• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a3d039891319dee75db844bd464513e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ลักษณะทางเศรษฐกิจ</p>\n<p>          ลักษณะเศรษฐกิจสมัย สุโขทัย ขึ้นอยู่กับอาชีพหลักของราษฎร คือ การเกษตรกรรม หัตถกรรม และ ค้าขาย</p>\n<p>      การเกษตร</p>\n<p>              อาชีพหลักของ ชาวสุโขทัย คือ เกษตรกรรมได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน และการเลี้ยงสัตว์ ชาวสุโขทัยมีการสร้างระบบชลประทานที่เป็น<br />\nพื้นฐานที่สำคัญในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เนื่องจากสุโขทัยมีปัญหาความแห้งแล้งในฤดูแล้ง เพราะดินเป็นดินปนทราย ทำให้ดินไม่อุ้มน้ำ<br />\nจึงมีการสร้างเขื่อนดินทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวเมือง สุโขทัย  เขื่อนดินนี้ เรียกว่า สรีดภงส์ หรือ ทำนบพระร่วง สำหรับเก็บกักน้ำไว้ภายใน<br />\nหุบเขา และ ขนระบายน้ำเข้าไปใช้ภายในตัวเมือง และ  บริเวณใกล้เคียงตัวเมือง นอกจากนี้ภายในตัวเมืองยังมีการขุดสระน้ำที่เรียกว่า ตระพัง เพื่อ<br />\nเก็บกักน้ำไว้ใช้สอย</p>\n<p>              พืชที่ปลูกมาก คือ ข้าว รองลงมาเป็นผลไม้ เช่น มะม่วง มะขาม มะพร้าว หมากพลู เป็นต้น โดยพื้นท่ีเพาะปลูกที่สำคัญ ได้แก่ บริเวณที่<br />\nราบลุ่มทางแถบเมืองศรีสัชนาลัย ชากังราว สองแคว และนครชุม</p>\n<p>                                                                              </p>\n<p>      อุตสาหกรรม</p>\n<p>       ผลผลิตทางด้าน อุตสาหกรรมที่มีชื่อเสียงมากของสุโขทัยคือ เครื่องสังคโลก มีแหล่งผลิตอยู่ที่เมืองศรีสัชนาลัย และเมืองสุโขทัย สินค้าเครื่อง<br />\nสังคโลกที่ผลิต ได้แก่ ถ้วย โถ จาน ไห กระปุก เป็นต้น นอกจากค้าขายกันภายในประเทศแล้ว ยังส่งออกไปขายต่างประเทศอีกด้วย  ซึ่งจากการ<br />\nสำรวจทางโบราณคดีได้พบแหล่งเตาเผามากมาย   โดยเฉพาะบริเวณทิศเหนือนอกกำแพงเมืองสุโขทัย น้ำโจน และเมืองศรีสัชนาลัย ริมฝั่งแม่น้ำยม<br />\nที่รู้จักกันดี คือ เตาทุเรียงสุโขทัย เตาทุเรียงป่ายาง และเตาทุเรียงเกาะน้อย</p>\n<p>     การค้าขาย</p>\n<p>       การค้าขายในสุโขทัยที่ ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 แสดงให้เห็นว่ามีการค้าขายอยู่ 2 ประเภท คือการค้าขายภายในอาณาจักรและการค้าขาย<br />\nกับต่างประเทศ</p>\n<p>        การค้าภายในอาณาจักร  เป็นการค้าแบบเสรี มีตลาดเป็นศูนย์กลางการค้า  เรียกว่า &quot; ปสาน &quot;ไว้สำหรับประชาชนจากถิ่นต่าง ๆ ที่เดินทางมา<br />\nแลกเปลี่ยนสินค้ากัน  การค้าขายระหว่างเมืองจะไม่มีการเก็บภาษีผ่านด่าน ที่เรียกว่า &quot; จกอบ &quot;  ดังศิลาจารึก กล่าวว่า   &quot; เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่<br />\nลู่ทาง &quot;  ทำให้ประชาชนค้าขายได้อย่างเสรี</p>\n<p>       การค้าขายกับต่างประเทศ    เช่นการค้ากับหงา วสดี ขอม มลายู ชวา ซึ่งสินค้าออกที่สำคัญได้แก่ เครื่องเทศและของป่า เช่น พริกไทย ไม้ฝาง <br />\nงาช้าง หนังสัตว์ ไม้หอม นอแรด  ส่วนสินค้าเข้า เป็นประเภทผ้าไหม เครื่องประดับ โดยเฉพาะผ้าไหมที่พ่อค้าจีนนำมาขายเป็นที่ต้องการของเจ้า<br />\nนายเชื้อพระวงศ์ ชั้นสูงและขุนนางสุโขทัย</p>\n<p>       ระบบเงินตรา  สุโขทัยมีการค้าขายในชุมชนของตนเองและกับพ่อค้าต่างบ้านต่างเมือง จึงมีการแลกเปลี่ยนสินค้าและการซื้อขายในระบบเงิน<br />\nตรา  เงินตราที่ใช้ คือ    &quot; เงินพดด้วง &quot;  ซึ่งทำจากโลหะเงิน ก้นเบี้ยหอย มีขนาดตั้งแต่ 1 - 4 บาท โดยมีการใช้เงินตราเป็นสื่อการในการแลกเปลี่ยน<br />\nทั้งนี้เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการซื้อขาย</p>\n<p>       การเก็บภาษีอากร   สุโขทัยไม่มีการเก็บภาษีผ่านด่าน หรือ จกอบ แต่จะเก็บภาษีอื่น ๆ เช่น ธรรมเนียมต่าง ๆ ภาษีรายได้การค้า ค่านา เป็นต้น</p>\n', created = 1716250727, expire = 1716337127, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a3d039891319dee75db844bd464513e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ลักษณะทางเศรษฐกิจ

รูปภาพของ sss27530

ลักษณะทางเศรษฐกิจ

          ลักษณะเศรษฐกิจสมัย สุโขทัย ขึ้นอยู่กับอาชีพหลักของราษฎร คือ การเกษตรกรรม หัตถกรรม และ ค้าขาย

      การเกษตร

              อาชีพหลักของ ชาวสุโขทัย คือ เกษตรกรรมได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน และการเลี้ยงสัตว์ ชาวสุโขทัยมีการสร้างระบบชลประทานที่เป็น
พื้นฐานที่สำคัญในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เนื่องจากสุโขทัยมีปัญหาความแห้งแล้งในฤดูแล้ง เพราะดินเป็นดินปนทราย ทำให้ดินไม่อุ้มน้ำ
จึงมีการสร้างเขื่อนดินทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวเมือง สุโขทัย  เขื่อนดินนี้ เรียกว่า สรีดภงส์ หรือ ทำนบพระร่วง สำหรับเก็บกักน้ำไว้ภายใน
หุบเขา และ ขนระบายน้ำเข้าไปใช้ภายในตัวเมือง และ  บริเวณใกล้เคียงตัวเมือง นอกจากนี้ภายในตัวเมืองยังมีการขุดสระน้ำที่เรียกว่า ตระพัง เพื่อ
เก็บกักน้ำไว้ใช้สอย

              พืชที่ปลูกมาก คือ ข้าว รองลงมาเป็นผลไม้ เช่น มะม่วง มะขาม มะพร้าว หมากพลู เป็นต้น โดยพื้นท่ีเพาะปลูกที่สำคัญ ได้แก่ บริเวณที่
ราบลุ่มทางแถบเมืองศรีสัชนาลัย ชากังราว สองแคว และนครชุม

                                                                             

      อุตสาหกรรม

       ผลผลิตทางด้าน อุตสาหกรรมที่มีชื่อเสียงมากของสุโขทัยคือ เครื่องสังคโลก มีแหล่งผลิตอยู่ที่เมืองศรีสัชนาลัย และเมืองสุโขทัย สินค้าเครื่อง
สังคโลกที่ผลิต ได้แก่ ถ้วย โถ จาน ไห กระปุก เป็นต้น นอกจากค้าขายกันภายในประเทศแล้ว ยังส่งออกไปขายต่างประเทศอีกด้วย  ซึ่งจากการ
สำรวจทางโบราณคดีได้พบแหล่งเตาเผามากมาย   โดยเฉพาะบริเวณทิศเหนือนอกกำแพงเมืองสุโขทัย น้ำโจน และเมืองศรีสัชนาลัย ริมฝั่งแม่น้ำยม
ที่รู้จักกันดี คือ เตาทุเรียงสุโขทัย เตาทุเรียงป่ายาง และเตาทุเรียงเกาะน้อย

     การค้าขาย

       การค้าขายในสุโขทัยที่ ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 แสดงให้เห็นว่ามีการค้าขายอยู่ 2 ประเภท คือการค้าขายภายในอาณาจักรและการค้าขาย
กับต่างประเทศ

        การค้าภายในอาณาจักร  เป็นการค้าแบบเสรี มีตลาดเป็นศูนย์กลางการค้า  เรียกว่า " ปสาน "ไว้สำหรับประชาชนจากถิ่นต่าง ๆ ที่เดินทางมา
แลกเปลี่ยนสินค้ากัน  การค้าขายระหว่างเมืองจะไม่มีการเก็บภาษีผ่านด่าน ที่เรียกว่า " จกอบ "  ดังศิลาจารึก กล่าวว่า   " เจ้าเมืองบ่เอาจกอบในไพร่
ลู่ทาง "  ทำให้ประชาชนค้าขายได้อย่างเสรี

       การค้าขายกับต่างประเทศ    เช่นการค้ากับหงา วสดี ขอม มลายู ชวา ซึ่งสินค้าออกที่สำคัญได้แก่ เครื่องเทศและของป่า เช่น พริกไทย ไม้ฝาง
งาช้าง หนังสัตว์ ไม้หอม นอแรด  ส่วนสินค้าเข้า เป็นประเภทผ้าไหม เครื่องประดับ โดยเฉพาะผ้าไหมที่พ่อค้าจีนนำมาขายเป็นที่ต้องการของเจ้า
นายเชื้อพระวงศ์ ชั้นสูงและขุนนางสุโขทัย

       ระบบเงินตรา  สุโขทัยมีการค้าขายในชุมชนของตนเองและกับพ่อค้าต่างบ้านต่างเมือง จึงมีการแลกเปลี่ยนสินค้าและการซื้อขายในระบบเงิน
ตรา  เงินตราที่ใช้ คือ    " เงินพดด้วง "  ซึ่งทำจากโลหะเงิน ก้นเบี้ยหอย มีขนาดตั้งแต่ 1 - 4 บาท โดยมีการใช้เงินตราเป็นสื่อการในการแลกเปลี่ยน
ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการซื้อขาย

       การเก็บภาษีอากร   สุโขทัยไม่มีการเก็บภาษีผ่านด่าน หรือ จกอบ แต่จะเก็บภาษีอื่น ๆ เช่น ธรรมเนียมต่าง ๆ ภาษีรายได้การค้า ค่านา เป็นต้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 335 คน กำลังออนไลน์