลปะสุโขทัย
๒. เจดีย์ทรงกลมหรือทรงลังกา (ทรงระฆังคว่ำ)เจดีย์รูปทรงนี้เป็นพระเจดีย์ ทรงกลม ลายกลีบบัวประกบบริเวณส่วนล่างขององค์ระฆัง เช่นเจดีย์วัดช้างล้อม อำเภอ ศรีสัชนาลัย นอกจากนั้นเจดีย์ทรงกลม นิยมสร้างมากในกรุงสุโขทัย
๓. เจดีย์ทรงเรือนธาตุ เป็นสถาปัตยกรรมผสมผสานระหว่างศรีวิชัยผสมลังกา เจดีย์รูปทรงนี้มีฐานเป็นสี่เหลี่ยมสถูปแบบศรีวิชัย ตอนบนเป็นเจดีย์ทรงกลม แบบลังกา เช่น เจดีย์ที่วัดเจดีย์เจ็ดแถว อำเภอศรีสัชนาลัย

- วิหาร
อาณาจักรสุโขทัย นิยมสร้างวิหารที่มีขนาดใหญ่กว่าโบสถ์เพื่อใช้เป็นที่ประกอบ พิธีอุปสมบท ประกอบสังฆกรรมของพระสงฆ์ ประดิษฐานพระพุทธรูปและใช้เป็น ที่ประชุมเพื่อฟังธรรมของประชาชนจำนวนมาก วิหารมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
วัสดุที่ใช้ในการสร้างวิหารได้แก่ ศิลาแลง อิฐ ไม้ วิหารที่ยังคงหลงเหลืออยู่ใน อาณาจักรสุโขทัย ได้แก่ วิหารหลวง ที่วัดมหาธาตุ กรุงสุโขทัย
- มณฑป
เป็นอาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูป มีขนาดเล็กกว่าวิหารลักษณะของมณฑป จะก่อเป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีหลังคาสูง

ด้านประติมากรรม
ผลงานด้านประติมากรรมของอาณาจักรสุโขทัย ส่วนใหญ่เป็นการสร้าง พระพุทธรูป มักนิยมหล่อด้วยสำริดและปั้นด้วยปูน โดยนิยมสร้างด้วยอริยาบท ทั้ง ๔ คือ ยืน นอน นั่ง และเดิน ร่องรอยที่ปรากฏแรกๆ การสร้างพระพุทธรูป มักสร้างด้วยปูน เช่น พระอจนะ ซึ่งประดิษฐานภายในมณฑปวัดศรีชุม จังหวัดสุโขทัย ต่อมาได้รับอิทธิพลการสร้างพระพุทธรูปมาจากศิลปะลังกา ได้มีการหล่อด้วยสำริด และโลหะ เช่น พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก
ลักษณะของพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย
พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย เป็นศิลปะแบบไทยแท้จะต่างจากศิลปะของลังกา และอินเดีย มีลักษณะเด่น คือ มีลักษณะส่วนโค้งที่งามสง่าอ่อนช้อย ประณีต มีพระเกศาทำขมวดเป็นก้นหอย แหลมสูง ยอดพระเมาลีเป็นเปลวเพลิง พระพักตร์รูปไข่สงบ มีรอยยิ้มเล็กน้อย พระเนตรฉายแววเมตตา พระนาสิก แหลมงุ้ม และมีพระสังฆาฏิที่ยาวจรดพระนาภี นอกจากงานประติมากรรมของ สุโขทัยที่มีการสร้างพระพุทธรูปแล้ว ยังมีการหล่อเทวรูปด้วยสำริดและโลหะ มักนิยมสร้างเป็นรูป พระอิศวร พระนารายณ์ พระวิษณุ ประดิษฐานไว้ที่ หอเทวาลัยมหาเกษตร เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

                                                                                     
3. สาขาจิตรกรรม จิตรกรรม ที่พบสมัยสุโขทัยมีทั้งภาพลายเส้น และภาพสีฝุ่น มีภาพจำหลักลายเส้นลงในแผ่นหินชนวนเป็นภาพชาดก พบที่
วัดศรีชุมเมืองสุโขทัย

ด้านศาสนา
ศาสนาเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญยิ่งในสมัยสุโขทัย เพราะถือว่าเป็นศูนย์รวม จิตใจของคนไทย นอกจากนั้นยังมีอิทธิพลต่อ วัฒนธรรมอื่น เช่น การปกครอง ประเพณี เริ่มแรกคนไทยในสุโขทัยนับถือผีสางเทวดา ต่อมาได้มีชนชาต ิอื่นนำศาสนาที่มีหลักปฏิบัติ ที่มีแบบแผนเข้ามาเผยแผ่ จึงได้นำความเชื่อของ ศาสนาเหล่านั้นมาผสมผสานกับความเชื่อเดิมของตน เช่น จากขอม จากศาสนาพราหมณ์ จากพุทธนิกายมหายานจากจีน
ความเจริญทางพระพุทธศาสนา
- สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ เข้ามา มีบทบาทมากในกรุงสุโขทัยพระองค์ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้มั่นคง โดย ประชาชนชาวสุโขทัย มีโอกาสศึกษาธรรมและฟังเทศน์จากพระสงฆ์ ที่พระองค์ ทรงอาราธนามาจากเมืองนครศรีธรรมราช ทุกๆวันธรรมสวนะ จะเห็นได้จากการ ที่พระองค์ทรงสร้างพระแท่นมนังศิลาบาตรไว้ที่กลางดงตาล เพื่อให้พระสงฆ์ แสดงธรรมแก่ประชาชน นอกจากนั้น พระองค์ยังเป็นกษัตริย์ที่ทรงอุปถัมภ์ ศาสนา โดยพระองค์ทรงสร้างวัดวาอารามเป็นจำนวนมากในกรุงสุโขทัย
- สมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด ในกรุงสุโขทัย โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ โดยผ่านความเจริญ เข้ามา ทางเมืองนครพัน และได้มีพระสงฆ์จากสุโขทัยหลายรูป เดินทางไป ศึกษาประวัติพระพุทธศาสนาที่เมืองนี้ แล้วนำเข้ามาเผยแผ่ยัง กรุงสุโขทัย
ความเจริญทางพระพุทธศาสนาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑
๑. พระมหาธรรมราชาที่ ๑ ทรงศึกษาพระธรรมคำสอนจนแตกฉาน และ ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ พระพุทธศาสนาคือ ไตรภูมิพระร่วง
๒. พระองค์ทรงออกผนวชระหว่างครองราชย์ ที่วัดป่ามะม่วง กรุงสุโขทัย พระองค ์ทรงได้รับการยกย่องว่า เป็นนักปราชญ์ และธรรมราชา
๓. มีปูชนียสถานเกิดขึ้นมากมาย พระองค์ทรงสร้างพระพุทธรูปด้วยสำริด หลายองค์ที่มีความงดงาม และทรงสร้างวัดในเขต กำแพงเมือง และนอก กำแพงเมือง
๔. นำพระพุทธศาสนาออกไปเผยแผ่ยังดินแดนอื่น โดยพระองค์ทรงส่ง คณะสงฆ์จากสุโขทัย ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังเมืองเชียงใหม่ เมืองน่าน เมืองหลวงพระบาง
ประเพณีที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย
- ประเพณีการทำบุญตักบาตรและฟังธรรม ประชาชนชาวสุโขทัยยึด ปฏิบัติเป็นประจำ คือ การทำบุญตักบาตรทุกวันตอนเช้า หรือไปทำบุญ ที่วัดในวันธรรมสวนะ วันสำคัญทางศาสนา เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันทอดกฐิน
- ประเพณีการบวช โดยมีความเชื่อว่าการบวช เป็นการช่วยอบรม สั่งสอนให้เป็นคนดีและทดแทนพระคุณพ่อแม่ ตลอดจนศึกษาพระธรรมวินัย
- ประเพณีการสร้างวัดในเขตพระราชวัง โดยไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แต่เพื่อใช้ประกอบพระราชพิธีทางศาสนาที่สำคัญๆ ได้แก่ วัดมหาธาตุ นับว่า เป็นวัดที่ใหญ่ที่สุดในเขตพระราชวังแห่งกรุงสุโขทัย
พระราชพิธีที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย
๑. พระราชพิธีจองเปรียง-ลอยพระประทีปหรือพิธีลอยกะทง
๒. พระราชพิธีวันวิสาขบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ เป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ในวันสำคัญนี้ประชาชนชาวสุโขทัย ทำบุญตักบาตร ถืออุโบสถ และรักษาศีล
๓. พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 387 คน กำลังออนไลน์