• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:126186879957665353b11bfbc743fd65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 22pt\">การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพในส่วนต่าง ๆ ของโลก</span></b><b><span style=\"font-family: Helvetica; color: #434343; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\">แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา และแบ่งการเคลื่อนที่ของแผ่นโลกออกเป็น 3 แบบคือการชนกัน การแยกจากกัน และแบบรอยเลื่อน ซึ่งมีผลทำให้เกิดกระบวนการทางธรณีวิทยาดังนี้ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #006600; font-size: 20pt\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"> <v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape o:spid=\"_x0000_i1025\" type=\"#_x0000_t75\" id=\"imgb\" style=\"width: 261.75pt; height: 262.5pt\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.jpg\" o:href=\"http://www.sema.go.th/files/Content/science/k4/0035/F01/images/Th/03/3_1.jpg\"></v:imagedata></v:shape></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #006600; font-size: 20pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">1. การคดโค้งโก่งงอ <o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">การคดโค้งโก่งงอ เกิดจากแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่น เคลื่อนที่ชนกันด้วยแรงดันมหาศาลทำให้ชั้นหินตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกันเกิดการคดโค้งโก่งงอ แต่การเกิดรอยคดโค้งโก่งงอจะใช้เวลาเป็นพันปีและต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเนื่อง รอยคดโค้ดโก่งงอของชั้นหินเกิดติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างกินพื้นที่มากจะกลายเป็นเทือกเขา เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเซีย เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรปเทือกเขาภูพานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นต้น </span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">2. การยกตัวและการยุบตัว<o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">การยกตัวและการยุบตัว เกิดจากพลังงานที่สะสมอยู่ภายในเปลือกโลก จะเริ่มแตกและแยกออกจากกันในทิศทางที่เป็นเส้นตรงหรือแนวราบ ทำให้เกิดรอยเลื่อนในลักษณะต่าง ๆ เช่น การยกตัวของแผ่นเปลือกโลกที่เกิดจากรอยเลื่อนแบบปกติเป็นภูเขา เรียกว่า </span><st1:place w:st=\"on\"><st1:placename w:st=\"on\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">Block</span></st1:placename><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\"> </span><st1:placetype w:st=\"on\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">Mountain</span></st1:placetype></st1:place><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\"> <span lang=\"TH\">โดยยอดเขาจะมีลักษณะราบและไหล่เขาชันมาก เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย และอีกแบบคือ การยุบตัวของแผ่นเปลือกโลก กลายเป็นแอ่งหรือหุบเขา เรียกว่า </span>Rift<span lang=\"TH\"> </span>valleys <span lang=\"TH\">ซึ่งเกิดจากรอยเลื่อนแบบย้อน <o:p></o:p></span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">3. การผุพังอยู่กับที่<o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">การผุพังอยู่กับที่เป็นกระบวนการที่ทำให้วัสดุสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลงขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคที่สลายตัว ปัจจัยทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้ <o:p></o:p></span><span style=\"font-family: Symbol; color: #444e32; font-size: 10pt\"><span>·<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                       </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #444e32; font-size: 20pt\"> <span lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'; font-size: 10pt\"><span>o<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                                              </span></span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\">ปัจจัยทางกายภาพ เกิดจากน้ำที่แทรกตัวเข้าไปอยู่ในชั้นหินที่มีรอยแยกหรือรอยแตกเมื่อุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ในเวลากลางคืนอากาศเย็นจัด น้ำจะกลายเป็นน้ำแข็งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ดันรอยแยกให้ขยายตัวมากขึ้น ทำให้ชั้นหินที่อยู่ด้านล่างแตก และเมื่อถึงตอนกลางวันน้ำแข็งละลาย น้ำนะแทรกไปตามรอยแตกใหม่ จะเกิดเป็นวัฏจักรอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดเกิดการผุพังเกิดขึ้น </span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Courier New\'; font-size: 10pt\"><span>o<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                                              </span></span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\">ปัจจัยทางเคมี เกิดจากน้ำฝนที่เป็นปัจจัยสำคัญ โดยการเกิดกระบวนการปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ปฏิกิริยาออกซิเดชัน และปฏิกิริยาคาร์บอเนชัน ที่เป็นสาเหตุของการผุพัง </span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Courier New\'; color: #444e32; font-size: 10pt\"><span>o<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                                              </span></span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\"><span style=\"color: #000000\">ปัจจัยชีวภาพ เกิดจากพืชเป็นตัวกลางที่ทำให้ชั้นหินเกิดการผุพัง เช่น รากพืชที่ไปชอนไชไปในรอยแตกของหิน เมื่อพืชโตขึ้นรากพืชจะทำให้หินแตกเป็นชั้น ๆ</span><span style=\"color: fuchsia\"> </span></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #444e32; font-size: 20pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">4. <b>การกร่อน </b><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">การกร่อน เป็นการพังทลายของชั้นหินเนื่องจากลม ฝน แม่น้ำ ลำธาร ธารน้ำแข็ง คลื่น เป็นต้น <o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">5. การพัดพาและทับถม<o:p></o:p></span></b> </span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\">ดิน หิน เมื่อเกิดการกัดกร่อน จะถูกน้ำหรือลมพัดไปสู่ที่ต่ำกว่า เกิดการทับถมเป็นลักษณะต่างๆ เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา เกิดจากการพัดพาตะกอนไปทับถมที่ปากน้ำ เกิดเป็นดินดอนปากแม่น้ำ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220; font-size: 9pt\">http://www.electron.rmutphysics.com</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #434343; font-size: 20pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"left\" class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center; margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #2b3220; font-size: 20pt\"></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span>  </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726553407, expire = 1726639807, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:126186879957665353b11bfbc743fd65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพในส่วนต่าง ๆ ของโลก

การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพในส่วนต่าง ๆ ของโลกแผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา และแบ่งการเคลื่อนที่ของแผ่นโลกออกเป็น 3 แบบคือการชนกัน การแยกจากกัน และแบบรอยเลื่อน ซึ่งมีผลทำให้เกิดกระบวนการทางธรณีวิทยาดังนี้

 

1. การคดโค้งโก่งงอ

การคดโค้งโก่งงอ เกิดจากแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่น เคลื่อนที่ชนกันด้วยแรงดันมหาศาลทำให้ชั้นหินตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกันเกิดการคดโค้งโก่งงอ แต่การเกิดรอยคดโค้งโก่งงอจะใช้เวลาเป็นพันปีและต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเนื่อง รอยคดโค้ดโก่งงอของชั้นหินเกิดติดต่อกันเป็นบริเวณกว้างกินพื้นที่มากจะกลายเป็นเทือกเขา เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเซีย เทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรปเทือกเขาภูพานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นต้น

2. การยกตัวและการยุบตัวการยกตัวและการยุบตัว เกิดจากพลังงานที่สะสมอยู่ภายในเปลือกโลก จะเริ่มแตกและแยกออกจากกันในทิศทางที่เป็นเส้นตรงหรือแนวราบ ทำให้เกิดรอยเลื่อนในลักษณะต่าง ๆ เช่น การยกตัวของแผ่นเปลือกโลกที่เกิดจากรอยเลื่อนแบบปกติเป็นภูเขา เรียกว่า Block Mountain โดยยอดเขาจะมีลักษณะราบและไหล่เขาชันมาก เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย และอีกแบบคือ การยุบตัวของแผ่นเปลือกโลก กลายเป็นแอ่งหรือหุบเขา เรียกว่า Rift valleys ซึ่งเกิดจากรอยเลื่อนแบบย้อน 3. การผุพังอยู่กับที่การผุพังอยู่กับที่เป็นกระบวนการที่ทำให้วัสดุสลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลงขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคที่สลายตัว ปัจจัยทำให้เกิดการผุพังอยู่กับที่ มีดังนี้ ·                         o                                              ปัจจัยทางกายภาพ เกิดจากน้ำที่แทรกตัวเข้าไปอยู่ในชั้นหินที่มีรอยแยกหรือรอยแตกเมื่อุณหภูมิมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ในเวลากลางคืนอากาศเย็นจัด น้ำจะกลายเป็นน้ำแข็งมีปริมาณเพิ่มขึ้น ดันรอยแยกให้ขยายตัวมากขึ้น ทำให้ชั้นหินที่อยู่ด้านล่างแตก และเมื่อถึงตอนกลางวันน้ำแข็งละลาย น้ำนะแทรกไปตามรอยแตกใหม่ จะเกิดเป็นวัฏจักรอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดเกิดการผุพังเกิดขึ้น o                                              ปัจจัยทางเคมี เกิดจากน้ำฝนที่เป็นปัจจัยสำคัญ โดยการเกิดกระบวนการปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ปฏิกิริยาออกซิเดชัน และปฏิกิริยาคาร์บอเนชัน ที่เป็นสาเหตุของการผุพัง o                                              ปัจจัยชีวภาพ เกิดจากพืชเป็นตัวกลางที่ทำให้ชั้นหินเกิดการผุพัง เช่น รากพืชที่ไปชอนไชไปในรอยแตกของหิน เมื่อพืชโตขึ้นรากพืชจะทำให้หินแตกเป็นชั้น ๆ 4. การกร่อน การกร่อน เป็นการพังทลายของชั้นหินเนื่องจากลม ฝน แม่น้ำ ลำธาร ธารน้ำแข็ง คลื่น เป็นต้น 5. การพัดพาและทับถม

ดิน หิน เมื่อเกิดการกัดกร่อน จะถูกน้ำหรือลมพัดไปสู่ที่ต่ำกว่า เกิดการทับถมเป็นลักษณะต่างๆ เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา เกิดจากการพัดพาตะกอนไปทับถมที่ปากน้ำ เกิดเป็นดินดอนปากแม่น้ำ เป็นต้น

http://www.electron.rmutphysics.com

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 576 คน กำลังออนไลน์