• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:22f9b79d0ddb41e284d8dcfb68d0bf0d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nด้านภาษา <br />\nการประดิษฐ์ตัวอักษรไทย ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๒๖ คือ ลายสือไทย สันนิษฐานว่า ดัดแปลงมาจากตัวอักษรขอมหวัด และมอญโบราณ นับว่าเป็นมรดกอันยิ่งใหญ่ของวัฒนธรรมสุโขทัย อักษรไทย ที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ขึ้น มีลักษณะการวางรูปตัวอักษร คือ สระ พยัญชนะ จะอยู่บรรทัดเดียวกัน สระจะอยู่หน้าพยัญชนะ มีวรรณยุกต์เพียง ๒ รูป คือ เสียงเอกและเสียงโท ในสมัยต่อมาได้มีการปรับปรุง โดยนำสระเขียนไว้ ข้างล่าง ข้างบน ข้างหน้า และข้างหลังของพยัญชนะ เพิ่มวรรณยุกต์จนออกเสียงได้ครบ และได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับจนเป็น อักษรที่ใช้กันทุกวันนี้ เมื่อพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ตัวอักษรแล้ว โปรดฯให้จารึกเรื่องราวสมัยสุโขทัยลงในหลักศิลาจารึก โดยมีหลักศิลาจารึก หลักที่ ๑ เป็นหลักแรก ที่แสดงถึงเรื่องอักขรวิธีของภาษาไทยและเรื่องราวต่างๆ ด้านการปกครอง เศรษฐกิจ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของสุโขทัย\n</p>\n<p>\n<br />\nด้านวรรณกรรม <br />\nวรรณกรรมในสมัยกรุงสุโขทัยมีอยู่หลายประเภท ส่วนใหญ่ออกมาในรูปของ การสดุดีวีรกรรม ศาสนา ปรัชญา โดยมีวรรณกรรม ที่สำคัญ ดังนี้\n</p>\n<p>\n- หลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ หรือศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เมื่อพ่อขุน รามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นแล้ว ทรงโปรดเกล้าฯให้จารึก ตัวอักษร ลงบนหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ นับว่าเป็นหลักแรกที่แสดง ถึงอักขรวิธีของภาษาไทย และเป็นวรรณกรรมที่แสดงถึงสภาพสังคม วัฒนธรรม ประเพณีของอาณาจักรสุโขทัย\n</p>\n<p>\n- ไตรภูมิพระร่วง (เตภูมิกถา) พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไท) เป็นผู้พระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๑๘๘๘ โดยพระองค์มีพระราชประสงค์ ใช้เทศนาโปรดพระราชมารดาและสั่งสอนประชาชนของสุโขทัย ให้บรรลุถึง นิพพาน วรรณกรรมไตรภูมิพระร่วงจะบรรยายถึงภาพของนรก สวรรค์ ไว้อย่าง ชัดเจน โดยสอนให้รู้จักบาปบุญ คุณโทษ รู้ชั่ว เกรงกลัวต่อโทษที่จะได้รับ จากการทำความชั่ว\n</p>\n<p>\n- สุภาษิตพระร่วง นับว่าเป็นวรรณกรรมที่มีค่ายิ่ง มีวัตถุประสงค์ที่จะสอนคน ให้มีความรู้ และการปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น\n</p>\n<p>\n- ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ วัตถุประสงค์ในการแต่งวรรณกรรมเรื่องนี้ เพื่อให้ คำแนะนำตักเตือนข้าราชการ สำนักฝ่ายในให้มีกิริยามารยาทที่เหมาะสมกับ ศักดิ์ศรีของตนเอง เป็นการเชิดชูเกียรติยศของพระมหากษัตริย์\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html\">http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html</a>\n</p>\n', created = 1716264097, expire = 1716350497, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:22f9b79d0ddb41e284d8dcfb68d0bf0d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภาษาและวรรณกรรม

รูปภาพของ sss27530

ด้านภาษา
การประดิษฐ์ตัวอักษรไทย ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เป็นผู้ประดิษฐ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๒๖ คือ ลายสือไทย สันนิษฐานว่า ดัดแปลงมาจากตัวอักษรขอมหวัด และมอญโบราณ นับว่าเป็นมรดกอันยิ่งใหญ่ของวัฒนธรรมสุโขทัย อักษรไทย ที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ขึ้น มีลักษณะการวางรูปตัวอักษร คือ สระ พยัญชนะ จะอยู่บรรทัดเดียวกัน สระจะอยู่หน้าพยัญชนะ มีวรรณยุกต์เพียง ๒ รูป คือ เสียงเอกและเสียงโท ในสมัยต่อมาได้มีการปรับปรุง โดยนำสระเขียนไว้ ข้างล่าง ข้างบน ข้างหน้า และข้างหลังของพยัญชนะ เพิ่มวรรณยุกต์จนออกเสียงได้ครบ และได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับจนเป็น อักษรที่ใช้กันทุกวันนี้ เมื่อพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ตัวอักษรแล้ว โปรดฯให้จารึกเรื่องราวสมัยสุโขทัยลงในหลักศิลาจารึก โดยมีหลักศิลาจารึก หลักที่ ๑ เป็นหลักแรก ที่แสดงถึงเรื่องอักขรวิธีของภาษาไทยและเรื่องราวต่างๆ ด้านการปกครอง เศรษฐกิจ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของสุโขทัย


ด้านวรรณกรรม
วรรณกรรมในสมัยกรุงสุโขทัยมีอยู่หลายประเภท ส่วนใหญ่ออกมาในรูปของ การสดุดีวีรกรรม ศาสนา ปรัชญา โดยมีวรรณกรรม ที่สำคัญ ดังนี้

- หลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ หรือศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช เมื่อพ่อขุน รามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นแล้ว ทรงโปรดเกล้าฯให้จารึก ตัวอักษร ลงบนหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ นับว่าเป็นหลักแรกที่แสดง ถึงอักขรวิธีของภาษาไทย และเป็นวรรณกรรมที่แสดงถึงสภาพสังคม วัฒนธรรม ประเพณีของอาณาจักรสุโขทัย

- ไตรภูมิพระร่วง (เตภูมิกถา) พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พญาลิไท) เป็นผู้พระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๑๘๘๘ โดยพระองค์มีพระราชประสงค์ ใช้เทศนาโปรดพระราชมารดาและสั่งสอนประชาชนของสุโขทัย ให้บรรลุถึง นิพพาน วรรณกรรมไตรภูมิพระร่วงจะบรรยายถึงภาพของนรก สวรรค์ ไว้อย่าง ชัดเจน โดยสอนให้รู้จักบาปบุญ คุณโทษ รู้ชั่ว เกรงกลัวต่อโทษที่จะได้รับ จากการทำความชั่ว

- สุภาษิตพระร่วง นับว่าเป็นวรรณกรรมที่มีค่ายิ่ง มีวัตถุประสงค์ที่จะสอนคน ให้มีความรู้ และการปฏิบัติตนต่อบุคคลอื่น

- ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ วัตถุประสงค์ในการแต่งวรรณกรรมเรื่องนี้ เพื่อให้ คำแนะนำตักเตือนข้าราชการ สำนักฝ่ายในให้มีกิริยามารยาทที่เหมาะสมกับ ศักดิ์ศรีของตนเอง เป็นการเชิดชูเกียรติยศของพระมหากษัตริย์

http://www.sema.go.th/files/Content/Social/k4/0042/Introduce%20Kingdom%20of%20thai/webpage/webpage/20.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 343 คน กำลังออนไลน์