• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ad1ea570c0a3a9931d3752f719bcfde3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 20pt; color: maroon; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หน่วยการเรียนรู้ที่ 1</span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; color: maroon; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 20pt; color: maroon; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ที่ทำให้เกิดปัญหา และภัยพิบัติทางธรรมชาติ<o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                    ภูมิศาสตร์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">     <span lang=\"TH\"> เป็นเรื่องราวการบรรยายหรือพรรณาเกี่ยวกับโลก ในปี ค.ศ. 1950 คณะกรรมการอภิธานศัพท์ภูมิศาสตร์ของอังกฤษ ได้ให้ความหมายภูมิศาสตร์ว่า เป็นศาสตร์ที่บรรยายเกี่ยวกับเปลือกโลก ในแง่ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของพื้นที่ต่าง ๆ พจนานุกรมอเมริกันได้กล่าวว่า ภูมิศาสตร์เป็นศาสตร์เกี่ยวกับความแตกต่างของพื้นผิวโลกในแง่ของ ลักษณะเด่น การกำหนดและความสัมพันธ์ระหว่างสารประกอบของโลก พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยได้ให้ความหมาย ภูมิศาสตร์ ไว้ว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิศาสตร์จึงเป็นศาสตร์มีความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมิติสัมพันธ์ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">   </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">1. ภูมิศาสตร์กายภาพ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">     1. ภูมิศาสตร์กายภาพ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">  (Physical Geography)<span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมทางกายภาพของมนุษย์และความสัมพันธ์ของมัน เนื้อหาของวิชาจึงคาบเกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพหลายวิชาที่สำคัญ ได้แก่ วิชา อุตุนิยมวิทยา อากาศวิทยา สมุทรศาสตร์ ธรณีวิทยา ปฐพีวิทยา นิเวศน์วิทยาของพืช และธรณีสัณฐานวิทยา แต่วิชาภูมิศาสตร์กายภาพมิได้เป็นเพียงการนำเอาเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพสาขาต่าง ๆ มารวมกันเท่านั้น แต่ได้นำเอาเนื้อหาเหล่านี้มาผสมผสานกันในแง่ที่เป็นสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสาขาหนึ่งในวิชาภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์กายภาพเน้นความสัมพันธ์ทางพื้นที่ นั่นคือ เน้นการกระจายบนพื้นผิวโลกหรือที่เรียกว่า รูปแบบทางภูมิศาสตร์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">geographic<span lang=\"TH\"> </span>pattern) <span lang=\"TH\">ของสภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นผลลัพธ์จากปฏิกิริยาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของธรรมชาติในบริเวณต่างๆ บนพื้นผิวโลก การศึกษารูปแบบทางภูมิศาสตร์ของสภาพแวดล้อมนี้ จะเป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นแก่นของระบบสภาพแวดล้อมของโลก โครงสร้างและระบบกลไกการทำงานอันเป็นพื้นฐานของธรรมชาติมักถูกลืม ในยุคที่มนุษย์ต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมอย่างหนักเช่นในปัจจุบัน ความเข้าใจโครงสร้างของสภาพแวดล้อมอย่างกว้างๆ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกลไกการทำงานของขบวนการต่างๆในสภาพแวดล้อมจึงเป็นประโยชน์อย่างมาก ได้แก่ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">     2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">Regional Geography) <span lang=\"TH\">คือ การเข้าถึงระบบเทศสัมพันธ์ (</span>Spatial interaction)<span lang=\"TH\">ด้วยการแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ในการอธิบายผิวโลกที่มีมนุษย์อาศัยนั้น นักภูมิศาสตร์ใช้วิธีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นขนาดต่างๆ กันตามเกณฑ์และวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการกำหนดพื้นที่นั้นมีหลายอย่าง โดยทั่วไปต้องรวมเอาปัจจัยทางด้านกายภาพและวัฒนธรรมเข้าไว้ด้วยกัน นักภูมิศาสตร์นิยมแบ่งภูมิภาคออกตามระบบอากาศ เช่น ภูมิภาคเขตร้อนชื้น ภูมิภาคเขตอบอุ่น และภูมิภาคเขตทะเลทราย เป็นต้น หรือแบ่งภูมิภาคตามกลุ่มวัฒนธรรม คือ ยึดเอาเนื้อที่ของประเทศต่างๆ เป็นเกณฑ์ เพราะสะดวกในเรื่องข้อมูลภายในพื้นที่นั้น ในปัจจุบันได้มีการแบ่งภูมิภาคออกตามบทบาทหน้าที่เด่นของพื้นที่นั้น เช่น ภูมิภาคของเมืองหรือเขตที่เมืองมีอิทธิพลต่อบริเวณรอบนอกตลอดจนเขตบริการต่าง ๆ อันจัดเป็นภูมิภาคขนาดเล็กแต่ก็มีประสิทธิภาพในการจัดพื้นที่ (</span>Hartshorne, <span lang=\"TH\">1959) ได้แก่ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">        องค์ประกอบของภูมิศาสตร์กายภาพแบ่งเป็น 3 ประการคือ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">   </span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">    <span lang=\"TH\">1. ลักษณะภูมิประเทศ</span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n    <span lang=\"TH\">2. ลักษณะภูมิอากาศ</span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\"><br />\n</span>    <span lang=\"TH\">3. ทรัพยากรธรรมชาติ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                             </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">             1. ลักษณะภูมิประเทศ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">              </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">     ลักษณะภูมิประเทศ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">หมายถึง</span>  <span lang=\"TH\"> ลักษณะของแผ่นดินที่อาจมีลักษณะสูงๆ</span> <span lang=\"TH\">ต่ำๆ เป็นภูเขาที่ราบ ที่ราบสูง</span>  <span lang=\"TH\">แม่น้ำ หนอง บึง ซึ่งลักษณะภูมิประเทศแต่ละแบบ</span> <span lang=\"TH\">ต่างมีความสำคัญต่อชีวิต</span> <span lang=\"TH\"> ความเป็นอยู่ของประชากรที่อาศัยในภูมิประเทศนั้น</span>  <span lang=\"TH\"> </span> <span lang=\"TH\">ก่อให้เกิดอาชีพสำคัญต่างๆ</span> <span lang=\"TH\"> กันเช่น</span>   <span lang=\"TH\">บริเวณที่ราบลุ่มหรือ</span>    <span lang=\"TH\">ที่ราบริมฝั่งแม่น้ำ</span>  <span lang=\"TH\"> มักมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น</span>   <span lang=\"TH\">มีอาชีพทำการประมง</span>   <span lang=\"TH\"> และทำการเพาะปลูก</span> <span lang=\"TH\">เป็นอาชีพหลัก ส่วนบริเวณที่สูงหรือแถบเทือกเขา</span> <span lang=\"TH\"> มักมีประชากรเบาบางประกอบ อาชีพต่างๆกัน</span>  <span lang=\"TH\">เช่นทำป่าไม้ทำเหมืองแร่</span> <span lang=\"TH\"> หรือเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ตามแต่ทรัพยากร</span> <span lang=\"TH\">ในบริเวณนั้นๆ</span>  <span lang=\"TH\">จะอำนวยจากแผนที่แสดง</span>  <span lang=\"TH\"> ลักษณะภูมิประเทศ</span>   <span lang=\"TH\">ของประเทศไทย </span> <span lang=\"TH\">เราสามารถ</span> <span lang=\"TH\"> แบ่งลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทยได้เป็น</span>  <span lang=\"TH\">6 เขต คือ เขตภูเขา </span> <span lang=\"TH\">และที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ</span>  <span lang=\"TH\"> เขตที่ราบ ภาคกลาง</span>    <span lang=\"TH\">เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก</span>  <span lang=\"TH\"> เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่ง คาบสมุทรภาคใต้</span>     <span lang=\"TH\">และเขตภูเขาภาคตะวันตก</span>  <span lang=\"TH\"> ลงสุ่แม่น้ำสาละวิน</span>   <span lang=\"TH\">เขตภูเขา และที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">              2.ลักษณะภูมิอากาศ </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">       ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้าอากาศของทวีปแอฟริกา คือ ความใกล้ ไกลทะเล มี กระแสน้ำอุ่นและเย็นเลียบรายฝั่ง อิทธิพลของลมประจำฤดูที่พัดผ่านตำแหน่งที่ตั้งของทวีปซึ่งตั้งอยู่ทั้งในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ รวมทั้งมีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านเกือบตอนกลางของทวีป </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">               3 . ทรัพยากรธรรมชาติ </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><br />\n        ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่จำเป็นแก่มนุษย์ ซึ่งได้มีการนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆมากมาย การที่มีการนำทรัพยากรไปใช้มากทำให้เกิดปัญหาตามมา การใช้ทรัพยากรอย่างผิดวิธี และการใช้อย่างสิ้นเปลือง อาจทำให้ทรัพยากรที่มีคุณค่าลดน้อยลงไปอย่างรวดเร็ว เราจึงควรีรู้จักประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติ รวมไปถึง วิธีอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">         </span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> มีการแบ่งทรัพยากรธรรมชาติ ออกเป็นหมวดหมู่ คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. ดิน<br />\n2. น้ำ<br />\n3. ป่าไม้<br />\n4. แร่ธาตุ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span>  </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #993300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และยังมีทรัพยากรประเภทที่ช่วยสร้างความสวยงามให้ธรรมชาติอีกก็คือ ทรัพยากรเพื่อการนันทนาการ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                                  </span></b></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">        <span style=\"color: #993300\"> </span><span style=\"color: #800000\">ความสำคัญของศาสตร์ในแง่ของการนำไปใช้ประโยชน์ในสภาพปัจจุบัน</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #800000\">            </span>   <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\">       </span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">     ในระยะเริ่มต้นของการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์</span> <span lang=\"TH\"> นักภูมิศาสตร์ศึกษาลักษณะเฉพาะของสถานที่ต่างๆในโลกอย่างคร่าวๆซึ่งข้อมูลที่ได้อาจไม่มีความละเอียดชัดเจนมากนัก</span> <span lang=\"TH\"> แต่ในปัจจุบันความก้าวหน้าของวิทยาการอที่เอื้อต่อการเก็บรวบรวมข้อมูลที่นำมาใช้ประกอบการศึกษา</span> <span lang=\"TH\"> ส่งผลให้นักภูมิศาสตร์ปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการศึกษา</span> <span lang=\"TH\"> จากการศึกษาลักษณะพื้นที่อย่างคร่าวๆมาสู่การศึกษาเฉพาะเจาะลึกลงไปในรายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้นๆ</span> <span lang=\"TH\"> ซึ่งได้ได้ว่าเป็นวิธีการสร้างความเช้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในเชิงพื้นที่</span> <span lang=\"TH\"> นอกจากนี้หากพิจารณาเป้าหมายในการศึกษาของวิชาภูมิศาสตร์ก็จะเปลี่ยนไปจากเดิม</span>  <span lang=\"TH\"> จาการสามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น</span> <span lang=\"TH\"> รวมไปถึงวิธีการแก้ปัญหาตลอดจนการวางแผนในการตัดสินใจเพื่อดำเนินการ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">               <span lang=\"TH\"> จากรูปแบบวิธีการและเป้าหมายของวิชาภูมิศาสตร์ที่กล่าวมา</span> <span lang=\"TH\"> เมื่อวิเคราะห์ความสำคัญในการนำหลักการทางภูมิศาสตร์มาใช้ประโยชน์ในสภาพปัจจุบัน จะพบว่าวิชาภูมิศาสตร์นำมาใช้ทั้งในกระบวนการทางด้านสังคมศาสตร์และทางด้านวิทยาศาสตร์</span> <span lang=\"TH\"> โดยครอบคลุมการดำเนินการที่สำคัญใน2ลักษณะ ประกอบด้วย การน้ำมาใช้แก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">      </span></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #993300\"> <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">      <b> <span style=\"color: #800000\">การน้ำมาใช้แก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ต่างๆ</span></b></span><b><span style=\"color: #800000\"> <span lang=\"TH\"> ที่เกี่ยวเนื่องทางภูมิศาสตร์</span></span></b><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">               <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">      </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">       </span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">      </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ปัญหาวิกฤตการณ์ต่างๆที่เกี่ยวเนื่องทางภูมิศาสตร์ในภูมิภาคต่างๆของโลก</span> <span lang=\"TH\"> แบ่งปัญหาที่สำคัญออกได้ 2 ลักษณะ</span>  <span lang=\"TH\">ประกอบด้วย</span> <span lang=\"TH\"> ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิกฤตการณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม</span> <span lang=\"TH\"> และปัญหาที่เกี่ยวข้องกีบวิกฤตการด้านภูมิรัฐศาสตร์</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">                </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">       </span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">     <span lang=\"TH\">1. วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกอดขึ้นในสภาพปัจจุบัน</span> <span lang=\"TH\"> จากการศึกษาค้นคว้าและผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องต่างๆในหลายภูมิภาคของโลกต่างมีแนวโน้มและผลสรุปของประเด็นปัญหาดังกล่าวตรงกันว่า</span> <span lang=\"TH\"> วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นดังกล่าวมีผลสืบเนื่องมาจากการใช้ทรัพยากรอย่างขาดความระมัดระวัง</span> <span lang=\"TH\"> ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติลดลง</span> <span lang=\"TH\"> และเชื่อมโยงไปสู่การเกิดภาวะมลพิษในสิ่งแวดล้อมขึ้น</span> <span lang=\"TH\"> โดยเป็นผลมาจากของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตและการใช้ของมนุษย์ที่ได้สร้างและปลดปล่อยของเสียออกไปสู่สภาพแวดบ้อมจนก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ดังกล่าวขึ้น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">   </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">      </span></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\">ปัญหาที่สืบเนื่องวิกฤตการณ์ดังกล่าวที่ทั่วโลกให้ความสนใจและเรียกร้องให้ประชาคมโลกช่วยกันแก้ไข</span> <span lang=\"TH\"> ได้แก่</span>  <span lang=\"TH\">ปัญหาอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้น</span>  <span lang=\"TH\">ปัญหาชั้นโอโซนของโลกที่ถูกทำลาย</span> <span lang=\"TH\"> ปัญหาเกี่ยวกับการขยายตัวของพื้นที่แห้งแล้งของโลก</span> <span lang=\"TH\"> และปัญหาความเสื่อโทรมของแหล่งน้ำส่วนต่างๆของโลก</span> <span lang=\"TH\"> ปัญหาต่างๆเหล่นี้เป็นวิกฤตการณ์ที่ความรู้วิชาภูมิศาสตร์นำมาใช้ประยุกต์ในการแก้ปัญหา</span> <span lang=\"TH\"> หรือนำความรู้ในบางสาขาของภูมิศาสตร์เช้าไปบูรณาการให้เกิดองค์ความรู้และแนวทางในการแก้ไข</span><o:p></o:p></span></span> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 12pt 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">        <span lang=\"TH\">ตัวอย่างเช่น</span> <span lang=\"TH\"> การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้นและผลกระทบต่างๆเป็นการนำความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์ในหลายสาขามาประยุกต์ใช้</span> <span lang=\"TH\"> เช่น</span>  <span lang=\"TH\">อุตุนิยมวิทยา</span>  <span lang=\"TH\">ภูมิศาสตร์อากาศวิทยา</span> <span lang=\"TH\"> ตลอดจนการอ่านแผนที่และรูปถ่าย</span>(map and photo reading) <span lang=\"TH\">เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และแปลผลในสิ่งที่เกิดขึ้น และหากพิจารณาเฉพาะในส่วนเนื้อหาของวิชาภูมิศาสตร์</span> <span lang=\"TH\"> เนื้อหาหลักได้บรรจุความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม</span>  <span lang=\"TH\">ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์</span> <span lang=\"TH\"> การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ</span> <span lang=\"TH\"> สิ่งต่างๆเหล่านี้ถือได้ว่าเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจ</span> <span lang=\"TH\"> แนวคิดตลอดจนสร้างความตระหนักในเรื่องดังกล่าวให้แก่ผู้ที่ศึกษา</span>  <span lang=\"TH\">จึงถือได้ว่า</span> <span lang=\"TH\"> วิชาภูมิศาสตร์เป็นศาสตร์อีกแขนงหนึ่งที่มีส่วนสำคัญสามารถนำมาใช้แก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ต่างๆที่เกี่ยวเนื่องทางด้านภูมิศาสตร์ที่เกิดขึ้นในโลกได้</span></span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 12pt 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #993300\"> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">        <span lang=\"TH\">2. ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิกฤตการณ์ด้านภูมิศาสตร์</span>  <span lang=\"TH\">ในที่นี้หมายถึง</span> <span lang=\"TH\"> ปัญหาที่เกิดจากสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของรัฐ</span> <span lang=\"TH\"> ทั้งที่เป็นปัญหาภายในประเทศและปัญหาระหว่างประเทศ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">               <span lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">    </span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ปัญหาภายในประเทศที่เป็นปัญหาภูมิศาสตร์ เช่น</span> <span lang=\"TH\"> ปัญหาการออกเอกสารสิทธ์ของหน่วยราชการให้แก่ประชาชน</span> <span lang=\"TH\"> ปัญหาการรุกล้ำที่ดินทำกินของประชาขนในพื้นที่เขตอนุรักษ์</span>  <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">               </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">    <span lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">     </span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">ปัญหาระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นมักพบว่า</span>   <span lang=\"TH\">เป็นปัญหามาจากปัญหาพรมแดนระหว่างประเทศ</span> <span lang=\"TH\"> เช่น</span>  <span lang=\"TH\">ปัญหาในการกำหนดแนวเขตแดนระหว่างประเทศ</span> <span lang=\"TH\"> หรือปัญหาการอ้างถึงเอกสิทธิ์ในการครอบครองดินแดนที่อยู่นอกทวีป</span>  <span lang=\"TH\">ได้แก่</span>  <span lang=\"TH\">เกาะ</span> <span lang=\"TH\"> หรือพื้นที่ที่อยู่ในเขตทะเลหรือมหาสมุทร</span>  <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span> <span lang=\"TH\"> ในการแก้ไขปัญหาทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ</span> <span lang=\"TH\"> นอกจากพิจารณาจากเอการที่ภาครัฐได้ทำไว้ที่ผ่านมาแล้ว</span> <span lang=\"TH\"> การใช้แผนที่ที่แสดงพิกัดทางภูมิศาสตร์เป็นวิธีการสำคัญที่นำมาใช้ในการตัดสินปัญหา โดยเฉพาะในกรณีที่สภาพภูมิประเทศในปริเวณดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม</span> <span lang=\"TH\"> ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำคัญอีกประการหนึ่งของวิชาภูมิศาสตร์ที่นำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาด้านภูมิศาสตร์อย่างชัดเจน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong>           </strong></span></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong>       <span style=\"color: #800000\">สภาพทางภูมิศาสตร์ที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติ</span></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\">   </span>  </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span><span style=\"color: #000000\">    </span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #993300\"><span><span style=\"color: #000000\">    </span></span><span style=\"color: #222222\" lang=\"TH\">จากเอกสาร </span><span style=\"color: #222222\">“<span lang=\"TH\">การลดความเสี่ยงจากธรณีพิบัติภัย คลื่นยักษ์สึนามิ</span>”<span lang=\"TH\"> ของกรมทรัพยากรธรณีได้นำเสนอเกี่ยวกับสึนามิ ไว้ดังนี้ </span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #222222\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #993300\">  </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18.75pt; text-indent: -18pt; line-height: 16.8pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                1.</span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความหมายของคำว่าสึนามิ สึนามิ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\">Tsunami) <span lang=\"TH\">คือ คลื่นยักษ์ คำว่า สึนามิ เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า คลื่นท่าเรือ แต่ส่วนใหญ่ คำว่า สึนามิจะถูกนำไปใช้ในความหมายในทางอ้อม คือ คลื่นขนาดใหญ่ หรือคลื่นยักษ์ สึนามิ เป็นคลื่นยักษ์ใต้น้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร ที่มีระดับความรุนแรงสูง มักเกิดขึ้นบริเวณที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว เช่น พื้นที่รอบ ๆ มหาสมุทรแปซิฟิก ที่เรียกกันว่า </span>“<span lang=\"TH\">วงแหวนไฟ</span>”<span lang=\"TH\"> คลื่นยักษ์สึนามินั้นมีความยาวคลื่นหรือระยะระหว่างสันคลื่นยาวมาก ในระหว่างที่คลื่นยักษ์สึกนามิ เคลื่อนที่อยู่ในมหาสมุทรช่วงที่เป็นทะเลลึก คลื่นจะมีลักษณะเป็นคลื่นใต้น้ำ ที่เป็นเพียงระลอกคลื่นสูงราว 30 เซนติเมตร ถึง 1 เมตรเท่านั้น บางครั้งผู้ที่อยู่บนเรือเดินสมุทรอาจไม่รู้สึกหรือสังเกตถึงการเคลื่อนตัวของคลื่นยักษ์ได้ แต่เมื่อคลื่นยักษ์สึนามิ เคลื่อนที่เข้าหาฝั่งสู่เขตน้ำตื้น คลื่นจะเคลื่อนที่ช้าลง ในขณะที่ความสูงของยอดคลื่นกลับยิ่งทวีสูงขึ้น และมีพลังทำลายล้างสูงมาก </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span>  </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18.75pt; text-indent: -18pt; line-height: 16.8pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">             <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #000000\">2. </span></strong></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สาเหตุการเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ การเกิดคลื่นยักษ์สึนามิเกิดจากหลายสาเหตุ ได้แก่</span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #993300\">  </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 19.5pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">- แผ่นดินไหว คลื่นยักษ์สึนามิส่วนใหญ่ มักเกิดจากแผ่นดินไหว ที่มีความรุนแรงมากกว่า 7.5 ริคเตอร์ ที่สามารถ เปลี่ยนแปลง โครงสร้างพื้นท้องทะเล และสร้างคลื่นน้ำที่มีพลัง สามารถเคลื่อนที่ไปไกล หลายพันกิโลเมตร โดยปกติ แผ่นดินไหวที่ก่อให้เกิด คลื่นยักษ์สึนามินั้น มักเป็นรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\">Thrust<span lang=\"TH\"> </span>Fault) <span lang=\"TH\">ในบริเวณ รอยต่อแผ่นเปลือกโลก </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #993300\">  </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 19.5pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\">- ภูขาไฟระเบิด ภูเขาไฟที่ระเบิดในทะเล ก็อาจเป็นสาเหตุที่ส่งผล ให้พื้นสมุทร สั่นสะเทือน และเกิดคลื่นยักษ์ สึนามิ ขึ้นได้ นอกจากนั้น การระเบิด ของภูเขาไฟ อาจทำให้เกิด การถล่มของ ปากปล่อง ภูเขาไฟ ส่งผลให้เกิด คลื่นสูงถึง 40 เมตร </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #993300\">  </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 19.5pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\">- ดินถล่ม ดินและหินที่มีมวล ขนาดใหญ่ถล่ม จากภูเขาใกล้ชายฝั่งทะเล ลงในอ่าว สามารถทำให้น้ำถูก แทนที่ และเกิดเป็น คลื่นยักษ์ได้ นอกจากนั้นเมื่อเกิด แผ่นดินไหว อาจทำให้เกิด ดินถล่มใต้ทะเล มวลดิน ที่ยังไม่แข็งตัว ถล่มลงมาแทนที่ น้ำก่อให้เกิดคลื่นยักษ์ สึนามิที่มีพลังรุนแรงได้ </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 19.5pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 19.5pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 19.5pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 19.5pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 19.5pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 18.75pt; text-indent: -18pt; line-height: 16.8pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                3.ลักษณะของคลื่นยักษ์สึนามิ คลื่นยักษ์สึนามิ มีลักษณะต่างจาก คลื่นที่เกิดจากกระแสลมบริเวณชายฝั่งทะเล คือ ลักษณะของคลื่นที่เกิดจากลม จะมีลักษณะเป็นคลื่นแบบม้วนตัวตามกระแสลม ส่วนคลื่นยักษ์สึนามิจะเป็นคลื่นแบบแนวตรงยาวและไม่มีความสัมพันธ์กับทิศทางของกระแสลม คลื่นยักษ์สึนามิที่เกิดจากแผ่นดินไหวในทะเล จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วระหว่าง 500 </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\">–<span lang=\"TH\"> 800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขึ้นอยู่กับความลึกของพื้นมหาสมุทร แต่ความสูงของคลื่นจะน้อย เมื่อคลื่นยักษ์สึนามิเคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณชายฝั่งระยะห่างระหว่างยอดคลื่นจะลดลง ความสูงของยอดคลื่นประมาณ 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีความลึกของน้ำ 10 เมตร ความเร็วของคลื่นประมาณ 35 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ที่ชายฝั่งคลื่นอาจสูงถึง 30 เมตร และมีพลังการทำลายล้างสูง </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span>  </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10.8pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\">เขตรอยเลื่อนที่สำคัญซึ่งเกี่ยวข้องกับ การเกิดแผ่นดินไหว และมีผลกระทบต่อประเทศไทย (รูปที่ 1.1-5) ได้แก่ รอยเลื่อนในเขตตะวันตก ของประเทศไทย - ตะวันออก ของประเทศพม่า ได้แก่ เขตรอยเลื่อนสะแกง เขตรอยเลื่อนพานหลวง รอยเลื่อนทั้งสองนี้มีแนวแยก ต่อเนื่องมาทางตะวันตก ของประเทศไทย ไล่จากทางตอนบน ลงมาตอนล่าง ได้แก่ เขตรอยเลื่อนเมย-วังเจ้า เขตรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และเขตรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ตามลำดับ ดังนั้นสำหรับประเทศไทย แหล่งที่จะมีกำเนิด แผ่นดินไหว (รูปที่ 1.1-6) น่าจะตกอยู่ในเขตภาคตะวันตก ของประเทศไทย ซึ่งเป็นเขตต่อเนื่องมาจาก เขตแหล่งกำเนิด แผ่นดินไหว แนวตะนาวศรี และเขตภาคเหนือ ของประเทศไทย </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #993300\">  </span></p>\n<p style=\"margin: 6pt 0cm 10.8pt; line-height: 16.8pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #993300\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นอกจากนี้ การศึกษาข้อมูลแล</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ะสถิติต่างๆ จากการเผยแพร่ของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า แผ่นดินไหวที่มีขนาด 7 ริคเตอร์หรือมากกว่า มักจะเกิดอยู่นอกประเทศไทย ส่วนใหญ่เกิดอยู่ในเขต พรมแดนจีน-พม่า ประเทศพม่า ประเทศจีนตอนใต้ในทะเลอันดามัน และหมู่เกาะสุมาตราตอนเหนือ ซึ่งก็คือส่วนหนึ่งของแนวเกิด แผ่นดินไหวภูเขาแอลป์-หิมาลัย (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\">Alpine-Himalayan<span lang=\"TH\"> </span>Belt) <span lang=\"TH\">และอยู่ในเขตแหล่งกำเนิด แผ่นดินไหว (</span>seismic source zone) <span lang=\"TH\">อื่นๆ นอกเหนือจากเขตตะวันตก และเหนือของประเทศไทย ส่วนใหญ่รู้สึกสั่นไหวได้ในประเทศไทยได้ แต่ไม่มีผลกระทบเสียหายรุนแรง และในบางครั้งสามารถรู้สึก สั่นสะเทือนได้ที่กรุงเทพฯ สำหรับที่เกิดในบริเวณเขต พรมแดนไทย-พม่า ไทย-ลาว ภาคเหนือ และตะวันตกของประเทศไทย มักจะมีขนาดเล็กถึงขนาดปานกลาง และสามารถรู้สึกสั่นไหวได้ใ นเขตภาคเหนือ ภาคตะวันตก และบางครั้งที่กรุงเทพฯ ด้วย ส่วนประเทศไทย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ จัดอยู่ในเขตที่มีเสถียรภาพ ทางเทคโทนิก ค่อนข้างปลอดจากแผ่นดินไหว </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #993300\"> <span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                    กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยตั้งอยู่ในพื้นที่ ที่อาจเรียกได้ว่าค่อนข้างสงบ ไม่มีแผ่นดินไหวรุนแรงนัก น่าจะอยู่อันดับเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวต่ำ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #222222; font-family: \'Angsana New\'\">low seismic risk zone)<span lang=\"TH\"> ถึงเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวปานกลาง (</span>intermediate seismic risk zone) <span lang=\"TH\">เช่นเดียวกับ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ไม่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย การเกิดแผ่นดินไหว</span></span><o:p> </o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u>แว็ปไซต์อ้างอิง</u>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"http://tc.mengrai.ac.th/punnapa/socal/พัฒนาทางภูมิศาสตร์.htm\"><u><span style=\"color: #800080\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">http://tc.mengrai.ac.th/punnapa/socal/%E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%9</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E%E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%92%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%99%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%97%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%87%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">A</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">9%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">A</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">A</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">AA%E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%95%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">A</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">E</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">0%</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">B</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">9%8</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">C.htm</span></span></u></a>\n</p>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\">http://surat.stkc.go.th</span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1718001977, expire = 1718088377, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ad1ea570c0a3a9931d3752f719bcfde3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ที่ทำให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติ

รูปภาพของ sila15722

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ที่ทำให้เกิดปัญหา และภัยพิบัติทางธรรมชาติ

 

 

                    ภูมิศาสตร์      เป็นเรื่องราวการบรรยายหรือพรรณาเกี่ยวกับโลก ในปี ค.ศ. 1950 คณะกรรมการอภิธานศัพท์ภูมิศาสตร์ของอังกฤษ ได้ให้ความหมายภูมิศาสตร์ว่า เป็นศาสตร์ที่บรรยายเกี่ยวกับเปลือกโลก ในแง่ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์  ของพื้นที่ต่าง ๆ พจนานุกรมอเมริกันได้กล่าวว่า ภูมิศาสตร์เป็นศาสตร์เกี่ยวกับความแตกต่างของพื้นผิวโลกในแง่ของ ลักษณะเด่น การกำหนดและความสัมพันธ์ระหว่างสารประกอบของโลก พจนานุกรมอังกฤษ-ไทยได้ให้ความหมาย ภูมิศาสตร์ ไว้ว่า  เป็นศาสตร์เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม  

ภูมิศาสตร์จึงเป็นศาสตร์มีความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมิติสัมพันธ์ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ   

   1. ภูมิศาสตร์กายภาพ

   2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค

     1. ภูมิศาสตร์กายภาพ  (Physical Geography)

เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมทางกายภาพของมนุษย์และความสัมพันธ์ของมัน เนื้อหาของวิชาจึงคาบเกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพหลายวิชาที่สำคัญ ได้แก่ วิชา อุตุนิยมวิทยา อากาศวิทยา สมุทรศาสตร์ ธรณีวิทยา ปฐพีวิทยา นิเวศน์วิทยาของพืช และธรณีสัณฐานวิทยา แต่วิชาภูมิศาสตร์กายภาพมิได้เป็นเพียงการนำเอาเนื้อหาของวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพสาขาต่าง ๆ มารวมกันเท่านั้น แต่ได้นำเอาเนื้อหาเหล่านี้มาผสมผสานกันในแง่ที่เป็นสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสาขาหนึ่งในวิชาภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์กายภาพเน้นความสัมพันธ์ทางพื้นที่ นั่นคือ เน้นการกระจายบนพื้นผิวโลกหรือที่เรียกว่า รูปแบบทางภูมิศาสตร์ (geographic pattern) ของสภาพแวดล้อม ซึ่งเป็นผลลัพธ์จากปฏิกิริยาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบของธรรมชาติในบริเวณต่างๆ บนพื้นผิวโลก การศึกษารูปแบบทางภูมิศาสตร์ของสภาพแวดล้อมนี้ จะเป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นแก่นของระบบสภาพแวดล้อมของโลก โครงสร้างและระบบกลไกการทำงานอันเป็นพื้นฐานของธรรมชาติมักถูกลืม ในยุคที่มนุษย์ต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมอย่างหนักเช่นในปัจจุบัน ความเข้าใจโครงสร้างของสภาพแวดล้อมอย่างกว้างๆ รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงกลไกการทำงานของขบวนการต่างๆในสภาพแวดล้อมจึงเป็นประโยชน์อย่างมาก ได้แก่ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ

      2. ภูมิศาสตร์ภูมิภาค

ภูมิศาสตร์ภูมิภาค (Regional Geography) คือ การเข้าถึงระบบเทศสัมพันธ์ (Spatial interaction)ด้วยการแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ในการอธิบายผิวโลกที่มีมนุษย์อาศัยนั้น นักภูมิศาสตร์ใช้วิธีการแบ่งพื้นที่ออกเป็นขนาดต่างๆ กันตามเกณฑ์และวัตถุประสงค์ เกณฑ์ในการกำหนดพื้นที่นั้นมีหลายอย่าง โดยทั่วไปต้องรวมเอาปัจจัยทางด้านกายภาพและวัฒนธรรมเข้าไว้ด้วยกัน นักภูมิศาสตร์นิยมแบ่งภูมิภาคออกตามระบบอากาศ เช่น ภูมิภาคเขตร้อนชื้น ภูมิภาคเขตอบอุ่น และภูมิภาคเขตทะเลทราย เป็นต้น หรือแบ่งภูมิภาคตามกลุ่มวัฒนธรรม คือ ยึดเอาเนื้อที่ของประเทศต่างๆ เป็นเกณฑ์ เพราะสะดวกในเรื่องข้อมูลภายในพื้นที่นั้น ในปัจจุบันได้มีการแบ่งภูมิภาคออกตามบทบาทหน้าที่เด่นของพื้นที่นั้น เช่น ภูมิภาคของเมืองหรือเขตที่เมืองมีอิทธิพลต่อบริเวณรอบนอกตลอดจนเขตบริการต่าง ๆ อันจัดเป็นภูมิภาคขนาดเล็กแต่ก็มีประสิทธิภาพในการจัดพื้นที่ (Hartshorne, 1959) ได้แก่ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม

        องค์ประกอบของภูมิศาสตร์กายภาพแบ่งเป็น 3 ประการคือ    

    1. ลักษณะภูมิประเทศ


    2. ลักษณะภูมิอากาศ


    3. ทรัพยากรธรรมชาติ


                            

             1. ลักษณะภูมิประเทศ                    ลักษณะภูมิประเทศ  หมายถึง   ลักษณะของแผ่นดินที่อาจมีลักษณะสูงๆ ต่ำๆ เป็นภูเขาที่ราบ ที่ราบสูง  แม่น้ำ หนอง บึง ซึ่งลักษณะภูมิประเทศแต่ละแบบ ต่างมีความสำคัญต่อชีวิต  ความเป็นอยู่ของประชากรที่อาศัยในภูมิประเทศนั้น    ก่อให้เกิดอาชีพสำคัญต่างๆ  กันเช่น   บริเวณที่ราบลุ่มหรือ    ที่ราบริมฝั่งแม่น้ำ   มักมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น   มีอาชีพทำการประมง    และทำการเพาะปลูก เป็นอาชีพหลัก ส่วนบริเวณที่สูงหรือแถบเทือกเขา  มักมีประชากรเบาบางประกอบ อาชีพต่างๆกัน  เช่นทำป่าไม้ทำเหมืองแร่  หรือเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ตามแต่ทรัพยากร ในบริเวณนั้นๆ  จะอำนวยจากแผนที่แสดง   ลักษณะภูมิประเทศ   ของประเทศไทย  เราสามารถ  แบ่งลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทยได้เป็น  6 เขต คือ เขตภูเขา  และที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   เขตที่ราบ ภาคกลาง    เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก   เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่ง คาบสมุทรภาคใต้     และเขตภูเขาภาคตะวันตก   ลงสุ่แม่น้ำสาละวิน   เขตภูเขา และที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ

 


              2.ลักษณะภูมิอากาศ 

       ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้าอากาศของทวีปแอฟริกา คือ ความใกล้ ไกลทะเล มี กระแสน้ำอุ่นและเย็นเลียบรายฝั่ง อิทธิพลของลมประจำฤดูที่พัดผ่านตำแหน่งที่ตั้งของทวีปซึ่งตั้งอยู่ทั้งในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ รวมทั้งมีเส้นศูนย์สูตรลากผ่านเกือบตอนกลางของทวีป


               3 . ทรัพยากรธรรมชาติ 


        ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่จำเป็นแก่มนุษย์ ซึ่งได้มีการนำทรัพยากรมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆมากมาย การที่มีการนำทรัพยากรไปใช้มากทำให้เกิดปัญหาตามมา การใช้ทรัพยากรอย่างผิดวิธี และการใช้อย่างสิ้นเปลือง อาจทำให้ทรัพยากรที่มีคุณค่าลดน้อยลงไปอย่างรวดเร็ว เราจึงควรีรู้จักประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติ รวมไปถึง วิธีอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 
         

 มีการแบ่งทรัพยากรธรรมชาติ ออกเป็นหมวดหมู่ คือ

1. ดิน
2. น้ำ
3. ป่าไม้
4. แร่ธาตุ
 

และยังมีทรัพยากรประเภทที่ช่วยสร้างความสวยงามให้ธรรมชาติอีกก็คือ ทรัพยากรเพื่อการนันทนาการ

                                 

         ความสำคัญของศาสตร์ในแง่ของการนำไปใช้ประโยชน์ในสภาพปัจจุบัน                      

     ในระยะเริ่มต้นของการศึกษาวิชาภูมิศาสตร์  นักภูมิศาสตร์ศึกษาลักษณะเฉพาะของสถานที่ต่างๆในโลกอย่างคร่าวๆซึ่งข้อมูลที่ได้อาจไม่มีความละเอียดชัดเจนมากนัก  แต่ในปัจจุบันความก้าวหน้าของวิทยาการอที่เอื้อต่อการเก็บรวบรวมข้อมูลที่นำมาใช้ประกอบการศึกษา  ส่งผลให้นักภูมิศาสตร์ปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการศึกษา  จากการศึกษาลักษณะพื้นที่อย่างคร่าวๆมาสู่การศึกษาเฉพาะเจาะลึกลงไปในรายละเอียดของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่นั้นๆ  ซึ่งได้ได้ว่าเป็นวิธีการสร้างความเช้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในเชิงพื้นที่  นอกจากนี้หากพิจารณาเป้าหมายในการศึกษาของวิชาภูมิศาสตร์ก็จะเปลี่ยนไปจากเดิม   จาการสามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น  รวมไปถึงวิธีการแก้ปัญหาตลอดจนการวางแผนในการตัดสินใจเพื่อดำเนินการ                จากรูปแบบวิธีการและเป้าหมายของวิชาภูมิศาสตร์ที่กล่าวมา  เมื่อวิเคราะห์ความสำคัญในการนำหลักการทางภูมิศาสตร์มาใช้ประโยชน์ในสภาพปัจจุบัน จะพบว่าวิชาภูมิศาสตร์นำมาใช้ทั้งในกระบวนการทางด้านสังคมศาสตร์และทางด้านวิทยาศาสตร์  โดยครอบคลุมการดำเนินการที่สำคัญใน2ลักษณะ ประกอบด้วย การน้ำมาใช้แก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ต่างๆที่เกี่ยวเนื่องกับข้อมูลเชิงภูมิศาสตร์       

 

       การน้ำมาใช้แก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ต่างๆ  ที่เกี่ยวเนื่องทางภูมิศาสตร์                            

      ปัญหาวิกฤตการณ์ต่างๆที่เกี่ยวเนื่องทางภูมิศาสตร์ในภูมิภาคต่างๆของโลก  แบ่งปัญหาที่สำคัญออกได้ 2 ลักษณะ  ประกอบด้วย  ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิกฤตการณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  และปัญหาที่เกี่ยวข้องกีบวิกฤตการด้านภูมิรัฐศาสตร์                      

     1. วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกอดขึ้นในสภาพปัจจุบัน  จากการศึกษาค้นคว้าและผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องต่างๆในหลายภูมิภาคของโลกต่างมีแนวโน้มและผลสรุปของประเด็นปัญหาดังกล่าวตรงกันว่า  วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นดังกล่าวมีผลสืบเนื่องมาจากการใช้ทรัพยากรอย่างขาดความระมัดระวัง  ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติลดลง  และเชื่อมโยงไปสู่การเกิดภาวะมลพิษในสิ่งแวดล้อมขึ้น  โดยเป็นผลมาจากของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตและการใช้ของมนุษย์ที่ได้สร้างและปลดปล่อยของเสียออกไปสู่สภาพแวดบ้อมจนก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ดังกล่าวขึ้น         

 ปัญหาที่สืบเนื่องวิกฤตการณ์ดังกล่าวที่ทั่วโลกให้ความสนใจและเรียกร้องให้ประชาคมโลกช่วยกันแก้ไข  ได้แก่  ปัญหาอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้น  ปัญหาชั้นโอโซนของโลกที่ถูกทำลาย  ปัญหาเกี่ยวกับการขยายตัวของพื้นที่แห้งแล้งของโลก  และปัญหาความเสื่อโทรมของแหล่งน้ำส่วนต่างๆของโลก  ปัญหาต่างๆเหล่นี้เป็นวิกฤตการณ์ที่ความรู้วิชาภูมิศาสตร์นำมาใช้ประยุกต์ในการแก้ปัญหา  หรือนำความรู้ในบางสาขาของภูมิศาสตร์เช้าไปบูรณาการให้เกิดองค์ความรู้และแนวทางในการแก้ไข

        ตัวอย่างเช่น  การศึกษาเกี่ยวกับปัญหาอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้นและผลกระทบต่างๆเป็นการนำความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์ในหลายสาขามาประยุกต์ใช้  เช่น  อุตุนิยมวิทยา  ภูมิศาสตร์อากาศวิทยา  ตลอดจนการอ่านแผนที่และรูปถ่าย(map and photo reading) เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และแปลผลในสิ่งที่เกิดขึ้น และหากพิจารณาเฉพาะในส่วนเนื้อหาของวิชาภูมิศาสตร์  เนื้อหาหลักได้บรรจุความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม  ปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์  การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  สิ่งต่างๆเหล่านี้ถือได้ว่าเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจ  แนวคิดตลอดจนสร้างความตระหนักในเรื่องดังกล่าวให้แก่ผู้ที่ศึกษา  จึงถือได้ว่า  วิชาภูมิศาสตร์เป็นศาสตร์อีกแขนงหนึ่งที่มีส่วนสำคัญสามารถนำมาใช้แก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ต่างๆที่เกี่ยวเนื่องทางด้านภูมิศาสตร์ที่เกิดขึ้นในโลกได้

         2. ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิกฤตการณ์ด้านภูมิศาสตร์  ในที่นี้หมายถึง  ปัญหาที่เกิดจากสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของรัฐ  ทั้งที่เป็นปัญหาภายในประเทศและปัญหาระหว่างประเทศ                   

ปัญหาภายในประเทศที่เป็นปัญหาภูมิศาสตร์ เช่น  ปัญหาการออกเอกสารสิทธ์ของหน่วยราชการให้แก่ประชาชน  ปัญหาการรุกล้ำที่ดินทำกินของประชาขนในพื้นที่เขตอนุรักษ์  เป็นต้น                        

ปัญหาระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นมักพบว่า   เป็นปัญหามาจากปัญหาพรมแดนระหว่างประเทศ  เช่น  ปัญหาในการกำหนดแนวเขตแดนระหว่างประเทศ  หรือปัญหาการอ้างถึงเอกสิทธิ์ในการครอบครองดินแดนที่อยู่นอกทวีป  ได้แก่  เกาะ  หรือพื้นที่ที่อยู่ในเขตทะเลหรือมหาสมุทร  เป็นต้น  ในการแก้ไขปัญหาทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ  นอกจากพิจารณาจากเอการที่ภาครัฐได้ทำไว้ที่ผ่านมาแล้ว  การใช้แผนที่ที่แสดงพิกัดทางภูมิศาสตร์เป็นวิธีการสำคัญที่นำมาใช้ในการตัดสินปัญหา โดยเฉพาะในกรณีที่สภาพภูมิประเทศในปริเวณดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม  ซึ่งถือได้ว่าเป็นความสำคัญอีกประการหนึ่งของวิชาภูมิศาสตร์ที่นำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาด้านภูมิศาสตร์อย่างชัดเจน               

       สภาพทางภูมิศาสตร์ที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติ        

    จากเอกสาร การลดความเสี่ยงจากธรณีพิบัติภัย คลื่นยักษ์สึนามิ ของกรมทรัพยากรธรณีได้นำเสนอเกี่ยวกับสึนามิ ไว้ดังนี้

 

                1.ความหมายของคำว่าสึนามิ สึนามิ (Tsunami) คือ คลื่นยักษ์ คำว่า สึนามิ เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า คลื่นท่าเรือ แต่ส่วนใหญ่ คำว่า สึนามิจะถูกนำไปใช้ในความหมายในทางอ้อม คือ คลื่นขนาดใหญ่ หรือคลื่นยักษ์ สึนามิ เป็นคลื่นยักษ์ใต้น้ำ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร ที่มีระดับความรุนแรงสูง มักเกิดขึ้นบริเวณที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว เช่น พื้นที่รอบ ๆ มหาสมุทรแปซิฟิก ที่เรียกกันว่า วงแหวนไฟ คลื่นยักษ์สึนามินั้นมีความยาวคลื่นหรือระยะระหว่างสันคลื่นยาวมาก ในระหว่างที่คลื่นยักษ์สึกนามิ เคลื่อนที่อยู่ในมหาสมุทรช่วงที่เป็นทะเลลึก คลื่นจะมีลักษณะเป็นคลื่นใต้น้ำ ที่เป็นเพียงระลอกคลื่นสูงราว 30 เซนติเมตร ถึง 1 เมตรเท่านั้น บางครั้งผู้ที่อยู่บนเรือเดินสมุทรอาจไม่รู้สึกหรือสังเกตถึงการเคลื่อนตัวของคลื่นยักษ์ได้ แต่เมื่อคลื่นยักษ์สึนามิ เคลื่อนที่เข้าหาฝั่งสู่เขตน้ำตื้น คลื่นจะเคลื่อนที่ช้าลง ในขณะที่ความสูงของยอดคลื่นกลับยิ่งทวีสูงขึ้น และมีพลังทำลายล้างสูงมาก

  

             2. สาเหตุการเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ การเกิดคลื่นยักษ์สึนามิเกิดจากหลายสาเหตุ ได้แก่

 

- แผ่นดินไหว คลื่นยักษ์สึนามิส่วนใหญ่ มักเกิดจากแผ่นดินไหว ที่มีความรุนแรงมากกว่า 7.5 ริคเตอร์ ที่สามารถ เปลี่ยนแปลง โครงสร้างพื้นท้องทะเล และสร้างคลื่นน้ำที่มีพลัง สามารถเคลื่อนที่ไปไกล หลายพันกิโลเมตร โดยปกติ แผ่นดินไหวที่ก่อให้เกิด คลื่นยักษ์สึนามินั้น มักเป็นรอยเลื่อนย้อนมุมต่ำ (Thrust Fault) ในบริเวณ รอยต่อแผ่นเปลือกโลก

 

- ภูขาไฟระเบิด ภูเขาไฟที่ระเบิดในทะเล ก็อาจเป็นสาเหตุที่ส่งผล ให้พื้นสมุทร สั่นสะเทือน และเกิดคลื่นยักษ์ สึนามิ ขึ้นได้ นอกจากนั้น การระเบิด ของภูเขาไฟ อาจทำให้เกิด การถล่มของ ปากปล่อง ภูเขาไฟ ส่งผลให้เกิด คลื่นสูงถึง 40 เมตร

 

- ดินถล่ม ดินและหินที่มีมวล ขนาดใหญ่ถล่ม จากภูเขาใกล้ชายฝั่งทะเล ลงในอ่าว สามารถทำให้น้ำถูก แทนที่ และเกิดเป็น คลื่นยักษ์ได้ นอกจากนั้นเมื่อเกิด แผ่นดินไหว อาจทำให้เกิด ดินถล่มใต้ทะเล มวลดิน ที่ยังไม่แข็งตัว ถล่มลงมาแทนที่ น้ำก่อให้เกิดคลื่นยักษ์ สึนามิที่มีพลังรุนแรงได้

                3.ลักษณะของคลื่นยักษ์สึนามิ คลื่นยักษ์สึนามิ มีลักษณะต่างจาก คลื่นที่เกิดจากกระแสลมบริเวณชายฝั่งทะเล คือ ลักษณะของคลื่นที่เกิดจากลม จะมีลักษณะเป็นคลื่นแบบม้วนตัวตามกระแสลม ส่วนคลื่นยักษ์สึนามิจะเป็นคลื่นแบบแนวตรงยาวและไม่มีความสัมพันธ์กับทิศทางของกระแสลม คลื่นยักษ์สึนามิที่เกิดจากแผ่นดินไหวในทะเล จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วระหว่าง 500 800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขึ้นอยู่กับความลึกของพื้นมหาสมุทร แต่ความสูงของคลื่นจะน้อย เมื่อคลื่นยักษ์สึนามิเคลื่อนที่เข้าสู่บริเวณชายฝั่งระยะห่างระหว่างยอดคลื่นจะลดลง ความสูงของยอดคลื่นประมาณ 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และมีความลึกของน้ำ 10 เมตร ความเร็วของคลื่นประมาณ 35 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ที่ชายฝั่งคลื่นอาจสูงถึง 30 เมตร และมีพลังการทำลายล้างสูง

  

เขตรอยเลื่อนที่สำคัญซึ่งเกี่ยวข้องกับ การเกิดแผ่นดินไหว และมีผลกระทบต่อประเทศไทย (รูปที่ 1.1-5) ได้แก่ รอยเลื่อนในเขตตะวันตก ของประเทศไทย - ตะวันออก ของประเทศพม่า ได้แก่ เขตรอยเลื่อนสะแกง เขตรอยเลื่อนพานหลวง รอยเลื่อนทั้งสองนี้มีแนวแยก ต่อเนื่องมาทางตะวันตก ของประเทศไทย ไล่จากทางตอนบน ลงมาตอนล่าง ได้แก่ เขตรอยเลื่อนเมย-วังเจ้า เขตรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และเขตรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ตามลำดับ ดังนั้นสำหรับประเทศไทย แหล่งที่จะมีกำเนิด แผ่นดินไหว (รูปที่ 1.1-6) น่าจะตกอยู่ในเขตภาคตะวันตก ของประเทศไทย ซึ่งเป็นเขตต่อเนื่องมาจาก เขตแหล่งกำเนิด แผ่นดินไหว แนวตะนาวศรี และเขตภาคเหนือ ของประเทศไทย

 

นอกจากนี้ การศึกษาข้อมูลและสถิติต่างๆ จากการเผยแพร่ของกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า แผ่นดินไหวที่มีขนาด 7 ริคเตอร์หรือมากกว่า มักจะเกิดอยู่นอกประเทศไทย ส่วนใหญ่เกิดอยู่ในเขต พรมแดนจีน-พม่า ประเทศพม่า ประเทศจีนตอนใต้ในทะเลอันดามัน และหมู่เกาะสุมาตราตอนเหนือ ซึ่งก็คือส่วนหนึ่งของแนวเกิด แผ่นดินไหวภูเขาแอลป์-หิมาลัย (Alpine-Himalayan Belt) และอยู่ในเขตแหล่งกำเนิด แผ่นดินไหว (seismic source zone) อื่นๆ นอกเหนือจากเขตตะวันตก และเหนือของประเทศไทย ส่วนใหญ่รู้สึกสั่นไหวได้ในประเทศไทยได้ แต่ไม่มีผลกระทบเสียหายรุนแรง และในบางครั้งสามารถรู้สึก สั่นสะเทือนได้ที่กรุงเทพฯ สำหรับที่เกิดในบริเวณเขต พรมแดนไทย-พม่า ไทย-ลาว ภาคเหนือ และตะวันตกของประเทศไทย มักจะมีขนาดเล็กถึงขนาดปานกลาง และสามารถรู้สึกสั่นไหวได้ใ นเขตภาคเหนือ ภาคตะวันตก และบางครั้งที่กรุงเทพฯ ด้วย ส่วนประเทศไทย ด้านตะวันออกเฉียงเหนือ จัดอยู่ในเขตที่มีเสถียรภาพ ทางเทคโทนิก ค่อนข้างปลอดจากแผ่นดินไหว

                     กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยตั้งอยู่ในพื้นที่ ที่อาจเรียกได้ว่าค่อนข้างสงบ ไม่มีแผ่นดินไหวรุนแรงนัก น่าจะอยู่อันดับเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวต่ำ (low seismic risk zone) ถึงเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวปานกลาง (intermediate seismic risk zone) เช่นเดียวกับ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ที่ไม่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย การเกิดแผ่นดินไหว 

 

แว็ปไซต์อ้างอิง

http://tc.mengrai.ac.th/punnapa/socal/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C.htm

 

http://surat.stkc.go.th

รูปภาพของ silavacharee

Innocent สรุปว่าจะส่งงานในหน่วยการเรียนไหน งงจริง ๆ เลยไม่ทราบว่าจะให้คะแนนอย่างไร

http://www.thaigoodview.com/node/69128

 

http://www.thaigoodview.com/node/69128

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 395 คน กำลังออนไลน์