• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:964e9279d005575b07ca7aeef2084726' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">เนื้อหาเพื่อเรียนรู้เรื่อง เครื่องแขวนไทย </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #e0e0e0\"><span style=\"color: #000000\">เครื่องแขวนดอกไม้สดเป็นงานศิลป์ที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา แต่งานศิลปะ แขนงนี้ก็ต้องเสื่อมถอยไปเมื่อคราวเสียกรุงเป็นครั้งที่ 2 จากนั้นจึง</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #e0e0e0\"><span style=\"color: #000000\">เริ่มถูกฟื้นฟูอีกครั้งเมื่อเริ่มสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ บุคคลสำคัญในวงการช่างดอกไม้ในยุคนั้น คือ เจ้าจอมมารดาตานี ธิดาเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #e0e0e0\"><span style=\"color: #000000\">เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ผู้มีฝีมือเชิงช่างดอกไม้ ซึ่งนอกจากจะถวายงานในด้านที่ตนถนัดแล้ว ท่านยังได้ฝึกหัด</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #e0e0e0\"><span style=\"color: #000000\">และถ่ายทอดวิชาแก่พระธิดาและพระนัดดา ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ ให้เป็นช่างดอกไม้สืบวิชาต่อมาจนกระทั่งรัชสมัย</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวรูปแบบของเครื่องแขวนดอกไม้สด ได้รับการพัฒนามาตามยุคสมัย โดย</span><span style=\"color: #000000\">เฉพาะช่วงที่ประเทศของเรามีการติดต่อ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">ค้าขายกับชาวต่างชาติมากขึ้น รูปแบบวัฒนธรรมที่มาพร้อมกับชาวต่างชาติก็ส่งอิทธิพลต่อชาวสยามในยุคนั้นอ<span style=\"color: #000000\">ยู่ไม่น้อย ทำให้เครื่องแขวนดอกไม้สด</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">เริ่มมีการปรับรูปแบบให้เข้ากับสมันนิยมมากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น แบบของโคมจีน แบบโคมไฟแบบยุโรป เป็นต้น เครื่องพวงดอกไม้แขวน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">จึงมาการผสมทางวัฒนธรรมเป็นด้วยราชสำนัก” อันเนื่องมาจากในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีสมาชิกในพระราชวงศ์เป็นฝ่ายใน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">จำนวนมาก ซึ่งแต่ละตำหนักก็จะมีบาทบริจาริกา (ข้ารับใช้) คอยถวายงาน ใน พระบรมมหาราชวังจึงเป็นเสมือนชุมชนอีกชุมชนหนึ่งก็ว่าได้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">เจ้านายฝ่ายในก็มุ่งที่จะประดิษฐ์งานดอกไม้ไปถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อถวาย<span style=\"color: #000000\">เป็นพุทธบูชาแด่พระแก้วมรกต</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #000000\"> หรือประดับตามพระที่นั่งองค์ต่างๆ </span><span style=\"color: #000000\">ข้าราชสำนักบางทาน พอออกจากวัง ก็นำวิชาเหล่านี้ติดตัวไปทำให้งานดอกไม้สด ไม่ได้อยู่ในวังหลวงอีกต่อไป</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><img height=\"288\" width=\"465\" src=\"/files/u32868/ksom5.jpg\" border=\"0\" /></span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #e0e0e0\"><span style=\"color: #000000\">ในภาพ หม่อมศรีพรหมมา กำลังร้อยมาลัย</span> </span></span></p>\n<!--MsgFile=13--><!--MsgFile=13--><p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">ที่มาของภาพ : <a href=\"http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/09/K8354834/K8354834-13.jpg\">http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/09/K8354834/K8354834-13.jpg</a><br />\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"> จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ภูมิปัญญาในวิชาเชิงช่างของไทยล้วนมีบ่อเกิดมาจาก</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ราชสำนัก เรียกได้ว่า “ความเจริญรุ่งเรืองของงานช่างไทย</span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">มีบ่อเกิดจากใน</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">จวบจนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว งานประดิษฐ์</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ดอกไม้สดได้รับความนิยมและเจริญอย่างสูงสุด </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ดังจะเห็นได้จาก เมื่อมีพระ</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ราชพิธีต่างๆ ก็จะมีการจัดประกวดฝีมือทำเครื่องแขวนกันเป็นกิจจะลักษณะ</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">เครื่องเเขวนบางขนิดเช่นระย้า </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">พวงเเก้วได้ ไอเดียมาจากการทำเลียนเเบบ  </span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">โคมไฟระย้า  โคมเเก้วเจียระไน  โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ศรีรัตนราชธิดา </span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระจุล</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">จอมเกล้าอยู่หัว</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"> ทรงมีพระปรีชาในการดิษฐ์</span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">เครื่องแขวนดอกไม้สดเป็นอย่าง</span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ยิ่ง เมื่อมีงานสำคัญก็จะทรงประดิษฐ์ดอกไม้ไปประดับตามงานนั้นๆ </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><img height=\"271\" width=\"200\" src=\"/files/u32868/ksom6.jpg\" border=\"0\" /></span></strong></span></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดา</span></span></strong></span></span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ </span></span></strong></span></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระจุล</span></span></strong></span></span></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">จอมเกล้าอยู่หัว</span><a href=\"http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/09/K8354834/K8354834-16.jpg\"></a></span></strong></span></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ที่มาของภาพ   : <a href=\"http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/09/K8354834/K8354834-16.jpg\">http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/09/K8354834/K8354834-16.jpg</a></span></strong></span></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">เครื่องแขวนแบบ ตาข่ายหน้าช้าง</span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"></span> <img height=\"400\" width=\"276\" src=\"/files/u32868/ksom1.jpg\" border=\"0\" /><br />\n<span style=\"color: #000080\"> ที่มาของภาพ :   <a href=\"http://www.manager.co.th/asp-bin/ShowImage.aspx?ID=1213552&amp;Width=276&amp;Height=400\">http://www.manager.co.th/asp-bin/ShowImage.aspx?ID=1213552&amp;Width=276&amp;Height=400</a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\">   </span><span style=\"color: #000080\">สันนิฐานว่า เป็นเครื่องแขวนที่คิดขึ้นมาเป็นแบบแรก เพราะโครงสร้างเป็นแบบเส้นตรงเส้นเดียว ไม่สลับซับซ้อน นอกจากใช้แขวนประดับสถานที่แล้ว<br />\n ยังใช้คลุมหน้าผากช้างสำคัญเวลาเข้าพิธี เช่น พิธีถวายช้างสำคัญ หรือสมโภชช้าง เป็นต้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">เครื่องแขวนแบบ กลิ่นตะแคง</span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"></span><img height=\"400\" width=\"276\" src=\"/files/u32868/ksom2.jpg\" border=\"0\" /><br />\n<span style=\"color: #ff0000\"> ที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.manager.co.th/asp-bin/ShowImage.aspx?ID=1213541&amp;Width=276&amp;Height=400\">http://www.manager.co.th/asp-bin/ShowImage.aspx?ID=1213541&amp;Width=276&amp;Height=400</a></span>\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #000080\">ลักษณะคล้ายดาวหกแฉกหรือรูปหกเหลี่ยม ตกแต่งอุบะตามมุม นิยมร้อยทั้งดอกรักและดอกพุดใช้แขวนประดับสถานที่ เพื่อเพิ่มความสวยงามสดชื่น<br />\n</span><span style=\"color: #000080\"> ประดิษฐ์สีสันได้ตามความเหมาะสม</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">เครื่องแขวนแบบ วิมานแท่น</span></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"400\" width=\"276\" src=\"/files/u32868/ksom3.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.manager.co.th/asp-bin/ShowImage.aspx?ID=1213546&amp;Width=276&amp;Height=400\">http://www.manager.co.th/asp-bin/ShowImage.aspx?ID=1213546&amp;Width=276&amp;Height=400</a>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span><br />\n<span style=\"color: #000080\">ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมสองชั้น คล้ายช่องหน้าต่าง มีตาข่ายหน้าช้าง เป็นรูปสี่เหลี่ยมหน้าจั่วอยู่ส่วนบนตรงมุมของกรอบสี่เหลี่ยมมีดอกเย็บแบบทัด<br />\nทั้ง 4 มุม ใช้สีสันสดใสให้เด่นสะดุดตา วิมานแท่นบางท่านเรียกว่า ช่องวิมาน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0000\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0000\"><strong>เครื่องแขวนแบบ วิมานพระอินทร์</strong></span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"400\" width=\"300\" src=\"/files/u32868/ksom4.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.weloveshopping.com/template/tem/layout_showpic.php?url=client/000035/malaithai/KK0002.jpg\">http://www.weloveshopping.com/template/tem/layout_showpic.php?url=client/000035/malaithai/KK0002.jpg</a>,,,\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000080\">ใช้ประดับประตูหน้าต่าง ประดิษฐ์เพิ่มเติมจากตาข่ายหน้าช้าง ระหว่างจั่วบนและจั่วล่างจะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าคล้ายช่องหน้าต่าง ตรงกลางหน้าจั่ว<br />\nอาจติดแบบพระอินทร์ และติดแบบกระหนกบนจั่วล่าง หรืออาจจะไม่ติดแบบเลยก็ได้</span></span>\n</p>\n', created = 1726715593, expire = 1726801993, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:964e9279d005575b07ca7aeef2084726' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เครื่องแขวนไทย

รูปภาพของ somseng

เนื้อหาเพื่อเรียนรู้เรื่อง เครื่องแขวนไทย 

เครื่องแขวนดอกไม้สดเป็นงานศิลป์ที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา แต่งานศิลปะ แขนงนี้ก็ต้องเสื่อมถอยไปเมื่อคราวเสียกรุงเป็นครั้งที่ 2 จากนั้นจึง

เริ่มถูกฟื้นฟูอีกครั้งเมื่อเริ่มสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ บุคคลสำคัญในวงการช่างดอกไม้ในยุคนั้น คือ เจ้าจอมมารดาตานี ธิดาเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)

เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ผู้มีฝีมือเชิงช่างดอกไม้ ซึ่งนอกจากจะถวายงานในด้านที่ตนถนัดแล้ว ท่านยังได้ฝึกหัด

และถ่ายทอดวิชาแก่พระธิดาและพระนัดดา ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ ให้เป็นช่างดอกไม้สืบวิชาต่อมาจนกระทั่งรัชสมัย

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวรูปแบบของเครื่องแขวนดอกไม้สด ได้รับการพัฒนามาตามยุคสมัย โดยเฉพาะช่วงที่ประเทศของเรามีการติดต่อ

ค้าขายกับชาวต่างชาติมากขึ้น รูปแบบวัฒนธรรมที่มาพร้อมกับชาวต่างชาติก็ส่งอิทธิพลต่อชาวสยามในยุคนั้นอยู่ไม่น้อย ทำให้เครื่องแขวนดอกไม้สด

เริ่มมีการปรับรูปแบบให้เข้ากับสมันนิยมมากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น แบบของโคมจีน แบบโคมไฟแบบยุโรป เป็นต้น เครื่องพวงดอกไม้แขวน

จึงมาการผสมทางวัฒนธรรมเป็นด้วยราชสำนัก” อันเนื่องมาจากในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีสมาชิกในพระราชวงศ์เป็นฝ่ายใน

จำนวนมาก ซึ่งแต่ละตำหนักก็จะมีบาทบริจาริกา (ข้ารับใช้) คอยถวายงาน ใน พระบรมมหาราชวังจึงเป็นเสมือนชุมชนอีกชุมชนหนึ่งก็ว่าได้

เจ้านายฝ่ายในก็มุ่งที่จะประดิษฐ์งานดอกไม้ไปถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระแก้วมรกต

  หรือประดับตามพระที่นั่งองค์ต่างๆ ข้าราชสำนักบางทาน พอออกจากวัง ก็นำวิชาเหล่านี้ติดตัวไปทำให้งานดอกไม้สด ไม่ได้อยู่ในวังหลวงอีกต่อไป

 

ในภาพ หม่อมศรีพรหมมา กำลังร้อยมาลัย

ที่มาของภาพ : http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/09/K8354834/K8354834-13.jpg

 จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ภูมิปัญญาในวิชาเชิงช่างของไทยล้วนมีบ่อเกิดมาจากราชสำนัก เรียกได้ว่า “ความเจริญรุ่งเรืองของงานช่างไทย

มีบ่อเกิดจากในจวบจนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว งานประดิษฐ์ดอกไม้สดได้รับความนิยมและเจริญอย่างสูงสุด

ดังจะเห็นได้จาก เมื่อมีพระราชพิธีต่างๆ ก็จะมีการจัดประกวดฝีมือทำเครื่องแขวนกันเป็นกิจจะลักษณะเครื่องเเขวนบางขนิดเช่นระย้า

พวงเเก้วได้ ไอเดียมาจากการทำเลียนเเบบ  โคมไฟระย้า  โคมเเก้วเจียระไน  โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี

ศรีรัตนราชธิดา กรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์ พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว ทรงมีพระปรีชาในการดิษฐ์

เครื่องแขวนดอกไม้สดเป็นอย่างยิ่ง เมื่อมีงานสำคัญก็จะทรงประดิษฐ์ดอกไม้ไปประดับตามงานนั้นๆ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมาวดี ศรีรัตนราชธิดากรมหลวงสมรรัตนสิริเชษฐ์

พระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว

ที่มาของภาพ   : http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2009/09/K8354834/K8354834-16.jpg

เครื่องแขวนแบบ ตาข่ายหน้าช้าง

 
 ที่มาของภาพ :   http://www.manager.co.th/asp-bin/ShowImage.aspx?ID=1213552&Width=276&Height=400

   สันนิฐานว่า เป็นเครื่องแขวนที่คิดขึ้นมาเป็นแบบแรก เพราะโครงสร้างเป็นแบบเส้นตรงเส้นเดียว ไม่สลับซับซ้อน นอกจากใช้แขวนประดับสถานที่แล้ว
 ยังใช้คลุมหน้าผากช้างสำคัญเวลาเข้าพิธี เช่น พิธีถวายช้างสำคัญ หรือสมโภชช้าง เป็นต้น

เครื่องแขวนแบบ กลิ่นตะแคง


 ที่มาของภาพ : http://www.manager.co.th/asp-bin/ShowImage.aspx?ID=1213541&Width=276&Height=400

 ลักษณะคล้ายดาวหกแฉกหรือรูปหกเหลี่ยม ตกแต่งอุบะตามมุม นิยมร้อยทั้งดอกรักและดอกพุดใช้แขวนประดับสถานที่ เพื่อเพิ่มความสวยงามสดชื่น
 ประดิษฐ์สีสันได้ตามความเหมาะสม

เครื่องแขวนแบบ วิมานแท่น


ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมสองชั้น คล้ายช่องหน้าต่าง มีตาข่ายหน้าช้าง เป็นรูปสี่เหลี่ยมหน้าจั่วอยู่ส่วนบนตรงมุมของกรอบสี่เหลี่ยมมีดอกเย็บแบบทัด
ทั้ง 4 มุม ใช้สีสันสดใสให้เด่นสะดุดตา วิมานแท่นบางท่านเรียกว่า ช่องวิมาน

เครื่องแขวนแบบ วิมานพระอินทร์

ที่มาของภาพ : http://www.weloveshopping.com/template/tem/layout_showpic.php?url=client/000035/malaithai/KK0002.jpg,,,

ใช้ประดับประตูหน้าต่าง ประดิษฐ์เพิ่มเติมจากตาข่ายหน้าช้าง ระหว่างจั่วบนและจั่วล่างจะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าคล้ายช่องหน้าต่าง ตรงกลางหน้าจั่ว
อาจติดแบบพระอินทร์ และติดแบบกระหนกบนจั่วล่าง หรืออาจจะไม่ติดแบบเลยก็ได้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 543 คน กำลังออนไลน์