• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:dbc8711cd22f4f04f27387aec16cac2f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 26pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กฎหมายที่ประชาชนควรรู้</span></b><b><span style=\"font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span></b></span><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span><span>  </span><span> </span><span> </span><b><span lang=\"TH\">กฎหมาย</span></b></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"> <span> </span>คือ กฎอันมีที่มาจากการตราขึ้นโดยสถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐ หรือจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ ใช้บังคับ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5\" title=\"บุคคล\"><u><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">บุคคล</span></u></a><span style=\"color: #000000\">ให้ปฏิบัติตาม หรือกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ </span></span><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กฎหมาย</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่กำหนดให้คนในสังคมปฏิบัติตาม ส่วนใหญ่ปรากฏในสังคมที่มีระบบความสัมพันธ์สลับซับซ้อนมาก และมีองค์กรหรือสถาบันคอยกำกับดูแลการประพฤติปฏิบัติตามอย่างเป็นกิจจะลักษณะ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นักสังคมวิทยาจำแนกความแตกต่างระหว่างกฎหมายกับจารีตประเพณีไว้ดังต่อไปนี้</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>    </span>1. <span lang=\"TH\">กฎหมายกำหนดระดับต่าง ๆ ของการกระทำความผิด และกำหนดบทลงโทษสำหรับความผิดนั้นตามระดับด้วย ผิดน้อยก็โทษน้อย ผิดมากก็โทษมาก แต่จารีตประเพณีเป็นเรื่องของความรู้สึกว่ารับได้หรือไม่ได้ของสังคมมากกว่า</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>    </span>2. <span lang=\"TH\">การลงโทษผู้กระทำตามกฎหมายมีองค์กรคอยเป็นธุระจัดการอย่างเป็นกิจจะลักษณะ แต่สำหรับจารีตประเพณีแล้ว ไม่มีองค์กรรับผิดชอบเช่นว่าโดยเฉพาะและมักเป็นการลงโทษของสังคมเอง เช่น การประณาม การเลิกคบค้าสมาคมด้วย ฯลฯ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>     </span>3. <span lang=\"TH\">จารีตประเพณีมีความเป็นยาวนานและเปลี่ยนแปลงยาก ในขณะที่กฎหมายแม้อาจมีความเป็นมายาวนานแต่ก็สามารถเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้เข้ากับสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ทันที</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>     </span>4. <span lang=\"TH\">จารีตบางอย่างถูกละเลยโดยคนในสังคม กฎหมายจึงมีประโยชน์กว่าเพราะมีอำนาจบังคับใช้แก่ทุกคนเป็นการทั่วไปอย่างไม่มีการยกเว้น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>      </span><span> </span>5. <span lang=\"TH\">จารีตประเพณีบางทีก็ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาได้ ขณะที่กฎหมายมีความแน่นอนกว่า</span><o:p></o:p></span></span><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000\"> </span></o:p><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>     </span>กฎหมายที่ประชาชนควรรู้</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span><span> </span><span> </span><span lang=\"TH\"><span>  </span>กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล</span><o:p></o:p></span></span></b><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ผู้มีสัญชาติไทยต้องมีชื่อตัวและชื่อสกุล ตามปกติเมื่อมีการแจ้งเกิด เจ้าบ้านหรือแม่จะต้องแจ้งชื่อของเด็กกับนายทะเบียน ส่วนบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วสามารถขอเปลี่ยนชื่อได้เอง การตั้งชื่อสกุล โดยยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน นายทะเบียนท้องที่ก็จะส่งไปตามลำดับจนได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนกลาง แล้วนายทะเบียนท้องที่ก็จะออกหนังสือสำคัญแสดงการรับจดทะเบียนชื่อสกุลให้ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>   </span>กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชน </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้ที่จะต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนได้แก่ ผู้ที่มีสัญชาติไทย มีอายุตั้งแต่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">15<span lang=\"TH\"> ปีบริบูรณ์ขึ้นไปแต่ไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ และมีภูมิลำเนา หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของท้องที่นั้นๆ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>    </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>บัตรประจำตัวประชาชน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คนไทยซึ่งมีอายุตั้งแต่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">15<span lang=\"TH\"> ปีบริบูรณ์ขึ้นไปจนถึง </span>70<span lang=\"TH\"> ปี บริบูรณ์ ต้องไปขอทำบัตรที่อำเภอหรือที่ว่าการเขตภายใน </span>60<span lang=\"TH\"> วัน นับตั้งแต่วันที่อายูครบ </span>15<span lang=\"TH\"> ปีบริบูรณ์ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บัตรประจำตัวประชาชนชำรุดหรือสูญหาย ต้องยื่นคำร้องขอมีบัตรใหม่ภายใน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">30<span lang=\"TH\"> วัน นับตั้งแต่บัตรเดิมชำรุดหรือสูญหาย (ต้องไปแจ้งบัตรหายที่สถานีตำรวจ) </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อายุของบัตร กำหนดใช้ได้ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">6<span lang=\"TH\"> ปี เมื่อถึงกำหนดสิ้นอายุบัตรต้องไปติดต่อขอทำบัตรใหม่ภายใน </span>60<span lang=\"TH\"> วันนับตั้งแต่วันสิ้นอายุ ณ อำเภอท้องที่ที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความผิด </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้ถือบัตรผู้ใดไม่อาจแสดงบัตรได้ในเมื่อเจ้าพนักงานขอตรวจ มีโทษปรับไม่เกิน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">100<span lang=\"TH\"> บาท </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้ไม่มีสัญชาติไทยยื่นคำร้องขอมีบัตรโดยแจ้งข้อความเท็จต่อเจ้าพนักงานว่าตนมีสัญชาติไทย มีโทษปรับไม่เกิน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2.000<span lang=\"TH\"> บาทหรือจำคุกไม่เกิน </span>1<span lang=\"TH\"> ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไม่ยื่นคำร้องขอมีบัตรภายในกำหนดเวลา มีโทษปรับไม่เกิน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">500<span lang=\"TH\"> บาท </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บัตรหมดอายุไม่ต่อบัตรภายในกำหนด มีโทษปรับไม่เกิน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">200<span lang=\"TH\"> บาท </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร มีอยู่ด้วย </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">4<span lang=\"TH\"> ประเภทคือ </span><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">ทหารกองเกิน ชายไทยที่มีอายุตั้งแต่ </span>18<span lang=\"TH\"> ปีบริบูรณ์ และยังไม่ถึง </span>30<span lang=\"TH\"> ปีบริบูรณ์ เมื่อมีอายุครบ </span>18<span lang=\"TH\"> ปีบริบูรณ์ในปีใด ก็ต้องไปลงบัญชีทหารกองเกินภายในเดือนพฤศจิกายนของปีนั้น ที่อำเภอหรือเขตที่ตนมีภูมิลำเนาทหารอยู่ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2. <span lang=\"TH\">ทหารกองประจำการ คือผู้ที่ได้รับการตรวจเลือกเข้ารับราชการทหาร โดยอำเภอหรือหัวหน้าเขตจะเป็นผู้เรียกทหารกองเกินมาตรวจเลือกปีละครั้ง </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">3. <span lang=\"TH\">ทหารกองหนุน คือ ชายไทยอายุตั้งแต่ </span>18<span lang=\"TH\"> ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และจะเป็นทหารกองหนุนไปจนถึงอายุ </span>46<span lang=\"TH\"> ปีบริบูรณ์ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">4. <span lang=\"TH\">ทหารประจำการ ก็คือทหารอาชีพนั่นเอง </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>   </span><b>การเกิด</b> หมายถึง การที่ทารกคลอดออกจากครรภ์มารดา แล้วมีชีวิตอยู่ การแจ้งเกิดมีหลักเกณฑ์ดังนี้คือ คนที่เกิดในบ้าน เจ้าบ้านต้องแจ้งต่อนายทะเบียนภายใน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">15<span lang=\"TH\"> วัน คนที่เกิดนอกบ้าน ให้แม่แจ้งต่อนาบทะเบียนในท้องที่ที่เกิดภายใน </span>15<span lang=\"TH\"> วัน แต่ในกรณีจำเป็นอาจแจ้งภายหลังได้แต่ต้องไม่เกิน </span>15<span lang=\"TH\"> วันหลังจากวันที่สามารแจ้งได้ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>การตาย</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> หมายถึง การที่คนสิ้นชีวิต การแจ้งตายมีหลักเกณฑ์ดังนี้คือ คนตายในบ้าน เจ้าบ้านแจ้งภายใน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">24<span lang=\"TH\"> ชั่วโมง การเก็บ ฝัง เผา หรือย้ายศพ เมื่อมีการตายเกิดขึ้น ห้ามไม่ให้ผู้ใดทำการเก็บ ฝัง เผา หรือย้ายศพ ไปจากสถานที่ตายก่อนได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนผู้รับแจ้ง </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b></p>\n', created = 1717986334, expire = 1718072734, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:dbc8711cd22f4f04f27387aec16cac2f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a40e537dd7a221a08b266ba3641c388f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" border=\"0\" title=\"Innocent\" />  จัดหัวข้อให้น่าอ่านกว่านี้ อ่านแล้วเวัีียนหัวจ้า</p>\n', created = 1717986334, expire = 1718072734, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a40e537dd7a221a08b266ba3641c388f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กฏหมายที่ประชาชนควรรู้

กฎหมายที่ประชาชนควรรู้      กฎหมาย  คือ กฎอันมีที่มาจากการตราขึ้นโดยสถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐ หรือจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ ใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม หรือกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ กฎหมายกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่กำหนดให้คนในสังคมปฏิบัติตาม ส่วนใหญ่ปรากฏในสังคมที่มีระบบความสัมพันธ์สลับซับซ้อนมาก และมีองค์กรหรือสถาบันคอยกำกับดูแลการประพฤติปฏิบัติตามอย่างเป็นกิจจะลักษณะนักสังคมวิทยาจำแนกความแตกต่างระหว่างกฎหมายกับจารีตประเพณีไว้ดังต่อไปนี้    1. กฎหมายกำหนดระดับต่าง ๆ ของการกระทำความผิด และกำหนดบทลงโทษสำหรับความผิดนั้นตามระดับด้วย ผิดน้อยก็โทษน้อย ผิดมากก็โทษมาก แต่จารีตประเพณีเป็นเรื่องของความรู้สึกว่ารับได้หรือไม่ได้ของสังคมมากกว่า    2. การลงโทษผู้กระทำตามกฎหมายมีองค์กรคอยเป็นธุระจัดการอย่างเป็นกิจจะลักษณะ แต่สำหรับจารีตประเพณีแล้ว ไม่มีองค์กรรับผิดชอบเช่นว่าโดยเฉพาะและมักเป็นการลงโทษของสังคมเอง เช่น การประณาม การเลิกคบค้าสมาคมด้วย ฯลฯ     3. จารีตประเพณีมีความเป็นยาวนานและเปลี่ยนแปลงยาก ในขณะที่กฎหมายแม้อาจมีความเป็นมายาวนานแต่ก็สามารถเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้เข้ากับสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ทันที     4. จารีตบางอย่างถูกละเลยโดยคนในสังคม กฎหมายจึงมีประโยชน์กว่าเพราะมีอำนาจบังคับใช้แก่ทุกคนเป็นการทั่วไปอย่างไม่มีการยกเว้น       5. จารีตประเพณีบางทีก็ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาได้ ขณะที่กฎหมายมีความแน่นอนกว่า        กฎหมายที่ประชาชนควรรู้     กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล ผู้มีสัญชาติไทยต้องมีชื่อตัวและชื่อสกุล ตามปกติเมื่อมีการแจ้งเกิด เจ้าบ้านหรือแม่จะต้องแจ้งชื่อของเด็กกับนายทะเบียน ส่วนบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วสามารถขอเปลี่ยนชื่อได้เอง การตั้งชื่อสกุล โดยยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน นายทะเบียนท้องที่ก็จะส่งไปตามลำดับจนได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนกลาง แล้วนายทะเบียนท้องที่ก็จะออกหนังสือสำคัญแสดงการรับจดทะเบียนชื่อสกุลให้     กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชน  ผู้ที่จะต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนได้แก่ ผู้ที่มีสัญชาติไทย มีอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปแต่ไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ และมีภูมิลำเนา หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านของท้องที่นั้นๆ      บัตรประจำตัวประชาชน คนไทยซึ่งมีอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปจนถึง 70 ปี บริบูรณ์ ต้องไปขอทำบัตรที่อำเภอหรือที่ว่าการเขตภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันที่อายูครบ 15 ปีบริบูรณ์ บัตรประจำตัวประชาชนชำรุดหรือสูญหาย ต้องยื่นคำร้องขอมีบัตรใหม่ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่บัตรเดิมชำรุดหรือสูญหาย (ต้องไปแจ้งบัตรหายที่สถานีตำรวจ) อายุของบัตร กำหนดใช้ได้ 6 ปี เมื่อถึงกำหนดสิ้นอายุบัตรต้องไปติดต่อขอทำบัตรใหม่ภายใน 60 วันนับตั้งแต่วันสิ้นอายุ ณ อำเภอท้องที่ที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน ความผิด ผู้ถือบัตรผู้ใดไม่อาจแสดงบัตรได้ในเมื่อเจ้าพนักงานขอตรวจ มีโทษปรับไม่เกิน 100 บาท ผู้ไม่มีสัญชาติไทยยื่นคำร้องขอมีบัตรโดยแจ้งข้อความเท็จต่อเจ้าพนักงานว่าตนมีสัญชาติไทย มีโทษปรับไม่เกิน 2.000 บาทหรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ ไม่ยื่นคำร้องขอมีบัตรภายในกำหนดเวลา มีโทษปรับไม่เกิน 500 บาท บัตรหมดอายุไม่ต่อบัตรภายในกำหนด มีโทษปรับไม่เกิน 200 บาท   กฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร มีอยู่ด้วย 4 ประเภทคือ  1. ทหารกองเกิน ชายไทยที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีบริบูรณ์ และยังไม่ถึง 30 ปีบริบูรณ์ เมื่อมีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์ในปีใด ก็ต้องไปลงบัญชีทหารกองเกินภายในเดือนพฤศจิกายนของปีนั้น ที่อำเภอหรือเขตที่ตนมีภูมิลำเนาทหารอยู่ 2. ทหารกองประจำการ คือผู้ที่ได้รับการตรวจเลือกเข้ารับราชการทหาร โดยอำเภอหรือหัวหน้าเขตจะเป็นผู้เรียกทหารกองเกินมาตรวจเลือกปีละครั้ง 3. ทหารกองหนุน คือ ชายไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และจะเป็นทหารกองหนุนไปจนถึงอายุ 46 ปีบริบูรณ์ 4. ทหารประจำการ ก็คือทหารอาชีพนั่นเอง    กฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร     การเกิด หมายถึง การที่ทารกคลอดออกจากครรภ์มารดา แล้วมีชีวิตอยู่ การแจ้งเกิดมีหลักเกณฑ์ดังนี้คือ คนที่เกิดในบ้าน เจ้าบ้านต้องแจ้งต่อนายทะเบียนภายใน 15 วัน คนที่เกิดนอกบ้าน ให้แม่แจ้งต่อนาบทะเบียนในท้องที่ที่เกิดภายใน 15 วัน แต่ในกรณีจำเป็นอาจแจ้งภายหลังได้แต่ต้องไม่เกิน 15 วันหลังจากวันที่สามารแจ้งได้   การตาย หมายถึง การที่คนสิ้นชีวิต การแจ้งตายมีหลักเกณฑ์ดังนี้คือ คนตายในบ้าน เจ้าบ้านแจ้งภายใน 24 ชั่วโมง การเก็บ ฝัง เผา หรือย้ายศพ เมื่อมีการตายเกิดขึ้น ห้ามไม่ให้ผู้ใดทำการเก็บ ฝัง เผา หรือย้ายศพ ไปจากสถานที่ตายก่อนได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนผู้รับแจ้ง           

รูปภาพของ silavacharee

Innocent  จัดหัวข้อให้น่าอ่านกว่านี้ อ่านแล้วเวัีียนหัวจ้า

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 600 คน กำลังออนไลน์